Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book

E-book

Published by beem123chotika, 2020-06-04 02:07:37

Description: E-book

Search

Read the Text Version

Shock and Multiple organs dysfunction synd การพยาบาลผปู้ ่ วยที่มีภาวะช็อกและอวยั วะล ความหมาย ภาวะทีเ่ นอื้ เยื่อในรา่ งกายไดร้ บั เลือดไปเลี้ยงไมเ่ พียงพอ อวยั วะตา่ ง และเมอ่ื มีอวยั วะทางานผดิ ปกตถิ ึงขน้ั ลม้ เหลว2 ระบบขน้ึ ไป อาจเก ลม้ เหลวหลายระบบ ภาวะช็อกจากรา่ งกายสญู เสยี น้าและเกลอื แร่ (Hypovolemic S หรือปริมาณเลือดในรา่ งกายลดลง→หวั ใจไมส่ ามารถสบู ฉีดเลอื ด เพียงพอ ซ่ึงอาจเป็ นผลมาจากอาการบาดเจ็บทางร่างกายอย่างรนุ ภาวะขาดนา้ รนุ แรง ภาวะช็อกจากโรคหวั ใจ (Cardiogenic Shock)มีสาเหตมุ าจากหวั ความผิดปกติ จึงทาใหเ้ ลอื ดสบู ฉีดไปเลีย้ งทวั่ รา่ งกายไดน้ อ้ ยลง ซ่ึง จงั หวะหรือเตน้ ชา้ ผิดปกติ กลา้ มเนอื้ หวั ใจตายเฉียบพลนั (Heart A เมือ่ เกดิ ภาวะช็อกจากสาเหตนุ อ้ี าจนาไปสกู่ ารเสยี ชวี ิตภายในเวลาร

นางสาว โชตกิ า ธนศู ิลป์ เลขที่ 26 หอ้ ง 1 รหสั 6117701001054 drome : MODS ลม้ เหลวหลายระบบ งๆมีการกาซาบลดลงรวมทง้ั ขาดออกซิเจนและสารอาหาร กิดข้ึนตามกนั หรือเกดิ ขน้ึ พรอ้ มกนั ทาใหเ้ กิด ภาวะอวยั วะ Shock) เกิดจากปริมาณนา้ และเกลอื แร่ในร่างกายลดลง ดเพื่อขนสง่ ออกซิเจนและสารอาหารไปเลี้ยงทวั่ ร่างกาย นแรงจนเสียเลือดปริมาณมาก โรคโลหิตจางขนั้ รนุ แรงหรือ วใจและหลอดเลอื ดขนาดใหญ่ไดร้ บั ความเสียหายหรือเกิด งอาจเป็ นผลมาจากกลา้ มเนอื้ หวั ใจถกู ทาลาย หวั ใจเตน้ ผดิ Attack) หรือภาวะหวั ใจวาย (Congestive Heart Failure: CHF) รวดเร็ว

ถกู ตอ้ ง ภาวะช็อกทางระบบประสาท (neurogenic shock) เป็ นภาวะช็อ ไขสนั หลงั ส่งผลใหค้ วามดนั โลหิตตา่ และภาวะหวั ใจเตน้ ชา้ ร่วมในบ หลอดเลือดท่ีลดลง ทาใหม้ ีเลือดคงั่ สว่ นภาวะหวั ใจเตน้ ชา้ เกิดจาก จากการขาดออกซิเจนและความผิดปกตใิ นหลอดลม[1] ภาวะช็อก หนา้ ทีผ่ ิดปกตขิ องหลายอวยั วะและการเสียชวี ิตไดห้ ากไมไ่ ดร้ บั กา ช็อกจากการแพอ้ ยา่ งรนุ แรง (Anaphylactic Chock) เมื่อร่างก การสรา้ ง antibody ทาใหห้ ลอดเลอื ดสว่ นปลายขยายตวั ปริมาตร ลดลง ทาใหค้ ารบ์ อนไดออกไซดล์ ดลง การกาซาบของเนอื้ เย่ือจึง นอกจากนี้ การตอบสนองใหม้ ีการกระตนุ้ จากปฏิกริ ิยาดงั กลา่ วส เพิ่มปริมาณการไหลกลบั ของเลือดเขา้ สหู่ วั ใจเชน่ รวมทงั้ ภาวะกล หลอดลมหดเกร็งและหลอดลมบวม สง่ ผลใหเ้ กิดภาวะหายใจไมอ่ ไดเ้ ชน่ กนั

อกทเ่ี กดิ จากความผดิ ปกตขิ องระบบประสาทอิสระภายใน บางครงั้ โดยความดนั โลหิตตา่ เกดิ จากแรงตา้ นภายใน กความผดิ ปกตขิ องเสน้ ประสาทเวกสั ซึ่งอาจเกดิ ไดท้ ง้ั กทางระบบประสาทอาจกอ่ ใหเ้ กิดกลมุ่ อาการการทา ารรกั ษาทถ่ี กู ตอ้ ง กายไดร้ บั สารที่เปรียบเสมอื น antigen ไปกระตนุ้ ใหเ้ กดิ รเลือดไหลเวียนลดลง ปริมาณเลอื ดท่ไี หลกลบั หวั ใจ งไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพ เกดิ ภาวะ Hypoxia จึงเสียชวี ิต สง่ ผลใหห้ ลอดเลอื ดฝอยเพิ่มการซึมผา่ นของเหลว ซ่ึงไป ลา้ มเนอ้ื เรียบหดตวั จากปฏิกิริยาการตอบสนองทาให้ ออกและขาดออกซิเจน เกดิ ภาวะ Hypoxia ซึ่งทาใหเ้ สียชีวิต

ช็อกเหตพุ ิษติดเช้ือ( Septic shock)ภาวะ Sepsis เป็ นผลจากภา อยา่ งรนุ แรงมกี ารขยายตวั ของหลอดเลือดสว่ นปลายสง่ ผลใหร้ (hypovolemia) ประกอบกบั การทางานของหวั ใจที่แย่ลงทาใหป้ ร ในขณะท่ีเนอ้ื เยอื่ ตา่ งๆมีความตอ้ งการออกซิเจนมากขน้ึ จากอตั ร่างกายเกดิ ภาวะขาดออกซิเจนอยา่ งรนุ แรง หลกั การปฐมพยาบาลเบื้องตน้ สาหรบั ผทู้ ่ีเกดิ ภาวะช็อก  ในกรณีท่ีผปู้ ่ วยหมดสติ ผปู้ ฐมพยาบาลควรตรวจดู ลมหายใจและสญั ญาณการเตน้ ของหวั ใจ (Cardiopulmonary Resuscitation: CPR)  สาหรบั ผปู้ ่ วยท่ีมีภาวะช็อก แตย่ งั ไมห่ มดสติ ควรให้ ผปู้ ่ วยนอนหงายราบกบั พ้ืน ยกขาใหส้ งู ขนึ้ จากพ้ืน ประมาณ 12 นว้ิ เพื่อชว่ ยใหเ้ ลือดไปเล้ียงอวยั วะ สาคญั คลายเสื้อผา้ ใหห้ ลวม  ผปู้ ่ วยท่ีเกดิ ภาวะช็อก และเกดิ การบาดเจ็บบริเวณ ศรีษะ คอ และหลงั ควรหลีกเลยี่ งการเคล่อื นยา้ ย และในระหว่างนไี้ มค่ วรใหร้ บั ประทานอาหารหรือดมื่ นา้ แมว้ ่าผปู้ ่ วยรสู้ ึกกระหายนา้ หรือหิว  ในกรณีท่ีผปู้ ่ วยอาเจียน ใหห้ นั ศีรษะผปู้ ่ วยหนั ไป ดา้ นขา้ ง ยกเวน้ ในรายท่ีบาดเจ็บบริเวณคอหรือ ศีรษะ ใหพ้ ลิกทงั้ ตวั หนั ขา้ งแทน

าวะการติดเชอ้ื ที่เกิดจากกระบวนการอกั เสบท่ีเกิดขน้ึ ร่างกายขาดสารนา้ํ ท่ีจะใหร้ ะบบไหลเวียนโลหิตนาไปสบู ฉีด ริมาณของออกซิเจนทีถ่ กู ขนสงู ไปยงั เนอ้ื เย่ือตางๆลดลง ตราการเผาผลาญในร่างกายที่เพิ่มขนึ้ ทาใหเ้ นอื้ เย่ือทา่ ว ภาวะช็อกจากอาการภมู ิแพอ้ ย่างรนุ แรงจะใชย้ าอี ไพเนฟรีน (Epinephrine) หรือยาชนดิ อ่ืนเพ่ือชว่ ยตา้ น สารท่กี ระตนุ้ ใหผ้ ปู้ ่ วยเกดิ อาการแพ้ ภาวะช็อคจากการเสยี น้าในรา่ งกาย อาจใหน้ า้ เกลอื เพื่อรกั ษาภาวะช็อกจากร่างกายสญู เสยี นา้ และเกลอื แร่ อยา่ งรนุ แรง ช็อคจากากรติดเช้ือในกระแสเลอื ดจะรกั ษาดว้ ย การจา่ ยยาปฏิชวี นะ หรือผทู้ ่ชี ็อกจากสาเหตขุ อง โรคหวั ใจจะรกั ษาดว้ ยการใชย้ า การสวนหัวใจหรือการ ผา่ ตดั

Multiple organs dysfunction syndrome ( ภาวะอวยั วะลม้ เหลวหลายระบบ คานยิ ามของภาวะลม้ เหลวในการทางานของระบบอวยั วะหนงึ่ ใน รา่ งกาย 1. ระบบหวั ใจและหลอดเลือด 2. ระบบหายใจ 3. ไต 4. 4. ตบั มคี า่ prothrombin time สงู ขน้ึ โดยไมเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การขาด วิตามิน K หรือ Disseminated 5. intravascular coagulation (DIC) ร่วมกบั มีค่า total bilirubin เพิ่มขนึ้ อยา่ งนอ้ ย 2 เทา่ และค่า ASTเพ่ิมขน้ึ 6. ระบบประสาท ระดบั Glasgow coma score ≤ 6 มี polyneuropathy มี encephalopathy 7. ระบบทางเดนิ อาหาร มีอาการหนง่ึ อาการหรือมากกว่าหนงึ่ อาการ มี stress ulceration มี acalculouscholecystitis

(MODS) บ การพยาบาล 1.กิจกรรมการพยาบาลเป็ นการสง่ เสริมใหม้ กี ารไหลเวียนเลือดอยา่ ง เพียงพอไดแ้ ก่ เฝ้ าระวังอย่างใกลช้ ิดถึงความเพียงพอของเลือดที่ไดถ้ กู สง่ ไป เล้ยี งสว่ นตา่ งๆของร่างกายดแู ลใหไ้ ดร้ บั สารนา้ ดว้ ยเครื่องควบคมุ การไหล ระวังภาวะนา้ าเกนิ ดแู ลใหไ้ ดร้ บั ยา vasopressor และ inotropic drug ในการใหย้ าทง้ั สองชนดิ อาจมีผลตอ่ ภาวะการเตน้ ของหวั ใจ ท่ีผิดจงั หวะ ดแู ลการไดร้ บั sodium bicarbonate เพ่ือ รกั ษาภาวะความเป็ นกรดของรา่ งกาย 2.กจิ กรรมพยาบาลเพื่อชว่ ยใหเ้ น้ือเย่ือไดร้ บั ออกซิเจนอยา่ ง เพียงพอ ดแู ลใหไ้ ดร้ บั ออกซิเจน ดแู ลทางเดนิ หายใจใหโ้ ลง่ ฟังเสยี งปอดทกุ 2 ชวั่ โมงเพื่อเฝ้ าระวงั ความผดิ ปกติ ทางเดินหายใจ ตดิ ตามผลภาพถ่ายรงั สีทรวงอกเพ่ือ ประเมินความผิดปกตดิ แู ลใหไ้ ดร้ บั ยาขยายหลอดเลือด

บทท่ี 13 การฟื้ นคืนชีพ  หว่ งโซแ่ หง่ การรอดชีวิต สง่ิ ทเี่ ราตอ้ งทา Call→ฟื้นคนื ชีพ→ปั้มหวั ใจ→นาสง่ →รกั ษา สงั เกต นวดหวั ใจ ใชเ้ ครอ่ื งกระตกุ ทางานกบั ทมี การCPR หลกั การคอื เรม่ิ จากปลกุ ก่อน แลว้ เรียกใหค้ นชว่ ยโทร 1669 และขอเคร่อื งAED ท่ีสาคญั คนท่ีชว่ ยตอ้ งดกี ่อนถึงจะไปชว่ ยคนอ่ืนได้ และท่ีสาคญั เราตอ้ งปลอดภยั C : Circulation คลาcarotid pulse 10 sec (ยกเวน้ Hypothermia 30-60sec) start CPR วางสนั มือขา้ ง หน่งึ ตรงกลางอกผปู้ ่ วยบรเิ วณครง่ึ ลา่ งของกระดกู หนา้ อก Positioning : -แขน 2 ขา้ งเหยียดตรงในแนวด่งิ กดหนา้ อกลกึ ประมาณ 5 cm แตไ่ มเ่ กิน 6 cm -กดดว้ ยอตั ราเรว็ 100-120 ครงั้ ตอ่ นาที - สลบั คนป๊ัมตอนท่ีครบ 5 cycle ตอ้ งใหส้ ญั ญาณ/ ประเมนิ ชีพจร ทกุ ครงั้ ท่ีกดหนา้ อก เม่ือปลอ่ ยแรงกด อยา่ ใหม้ ือลอยจากกระดกู หนา้ อก Cardiac arrest in pregnancy: ในคนทอ้ งโกยทอ้ งจากขวามาซา้ ย รองผา้ ดา้ นขวาใหเ้ ดก็ ไหลไปดา้ นซา้ ย Cardiac arrest in Paediatrics: ลากมาตรงกลางหนา้ อกใชน้ วิ้ ชีก้ บั นิว้ กลางกด วธิ ีท่ี2 ใชม้ ือโอบกอด นวิ้ โปง้ กดลกึ 1.5-2นวิ้ A: Airway Open airway: Remove Foreign body Non-Trauma: Head tilt chin lift Trauma : Jaw thrust ใช3้ นวิ้ ยกขากรรไกร ใชน้ วิ้ โปง้ กดมมุ ปาก เคลียairway ดดู เสมหะ B:Breathing -เป่าลมเขา้ ปอดทงั้ สองขา้ ง มองจากการเคล่ือนขนึ้ ลงของหนา้ อก -ใชเ้ วลา 1 วินาทีตอ่ ครงั้ -อตั ราการกดหนา้ อก : การช่วยหายใจ 30:2 Automatic External Defibrillator : AED 5 ป : เปิด – แปะ – แปล – เปรยี้ ง – ป๊ัม

•ทนั ทีท่ี AED มาถงึ ใหเ้ ร่มิ เปิดสวิชตท์ นั ที •ตดิ แผน่ กระตกุ หวั ใจท่ีหนา้ อกผปู้ ่ วย •เคร่อื งแนะนาใหช้ ็อค กดป่มุ ช็อค •เคร่อื งไมแ่ นะนาใหช้ ็อคใหก้ ดหนา้ อกตอ่ ***แนใ่ จวา่ ไมม่ ีใครสมั ผสั ผปู้ ่ วย ขณะเคร่อื งทาการวเิ คราะหห์ วั ใจ หรือกดป่มุ ชอ็ ค

ยาAdrenaline : กระตนุ้ α-adrenergic receptor มีผลเพ่มิ ความดนั โลหิตจากการหดตวั ของหลอดเลือด กระตนุ้ ß-adrenergic receptor มีผลการกระตนุ้ การบีบตวั ของหวั ใจ และ กระตนุ้ อตั ราการเตน้ ของหวั ใจ Side effects: Hypertension TachycardiaSupraventricular tachycardia Cardiac arrest (asystole, PEA) •IV 1mg push ทกุ 3-5 นาที (push NSS ตาม 10ml และยกแขนสงู ) •Intratracheal 2-3 mg +NSS 10 ml Symptomatic sinus bradycardia• ใชเ้ ม่ือไมต่ อบสนองตอ่ atropine •10mg + 5%D/W 100 ml (1:10) IV 5-20 ml/hr Anaphylaxis Angioedema•0.5 mg IM +load IV NSS •กรณีไมต่ อบสนองตอ่ การรกั ษาใหซ้ า้ 0.5 mg IM ทกุ 10-15 นาที 2-3 ครงั้ หรืออาจพิจารณาcontinuous IV drip ยาCordarone : กลไกการออกฤทธิ์antiarrhythmic drugโดยลด automaticity ของ sinus nodeทาใหห้ วั ใจเตน้ ชา้ ลง ขอ้ บง่ ใช้ -Cardiac arrest and -Recurrent VT/VFท่ีไมต่ อบสนองตอ่ defibrillation และยา adrenaline ขนาดยา :300mg + 5%D/W 20 ml IV slow push ใน 3นาที อาจพิจารณาใหซ้ า้ 150 mg อีก 5นาทีตอ่ มา ขอ้ หา้ ม -Severe hypotension -Pregnancy -Heart block Side effects: Hypotension Bradycardia Prolong QT interval Heart block CHF Phlebitis ขอ้ ควรระวงั 1.ขณะdripไมค่ วรไดร้ บั ยา Betablocker, digoxin, diltiazem: เพ่มิ risk bradycardia, AV block Warfarin : เพ่มิ risk bleeding 2.การใหย้ าตอ้ งไมเ่ กิน 2,200 mg in 24 ช่วั โมง 3.ระดบั K และ Mg ตอ้ งอยใู่ นเกณฑป์ กติ เน่ืองจากอาจเกิด arrhythymia

ยา 7.5% Sodium bicarbonate -เป็นสารละลายมีฤทธิ์เป็นดา่ ง มีสว่ นประกอบคือโซเดียม และไบคารบ์ อเนต -เม่ือเขา้ สรู่ า่ งกายจะทาหนา้ ท่ีเพ่มิ ความเป็นดา่ งในรา่ งกายเพ่ิมปรมิ าณโซเดยี มและไบคารบ์ อเนต -เสรมิ กบั ไบคารบ์ อเนตซ่งึ รา่ งกายสรา้ งขนึ้ ท่ีไต -โซเดยี มไบคารบ์ อเนตมีการขบั ออกทางปัสสาวะ ทาใหป้ ัสสาวะมีความเป็นดา่ งมากขนึ้ ขอ้ บง่ ใช้ -Severe metabolic acidosis (PH <7.15) -50 ml IV push ซา้ ไดท้ กุ 30 นาทีหรือ Continuous drip โดยใน Septic shock : rate 20-50 ml/hr โดยไมต่ อ้ งผสมกบั สารนา้ อ่ืน DKA : 100 ml + 5%D/W 400 ml IV rate 250 ml/hr *หยดุ ใหเ้ ม่ือ blood PH > 7.2










Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook