Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานนำเสนอ ประวัติศาสตร์ เหตุการณ์การปฏิวัติอุตสาหกรรม

งานนำเสนอ ประวัติศาสตร์ เหตุการณ์การปฏิวัติอุตสาหกรรม

Published by noongket.85, 2022-08-12 13:45:13

Description: งานนำเสนอ ประวัติศาสตร์ เหตุการณ์การปฏิวัติอุตสาหกรรม

Search

Read the Text Version

การปฏิวัติอุตสาหกรรม Industrial Revolution เ ห ตุ ก า ร ณ์ ส มั ย ใ ห ม่ ถึ ง ปั จ จุ บั น ไ ด ค . ศ 1 4 9 2 - ปั จ จุ บั น

ช่วง ค.ศ. 1760 - 1850 มีการเปลี่ยนแปลงในภาค เกษตรกรรม การผลิต การทําเหมืองแร่ การคมนาคม ขนส่ง และเทคโนโลยี ส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อ สภาพสังคม เศรษฐกิจ และ วัฒนธรรมทำให้การปฏิวัติ เริ่มต้นในสหราชอาณาจักร จากนั้นจึง แพร่ขยายไปยัง ยุโรปตะวันตก อเมริกาเหนือ ญี่ปุ่น จนขยายไปทั่ว ทั้ง โลกในเวลาต่อมา

ปฏิวัติเกษตร นำไปสู่การปฏิวัติ อุตสาหกรรม ประเทศอังกฤษในคริสตศตวรรษที่ 19 เกิดการ ปฏิรูปการอุตสาหกรรมครั้งแรกและใดแพร่ขยาย ไปยังประเทศตะวันตกอื่นๆและทั่วโลก เป็นปรากฏการณ์ที่มีผลกระทบต่อการเมืองการ ปกครองสังคมเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของมวล มนุษยชาติ

อังกฤษ : เป็นผู้นำการปฏิวัติอุตสาหกรรม อังกฤษ : เป็นผู้นำการปฏิวัติอุตสาหกรรม เพราะอังกฤษมีปัจจัย สนับสนุนการขยายตัวทางอุตสาหกรรมหลากหลายด้าน เช่น มี ทุน วัตถุดิบ แรงงาน และตลาดขายสินค้า ปัจจัยสำคัญ ที่ทำให้ประเทศอังกฤษเป็น ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 อังกฤษมีอาณานิคมใน ประเทศผู้นำการปฏิวัติอุตสาหกรรม โพ้นทะเล ที่เป็นแหล่งวัตถุดิบ และตลาด ทั้งในทวีป เอเชีย และอเมริกา จน ในที่สุดการค้าได้กลายเป็น นโยบายหลักของประเทศ เรือรบอังกฤษ ทำหน้ าที่ รักษาเส้นทางทางการค้าทางทะเล และให้ การ คุ้มครองแก่เรือพาณิชย์ที่เดินทางไปค้าขายทั่วโลก คือ ปั จจัยสำคัญที่ทำให้ชาวอังกฤษคิดค้นประดิษฐ์ เครื่องจักรมาใช้ ในโรงงาน อุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง

พัฒนาการปฏิวัติอุตสาหกรรม แบ่งออกได้ 2 ระยะ

พัฒนาการ ปฏิบัติอุตสาหกรรม ระยะที่1 ค.ศ 1760-1840 1.การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรก “สมัยของ เครื่องจักรไอน้ำ” ในระหว่าง ค.ศ. 1760-1840 เป็นระยะที่มีการ ประดิษฐ์เครื่องจักรช่วยในการ ผลิตและการปรับปรุง โรงงานอุตสาหกรรมให้ มี ประสิทธิภาพ เช่นเครื่องจักรไอน้ำ เครื่องปั่ น ด้าย เครื่องทอผ้า เป็นต้น ค.ศ 1733 (จอห์น เคย์) ได้ประดิษฐ์เครื่องทอผ้า ที่เรียกว่า \"กี่กระตุก\" ค.ศ 1750 (เจมส์ ฮาร์ทรีฟส์) ได้ผลิตเครื่องปั่ นด้ายได้สำเร็จ ค.ศ 1793 (วิตนีย์)ประดิษฐ์เครื่องแยกเมล็ดฝ้ายออกจากใย(Cotton gin)การ พั ฒนาอุตสาหกรรมการทอผ้าของอังกฤษเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องจนถึง คริสตศตวรรษที่ 18

พัฒนาการ ปฏิบัติอุตสาหกรรม ระยะที่1 ค.ศ 1760-1840 1.การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรก ค.ศ 1769 (ริชาร์ด อาร์กโรต์) ได้พัฒนาเครื่องปั่ นด้ายให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และพัฒนาเครื่องจักรที่ใช้พลังงานหมุนแทนพลังงานคน เรียกว่า Water frame ค.ศ 1800 ชาวสกอตได้ประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้ำของ (เจมส์ วัตต์) โดยใช้ เครื่องจักรกลแทนพลังงานน้ำซึ่งส่งผลให้น้ำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆได้เช่น เหมืองแร่และการทอผ้าเป็นพลังงานขับเคลื่อนเคลื่อนจักรกลทั้งสิ้น

พัฒนาการ ปฏิบัติอุตสาหกรรม ระยะที่2 ค.ศ 1870-ปัจจุบัน 1.การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะ 2 ปรับปรุงการคมนาคมสื่อสารจากความสำเร็จของอุตสาหกรรมเหล็กและ เครื่องจักรไอน้ำ ค.ศ 1830 (ริชาร์ต เทรวิทิก) การนำนำหัวรถจักรไอน้ำ \"ร็อกเก็ต\" มาบรรทุกสินค้า เป็นจุดเริ่มต้นการเข้าสู่ยุคการใช้รถไฟ หลังการปฏิวัติในฝรั่งเศสในปีค.ศ 1789 หันมาสนใจปฏิวัติอุตสาหกรรมเช่นเดียว กับเยอรมันและสหรัฐอเมริกาและก้าวขึ้นเป็นคู่แข่งกับอังกฤษ ค.ศ 1856 การค้นพบวิธีสกัดเหล็กเป็นเหล็กกล้า ค.ศ 1891 มีการจัดนิทรรศการอุตสาหกรรมครั้งแรกของโลกที่กรุงลอนดอนใน พระราชวังแก้วหรือคริสตัลพาเลซ ค.ศ. 1807 โรเบิร์ต ฟุ ลตัน (Robert Fulton) ชาวอเมริกัน การคมนาคมทางน้ำ ใน ประสบความสำเร็จในการนำ พลังไอน้ำมาใช้กับเรือเพื่อรับส่งผู้โดยสาร

ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ด้ า น สั ง ค ม ด้ า น ก า ร เ มื อ ง ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ประชากรโลกเพิ่ มขึ้นอย่าง ชนชั้นกลางมีอำนาจ ระบบโรงงานระบบ รวดเร็วเพราะความ ทางการเมืองมากขึ้น นายทุน ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ กรรมกรจัดตั้ง เกิดการขยายตัว และด้านการแพทย์เจริญ สหภาพแรงงานซึ่งมี ทางการค้าจนประเทศใน ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง บทบาทสำคัญทางการ ยุโรปแข่งขันการขยาย เกิดปัญหาความแออัดของ เมือง อำนาจทางเศรษฐกิจ ประชาชนในเมือง เกิดลัทธิจักรวรรดินิยม เข้าไปในดินแดนโพ้ น เกิดชนชั้นกลางและชนชั้น ทะเล กรรมาชีพ เกิดลัทธิเสรีนิยมและลัทธิ สังคมนิยม

สมาชิก นางสาวกมลรัตน์ แซ่ลิ่ม นางสาวชุติมา ชูโชติ เลขที่ 13 ชั้น 6/3 นางสาววริศรา คงเพ็ง เลขที่ 25 ชั้น 6/3 นางสาวสริตา เพชรอาวุธ เลขที่ 31 ชั้น 6/3