Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore law1

law1

Published by Charan ya, 2020-05-15 00:46:38

Description: law1

Search

Read the Text Version

กู้เงนิ คา้ ประกนั จานอง จานา ซือ้ ขาย ขายฝาก เช่าทรัพย์ เช่าซือ้ ความรู้กฎหมาย เกีย่ วกบั นิตกิ รรมสัญญา แหลง่ ทมี่ า : เว็บไซต์กรมสอบสวนคดพี เิ ศษ https://www.dsi.go.th/th/Type/Law-for-everyday-life

กฎหมายเกยี่ วกับชวี ิตประจําวนั ในชีวิตประจําวันของคนเราน้ัน จะตองมีติดตอสัมพันธกับผูอ่ืนหลายดาน ถาตองการใหความ สมั พนั ธน ั้น มผี ลทางกฎหมาย กต็ องมีการทาํ นติ ิกรรมสญั ญาระหวา งกัน ในเรือ่ งการทาํ นติ ิกรรมสญั ญา ในทีน่ ีจ้ ะกลา วถึงเรื่องตอไปน้ี ก. กูยืมเงนิ ข. คํา้ ประกนั ค. จํานอง ง. จาํ นํา จ. ซอ้ื -ขาย ฉ. ขายฝาก ช. เชา ทรพั ย ซ. เชา ซ้อื

ก. กยู ืมเงนิ ๑. ความหมาย การกูยืมเงินเปนสัญญาอยางหนึ่ง ซ่ึงเกิดจากบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่งเรียกวา “ผูกู” มี ความตองการจะใชเงิน แตตนเองมีเงินไมพอ หรือไมมีเงินไปขอกูยืมจากบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวา “ผูใหกู” และผูกูตกลงจะใชคืนภายในกําหนดเวลาใดเวลาหน่ึง การกูยืมจะมีผลสมบูรณก็ตอเมื่อ มีการสงมอบเงิน ทย่ี ืมใหแกผ ทู ย่ี มื ในการกูยืมนี้ผใู หก ูจ ะคดิ ดอกเบี้ยหรอื ไมก็ได ตัวอยาง นายดํา ตองการจะซื้อรถราคา ๑๕๐,๐๐๐ บาท แตนายดําไมมีเงิน นายดําจึงไปขอยืม เงินจากนายแดง โดยตกลงจะใชคืนภายใน ๑ ป นับต้ังแตวันที่กูยืม ดังน้ันเมื่อครบกําหนด ๑ ปแลว นายดาํ (ผกู )ู ตองใชเ งนิ คนื ใหแกน ายแดง ๒. ดอกเบยี้ ในการกูยืมเงินกันนี้ เพ่ือปองกันมิใหนายทุนบีบบังคับคนจน กฎหมายจึงไดกําหนดอัตราดอก เบ้ียข้ันสูงสุดท่ีผูใหกูสามารถเรียกได วาตองไมเกินรอยละ ๑๕ ตอป คือรอยละ ๑.๒๕ ตอเดือน (เวนแต เปนการกูยืมเงินจากบริษัทเงินทุนหรือธนาคาร ซ่ึงสามารถเรียกดอกเบ้ียเกินอัตราดังกลาวไดตาม พ.ร.บ. ดอกเบี้ยเงินใหกูยืมของสถาบันการเงิน) ถาเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราดังกลาวถือวาขอตกลงเรื่องดอกเบ้ียนั้น เปนอันเสียไปทั้งหมด คือ ไมตองมีการใชดอกเบ้ียกันเลยและผูใหกูอาจมีความผิดทางอาญาฐานเรียกดอก เบ้ียเกินอัตราดวย คือ อาจตองระวางโทษจําคุกไมเกิน ๑ ป หรือปรับไมเกิน ๑,๐๐๐ บาท หรือท้ังจําท้ัง ปรับ ตาม พ.ร.บ. หามเรียกดอกเบย้ี เกินอัตรา พ.ศ. ๒๔๗๕ ๓. หลักฐานการกยู มื ในการตกลงทําสัญญากูยืมเงินนั้น ถาหากวากูยืมกันเปนจํานวนเงินเล็กนอยไมเกิน ๕๐ บาท กฎหมายไมไดบังคับวาตองทําหลักฐานเปนหนังสือ แสดงถึงการกูยืมหรือทําสัญญาไวตอกัน เชน ยืมเงิน ๒๐ บาท หรือ ๓๐ บาทแลวเพียงแตพูดจาตกลงกันก็พอ แตถาหากวากูยืมเปนจํานวนเกินกวา ๕๐ บาท ตองทําหลักฐานแหงการกูยืมเปนหนังสือหรือทําหนังสือสัญญากูไวตอกัน เพ่ือจะไดใชเปนหลักฐานในการ ฟองรองบังคับคดีในกรณีที่ไมปฏิบัติตามสัญญา ในหลักฐานแหงการกูเปนหนังสือดงั กลาวนี้ตองมีขอความ แสดงวา ไดก ยู มื เงินเปนจาํ นวนเทาใดมีกาํ หนดใชคนื เมอ่ื ใดและท่สี าํ คัญจะตอ งมีการลงลายมอื ชอ่ื ผกู ู

ตัวอยา ง หลกั ฐานการกยู ืมเงนิ ขาพเจา นายดํา ไดกูยืมเงินจากนายสมศักด์ิเปนจํานวน ๓,๐๐๐ บาท (สามพันบาทถวน) เม่ือ วนั ท่ี ๒๗ มิถุนายน ๒๕๓๐ มกี าํ หนดใชค ืนภายใน ๑ ป ดอกเบ้ยี รอยละ ๑๕ ตอป ลงชอื่ ดาํ ผกู ู หากวาในขณะกูยืมเงินกันแตมีการตกลงรับเอาส่ิงของแทนจํานวนเงินที่กูยืมกันน้ัน ตองคิดราคา ของตลาดของส่ิงน้ันเปนจํานวนเงินที่กูจริงนั้น เชน มีการตกลงกูยืมเงินกัน ๕๐๐ บาท แตมีการตกลงให รบั ขาวสารแทน ๒ กระสอบ ซ่ึงในขณะนนั้ ขาวสารกระสอบละ ๑๕๐ บาท ดังนั้น เราถอื วามกี ารกูยืมเงนิ กันจรงิ เพียง ๓๐๐ บาทเทาน้นั ๔. อายคุ วาม การฟองรอ งเรียกเงินตามสญั ญากูจะตองกระทําภายในกําหนดอายุความ ซึ่งกฎหมายกาํ หนดไววา จะตองฟอ งภายใน ๑๐ ปนบั แตวันทถี่ งึ กําหนดชาํ ระเงินคืน ตัวอยาง แดง กูยืมเงิน ดํา เมื่อ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๓๐ จํานวน ๑๐,๐๐๐ บาท เปนเวลา ๑ ป ดังนั้นหนี้รายน้ีถึงกําหนดในวันท่ี ๒๗ มิถุนายน ๒๕๓๑ ผูใหกูตองฟองเรียกเงินที่กูยืมคืน ภายใน ๒๗ มิถนุ ายน ๒๕๔๑ ๕. ขอควรระมัดระวังในการกูยมื (๑) อยา ไดลงลายมือช่อื ในกระดาษเปลาเปนอันขาด (๒) อยา ไดน ําโฉนดไปใหเ จาหน้ียดึ ถอื ไวเ ปน ประกัน (๓) จะตอ งนับเงินใหถูกตอ งครบถวนตามสญั ญา (๔) ผยู มื จะตองเขียนจาํ นวนเงินเปน ตวั หนังสือดวย (๕) สัญญาท่ีกูตองทําอยางนอย ๒ ฉบับ โดยใหผูกูยึดถือไวฉบับหน่ึง และใหผูใหกูยึดถือไว อีกฉบับหนึง่ (๖) ในสัญญากคู วรมพี ยานฝา ยผกู ูลงลายมือช่อื เปนพยานอยา งนอย ๑ คน ๖. ขอ ปฏิบตั ใิ นการชําระเงิน เมื่อผูกูนําเงินไปชําระไมวาจะเปนการชําระท้ังหมดหรือบางสวนก็ตามผูกูควรทําอยางใดอยาง หน่ึงดงั ตอไปน้ี มฉิ ะนัน้ จะอางยนั ผใู หก ูวา ชําระเงินกูใหเขาคืนแลว ไมได

ส่ิงทผี่ ูกูควรกระทาํ เมอ่ื ชําระเงนิ คอื (๑) รับใบเสร็จเงินหรือหนังสือท่ีมีขอความวาไดชําระเงินท่ีกูมาแลวท้ังหมดหรือเพียงบางสวน และมีลายเซ็นผูใหกกู ํากบั ไวดว ย ตัวอยาง ขาพเจา นายสมศักดิ์ ร่ํารวยทรัพย ไดรับเงินคืนจาก นายดํา เกิดมาก ผูกูเปนจํานวน ๕,๐๐๐ บาท ลงชอ่ื สมศกั ด์ิ รํ่ารวยทรัพย ผูใหกู ๒๗ มิถนุ ายน ๒๕๓๐ (๒) รับหนังสือสญั ญากูเงนิ ทไี่ ดทาํ ไวแ กผใู หกูคนื มาในกรณที ช่ี าํ ระเงนิ ครบตามจาํ นวนเงินที่กู (๓) มีการบนั ทึกลงในสญั ญาก็วา ไดนําเงนิ มาชําระแลวเทา ไรและใหผูใหก เู ซน็ ชอ่ื กํากับไว ผูให กตู อ งเซ็นชอ่ื กํากับไวทกุ ครั้งทม่ี กี ารชาํ ระเงินจึงจะอา งยนั ไดวา ไดชําระเงนิ ไปแลว

ข. คา้ํ ประกนั คนเราถาขัดสนเงินทองก็ตองกูเปนหน้ีเขา แตเขาอาจจะไมยอมใหกถู าไมมีอะไรเปนหลักประกัน ใหความม่ันใจวาเขาจะไดรับชําระหนี้คืน ค้ําประกันก็เปนหลักประกันอันหน่ึง คํ้าประกัน คือการท่ีใครคน หนึ่งทําสัญญากับเจาหน้ีวาถาลูกหน้ีไมชําระหนี้ ผูค้ําประกันจะชําระหนี้นั้นแทน เมื่อลูกหนี้ไมชําระหนี้ เจาหนก้ี ็ยอมมสี ิทธิเรียกรองหรอื ฟองใหผคู ํา้ ประกนั รับผดิ ได การท่ีจะฟองใหผูคํ้าประกันรับผิดตามสัญญาคํ้าประกันไดน้ัน จะตองมีหลักฐานเปนหนังสือ ลง ลายมือชื่อผูค้ําประกันเปนสําคัญมิใชตกลงกันดวยปากเปลาซ่ึงฟองไมได ตามธรรมดาถาทําสัญญาค้ํา ประกันตามแบบซ่ึงมีขายอยูทั่วไป ก็ไมคอยมีปญหาเพราะเปนแบบซ่ึงทําโดยผูรูกฎหมาย แตถาทํากันเองก็ อาจเกิดปญหาได ถาเราเปน เจา หนีก้ ต็ องระมดั ระวงั ในขอน้ี ในเอกสารน้นั ตองมีขอความอันเปน สาระสําคญั วา ถาลูกหนี้ไมชําระหนี้ผูคํ้าประกันจะชําระหน้ีแทน มิฉะนั้นอาจฟองผูคํ้าประกันไมได เพราะไมใชเปน สญั ญาคา้ํ ประกันตามกฎหมาย ขอบเขตความรับผิดชอบของผคู ้ําประกนั ผูค้ําประกัน จะไมจํากัดความรับผิดหรือจะจํากัดความรับผิดชอบของตนไวในสัญญาคํ้าประกัน ดวยก็ได ถาไมตองการรับผิดอะไรบาง หรือตองการจํากัดขอบเขตความรับผิดไวเพียงใด ก็ตองระบุใน สัญญาใหชัดเจน เชน ลูกหนี้กูเงินเจาหน้ี ๑๐๐,๐๐๐ บาท อัตราดอกเบ้ียรอยละ ๑๕ ตอป ผูคํ้าประกันจะ จํากัดความรับผิดเฉพาะกรณีทบี่ ุคคลน้นั ทําความเสียหายเน่ืองจากทจุ รติ ตอหนาท่ีไมรวมถึงประมาทเลนิ เลอ ดวยก็ได เม่ือจํากัดความรับผิดไวแลวก็รับผิดเทาท่ีจํากัดไว แตถาไมจํากัดความรับผิดเมื่อลูกหน้ีผิดสัญญา ตอ เจา หนี้ ไมชําระเงินหรือคาเสียหายมากนอ ยเพยี งใด ผูค้ําประกนั ก็ตอ งรับผิดจนส้ินเชงิ เชนเดยี วกับลกู หน้ี ทุกอยาง เม่ือทําสัญญาประกันแลวผูคํ้าประกันตองผูกพันตามสัญญาน้ัน เจาหน้ีมีสิทธิเรียกรองหรือฟองให รบั ผดิ ได เมอ่ื ลูกหน้ีไมช ําระหน้ตี ามกําหนด สทิ ธิของผูคํา้ ประกนั (๑) เมือ่ ผคู ้าํ ประกันถูกเรยี กรองใหชําระหนีแ้ ทนลกู หนี้ มใิ ชผ ูค้ําประกันตอ งชําระหนท้ี ันทีแตมี สทิ ธิท่ีจะเกี่ยงใหเ จา หน้ี ไปเรยี กรอ งเอาจากลูกหนก้ี อ นได ทั้งนภ้ี ายใตขอยกเวน บางประการและถา เจาหน้ี ฟอ งเปนจําเลยรวมกับลูกหน้ีก็ยังมีสิทธิพิสูจนตอศาลวาลูกหน้ีมีทรพั ยสินชําระหน้ีไดและการท่ีจะบังคบั จาก ลูกหน้ีนั้นไมเปน การยาก ถาผูคาํ้ ประกันนําพยานเขาสืบและฟงไดเชน นั้น ศาลก็ตองบังคับเอาจากทรัพยสิน ของลูกหนี้กอนเพราะหนี้ที่ผูคํ้าประกันตองชําระมิใชเปนหนี้ของผูค้ําประกันเอง ผูค้ําประกันเปนลูกหน้ี ชัน้ ทส่ี อง

บางกรณีเจาหนี้เอาเปรียบลูกหน้ีและผูคํ้าประกัน ในสัญญาสําเร็จรูป จะมีความวา “ใหผูคํ้า ประกันยอมรับผิดรวมกับลูกหน้ี” คือเปนลูกหนี้รวมเทากับใหผูคํ้าประกันรับผิดหนักข้ึน ดังนั้นกอนเซ็น สัญญาคํ้าประกัน จึงตองพิจารณาวาจะยอมรับผิดเชนนั้นหรือไม ถายอมรับผิดรวมกับลูกหนี้ก็ไมมีสิทธิที่ จะเกย่ี วดังกลา วขางตน (๒) เมื่อผูค้ําประกันชําระหน้ีใหแกเจาหนี้แลว ไมวาชําระแตโดยดี หรือชําระหนี้โดยถูกบังคับ ตามคําพิพากษา ผูคํ้าประกันก็มีสิทธิรับชวงสิทธิของเจาหน้ี ในอันที่จะเรียกเอาเงินชําระใหเจาหน้ีใชแลว น้นั คนื จากลกู หน้ีไดต ามจาํ นวนทีช่ าํ ระไปตลอดจนท้งั คาเสียหายตา ง ๆ เน่ืองจากการคาํ้ ประกนั การเปนผูค้ําประกันน้ันมีแตเสีย ตามคําพังเพยท่ีวาเน้ือไมไดกินหนังไมไดรองน่ัง มีแตเอากระดูกมาแขวน คอ เพราะฉะนน้ั กอนที่จะเซ็นชอื่ ในสัญญาคํ้าประกัน ตองพิจารณาตัวลกู หนี้ซึง่ เปนผูคํ้าประกันจะชําระหน้ี แทนใหดีวามีความสามารถชําระหน้ีใหเจาหน้ีไดแคไ หน และมีความซื่อสัตยสจุ ริตเพียงใด ท้ังตองพิจารณา ขอ ความในสัญญาใหรอบคอบ บางทกี าํ หนดใหผูค ้ําประกนั รับผดิ หนักข้ึน หรือสละสทิ ธิบางอยางอันอาจทํา ให ไลเ บย้ี เอาจากลกู หนี้ไมไ ด เม่อื เขาใจขอความในสญั ญาดแี ลวจงึ คอ ยลงช่อื ในสัญญาคา้ํ ประกนั การพน ความรบั ผิดของผคู ้าํ ประกนั เมื่อเซ็นช่ือในสัญญาแลวผูคํ้าประกันก็มีภาระจะตองรับผิดตอเจาหนาท่ีจนกวาหนี้ของลูกหน้ี จะระงับไป ตราบใดที่หนี้ของลูกหน้ียังมีอยูผูค้ําประกันก็ไมพนความรับผิด แตมีพฤติการณบางอยางที่ กฎหมายกําหนดไวใ หผ ูคาํ้ ประกันพนความรับผดิ (๑) เจาหน้ีผอนเวลาใหแกลูกหนี้ คือถาไดกําหนดวันชําระหนี้ไวแนนอนแลว เจาหนี้ยืดเวลา ตอ ไปอกี ผคู าํ้ ประกนั กพ็ น ความรบั ผดิ (๒) เมื่อหน้ีของลูกหน้ีถึงกําหนดชําระแลว ผูคํ้าประกันเอาเงินไปชําระแกเจาหน้ีไวแนนอนแลว แตเจาหน้ีไมย อมรบั โดยไมม ีเหตอุ นั จะอางกฎหมายได ผคู ํา้ ประกนั กห็ ลดุ พนจากความรบั ผิดเชนเดยี วกัน

ค. จํานอง จํานองก็เปนหลักประกันอีกประการหนึ่ง จํานอง คือ การที่ใครคนหนึ่งเรียกวา ผูจํานอง เอา อสังหาริมทรัพยอันไดแก ท่ีดิน บานเรือน เปนตน ไปตราไวแกบุคคลอีกคนหน่ึงเรียกวา ผูรับจํานอง หรือ นัยหนึ่ง ผูจํานองเอาทรัพยสินไปทําหนังสือจดทะเบียนตอ เจาพนักงาน เพื่อเปนการประกันการชําระหน้ีของ ลูกหน้ี โดยไมตองสงมอบทรัพยที่จํานองใหเจาหนี้ ผูจํานองอาจเปนตัวลูกหนี้เองหรือจะเปนบุคคลภายนอก ก็ได เชน นายดํากูเงินนายแดง ๑๐๐,๐๐๐ บาท เอาท่ีดินของตนเองจํานองหรือนายเหลืองซ่ึงเปนบุคคล ภายนอกเอาท่ีดินจํานองจดทะเบียนท่ีสํานักงานที่ดินเปนประกันหนี้ของนายดําก็ทําไดเชนเดียวกัน เม่ือ จํานองแลวถาลูกหนี้ไมชําระหนี้เจาหนี้ก็มีอํานาจยึดทรัพยท่ีจํานองออกขายทอดตลาดเอาเงินชําระหนี้ได และมีสทิ ธพิ เิ ศษไดรับชาํ ระหนี้กอ นเจา หนี้ธรรมดาท่ัวไป กูเงินแลวมอบโฉนด หรือ น.ส.๓ ใหเจาหนี้ยึดไวมิใชจํานอง เจาหน้ีไมมีสิทธิพิเศษเปนเพียง เจา หนธ้ี รรมดา แตมีสทิ ธยิ ึดโฉนดหรอื น.ส.๓ ไวตามขอตกลงจนกวาลูกหนี้ชําระหน้ี ฉะน้นั ถา จะทําจาํ นองก็ ตอ งจดทะเบยี นใหถ ูกตอง ทรพั ยส นิ ท่ีจาํ นอง ทรัพยสินที่จํานองได คือ อสังหาริมทรัพย อันหมายถึง ทรัพยที่ไมสามารถเคลื่อนที่ได เชน ที่ดิน บานเรือน เรือกสวนไรนา เปนตน นอกจากน้ันสังหาริมทรัพยท่ีเคลื่อนท่ีไดบางอยาง เชน เรือกําปน เรือกลไฟ แพที่อยูอาศัย และสัตวพาหนะ ถาไดจดทะเบียนไวแลว ก็อาจนํามาจํานองไดดุจกัน เมื่อเจาของ ทรัพยนําไปจํานองไมจําเปนตองสงมอบทรัพยท่ีจํานองใหแกเจาหน้ี เจาของยังคงครอบครองใชประโยชน เชน อาศัยอยูในบาน หรือทําสวนไรหาผลประโยชนไดตอไป นอกจากน้ันอาจจะโอนขายหรือนําไปจํานอง เปนประกันหนี้รายอื่นตอไปก็ยอมได สวนเจาหนี้น้ันการที่ลูกหน้ีนําทรัพยไปจดทะเบียนจํานอง ก็นับไดวา เปนประกนั หนี้ไดอยา งม่นั คงไมจ ําเปน ตอ งเอาทรพั ยน ้นั มาครอบครองเอง ผจู ํานองตอ งระวัง ผูมีสิทธิจํานองได คือเจาของหรือผูมีกรรมสิทธในทรัพยสิน ถาเจาของจํานองทรัพยสินดวยตน เองก็ไมมีปญหา แตถามอบอํานาจใหผูอ่ืนไปทําการจํานองแทน บางกรณีก็อาจเกิดปญหาได ขอควร ระมัดระวังคือ ควรเขียนใบมอบฉันทะหรือใบมอบอํานาจใหชัดเจนวาทําการจํานอง ไมควรเซ็นแตช่ือแลว ปลอยวา งไว อันบุคคลอืน่ น้นั อาจกรอกขอ ความเอาเอง แลวนาํ ไปทาํ ประการอ่นื อันไมตรงตามความประสงค ของเรา เชน อาจเพ่ิมเติมขอความวามอบอํานาจใหโอนขาย แลวขายเอาเงินไปใชประโยชนสวนตัวเสีย เปนตน เราผูเปนเจาของทรัพย ผูมอบอํานาจอาจจะตองถูกผูกพันตามสัญญาซ้ือขายน้ัน เพราะถือวาประมาท เลนิ เลออยดู ว ย

ผรู ับจํานองตอ งระวัง ผูรับจํานองทรัพยสินก็ตองระมัดระวังเชนกัน ควรติดตอกับเจาของทรัพยหรือเจาของที่ดินโดย ตรง และควรตรวจดูท่ีดินทรัพยสินท่ีจํานองวามีอยูจริงตรงกับโฉนด เคยปรากฏวามีผูนําโฉนดที่ดินไป ประกันผตู องหาหรอื จาํ เลย แตทีด่ นิ ตามโฉนดน้ันกลับเปนถนนเหลือจากการจัดสรร หรือทีด่ ินตามโฉนดนั้น พังลงนํ้าไปหมดแลว ดังน้ัน ผูรับจํานองจึงไมควรรับจํานอง หรือติดตอสัญญากับคนอ่ืนหรือผูท่ีอางวาเปน ตัวแทน เพราะถาปรากฏในภายหลังวาบุคคลนั้นทําใบมอบฉันทะ หรือใบมอบอํานาจปลอมขึ้นแลวนําที่ดิน ของผูอืน่ มาจาํ นองโดยชําระหนี้ใหแกเจาหนี้ มิฉะน้ัน เจาหน้ีก็มีสิทธทิ ี่จะบังคับจํานองยึดทรัพยเอาท่ีดินออก ขายทอดตลาด ซึ่งถาผูร บั โอนสูราคาไมไ ด ทรพั ยหลุดมอื ไปเปน ของคนอนื่ ดังนน้ั ท่ซี ือ้ มากเ็ สียเงนิ เปลา ผูร บั โอนและผูรับจาํ นองซอนกต็ องระวงั ทรัพยที่จํานองนั้นเจาของจะนําไปจํานองซํ้า หรือโอนขายตอไปก็ยอมทําได ผูรับจํานองคนหลัง ตองพิจารณาวาทรัพยน้ันเม่ือขายทอดตลาดจะมีเงินเหลือพอชําระหน้ีของตนหรือไม เพราะเจาหน้ีคนแรกมี สิทธิไดรับชําระหนี้กอน คนหลังมีสิทธิแตเพียงจะไดรับชําระหน้ีเฉพาะสวนที่เหลือ ผูรับโอนหรือผูซ้ือ ทรัพยที่จํานองก็ตองระวังเชนเดียวกัน เพราะรับโอนทรัพยโดยมีภาระจํานองก็ตองไถถอนจํานองโดยชําระ หนใ้ี หแ กเ จา หน้ี มฉิ ะนั้นเจา หนกี้ ็มีสทิ ธทิ ีจ่ ะบงั คับจํานองยดึ ทรัพยเ อาทด่ี ินออกขายทอดตลาด ซง่ึ ถาผูรับโอน สรู าคาไมไ ด ทรัพยห ลดุ มือไปเปน ของคนอ่นื ดังนนั้ ที่ซอ้ื มาก็เสยี เงินเปลา

ง. จาํ นํา สัญญาจํานํา คือ สัญญาซึ่งบุคคลคนหน่ึงเรียกวา ผูจํานํา สงมอบสังหาริมทรัพยใหแกบุคคลอีกคน หน่งึ เปนผูค รอบครองเรียกวา ผูรับจาํ นํา เพ่ือประกันการชําระหน้ี ทรพั ยส ินที่จาํ นําไดคือ ทรพั ยส ินที่สามารถ เคลือ่ นทไี่ ด เชน วทิ ยุ โทรทัศน ชา ง มา โค กระบอื และเครือ่ งทองรูปพรรณ สรอย แหวน เพชร เปน ตน ตัวอยางเชน นาย ก กูเงนิ นาย ข จํานวน ๕๐,๐๐๐ บาท เอาแหวนเพชรหน่ึงวงมอบใหนาย ข ยึดถือ ไวเปนประกันการชําระหนี้เรียกวา นาย ก เปนผูจํานํา และนาย ข เปนผูรับจํานํา ผูจํานําอาจเปนบุคคลภาย นอก เชน ถาแทนที่นาย ก จะเปนผูสงมอบแหวนเพชรใหเจาหนี้กลับเปนนาย ค ก็เรียกวา เปนผูจํานํา ผูจํานํา ไมจ ําเปน ตอ งเปนลกู หน้ีเสมอไป ผรู ับจาํ นาํ ตองระวงั ผูจํานําตองเปนเจาของทรัพย คือ มีกรรมสิทธ์ิในทรัพยสินที่จํานําใครอ่ืนจะเอาทรัพยของเขาไป จํานําหาไดไม เพราะฉะน้ันถายักยอก ยืมหรือลักทรัพยของเขามาหรือไดทรัพยของเขามาโดยไมชอบดวย กฎหมายประการอ่ืนแลวเอาไปจํานํา เจาของอันแทจริงก็ยอมมีอํานาจติดตามเอาคืนไดโดยไมตองเสียคาไถ เพราะฉะนั้นผูรับจํานําตองระวังควรรับจํานําจากบุคคลท่ีรูจัก และเปนเจาของทรัพยเทาน้ัน มิฉะนั้นอาจจะ เสยี เงินเปลา ๆ สิทธหิ นา ท่ีผรู บั จาํ นาํ เมื่อรับจํานําแลวทรัพยสินท่ีจํานําก็อยูในความครอบครองของผูรับจํานําตลอดไป จนกวาผูรับ จาํ นาํ จะรับคนื ไปโดยการชาํ ระหนี้ ในระหวา งนั้น ผรู ับจาํ นาํ มหี นา ท่เี กีย่ วกบั ทรัพยส ินทีจ่ ํานาํ บางประการ ๑. ตองเก็บรักษาและสงวนทรัพยที่จํานําใหปลอดภัย ไมใหสูญหาย หรือเสียหาย เชน รับจํานํา แหวนเพชรกต็ อ งเก็บในทีม่ ่ันคง ถา ประมาทเลินเลอ วางไวไมเปน ที่เปน ทาง คนรา ยลักไปอาจจะตองรับผิดได ๒. ไมเอาทรัพยท่ีจํานําออกไปใชเอง หรือใหบุคคลภายนอกใชสอยหรือเก็บรักษา มิฉะน้ันถาเกิด ความเสียหายใด ๆ ข้ึนตองรับผิดชอบ เชน เอาแหวนที่จํานําสวมใสไปเที่ยวถูกคนรายจี้เอาไปก็ตองใชราคา ใหเ ขา ๓. ทรัพยสินท่ีจํานําบางอยาง ตองเสียคาใชจายในการบํารุงรักษา เชน จํานําสุนัขพันธุดี โค กระบือหรือมาแขง อาจจะตองเสียคาหญา อาหารและยารักษาโรค ผูจํานําตองชดใชแกผูรับจํานํา มิฉะนั้น ผรู ับจํานาํ ก็มสี ทิ ธยิ ดึ หนวงทรัพยท ีจ่ าํ นําไวกอ น ไมย อมคนื ใหจนกวา จะไดรบั ชาํ ระหน้ีครบถว น

การบังคบั จาํ นํา เม่อื หนถ้ี งึ กําหนดลกู หนไ้ี มช ําระหน้ี ผูร ับจาํ นาํ กม็ ีสิทธบิ ังคับจาํ นาํ ได คอื ๑. เอาทรัพยสินท่ีจํานําออกขายทอดตลาด คือกระทําไดเองไมตองขออํานาจซ่ึงตามธรรมดาก็ให บุคคลซ่ึงมีอาชีพทางดําเนินธุรกิจขายทอดตลาดเปนผูขาย แตกอนท่ีจะขายทอดตลาดผูรับจํานําจะตองบอก กลาวเปนหนังสือไปยังลูกหนี้กอนใหชําระหน้ีและหน้ีท่ีเก่ียวเน่ืองกัน เชน ดอกเบี้ย คารักษาทรัพยที่จํานํา เปน ตน ภายในเวลาอันสมควร ๒. ถาผูรับจํานําไมบังคับตามวิธีท่ี ๑ เมื่อลูกหนี้ไมชําระหน้ีเพื่อไถถอนทรัพยท่ีจํานําคืนไป เจาหน้ผี รู บั จํานํายื่นฟอ งตอ ศาล ใหขายทอดตลาดทรพั ยท จี่ ํานาํ กย็ อ มได ไมม ีอะไรหาม ขอสงั เกต (๑) เงินที่ไดจากการขายทอดตลาดตองนํามาชําระหนี้พรอมดวยอุปกรณ คือคาใชจายตางๆ ถามี เงินเหลือก็คืนแกผูจํานําไป เพราะเปนเจาของทรัพย ถามีเจาหน้ีหลายคน ผูรับจํานําก็มีสิทธิไดรับชําระหน้ี กอ นเจา หนอ้ี ื่น (๒) เม่ือถึงกําหนดชําระหน้ีแลวคูสัญญาจะตกลงกันใหทรัพยสินท่ีจํานําตกเปนของผูรับจํานําก็ ยอมทําได ถือวาเปนการชําระหน้ีดวยของอ่ืน แตจะตกลงกันเชนน้ีในขณะทําสัญญาจํานํา หรือกอนหน้ีถึง กาํ หนดหาไดไม

จ. ซอื้ ขาย ในชีวิตประจําวันของเราแตละคนนั้น ตองทําสัญญากันวันละหลายๆ คร้ัง ในบางครั้งเราเองอาจ จะ ไมรูสึกวาเปนการทําสัญญา เพราะเปนไปในลักษณะของความเคยชินที่เกิดข้ึนในแตละวัน สัญญาที่ทํากัน บอยมากน้ัน ก็ไดแก สัญญาซื้อขาย เพียงแคเราต่ืนข้นึ มา เราอาจตองทําสัญญาซื้อยาสีฟน แปรงสีฟน ตอง ทําสัญญาซ้ือขาว รับประทานหรือซ้ือเคร่ืองด่ืม แมแตโคกแกวเดียว ก็ถือวาเราไดทําสัญญาซื้อขายแลว ดังน้ัน เราจะเห็นไดวา การซื้อขายท่ีทํากันโดยปกติท่ัวไปดังท่ีไดยกตัวอยางมานั้นไมไดมีปญหา หรือ ความสลับซับซอนอะไรมากมาย จนจะทําใหเราตองนึกถึงกฎหมายในเรื่องของสัญญาซื้อขาย แตเน่ืองจาก การซ้ือขายทรัพยสินบางอยางในปจจุบันอาจเปนสินทรัพยท่ีมีราคาคางวด หรือมีความสําคัญตอชีวิตของเรา อยางมาก กฎหมายจึงกําหนดวิธีการในการซื้อขายทรัพยสินดังกลาวไวเปนพิเศษวา สัญญาซื้อขายทรัพยสิน ดังกลาวนั้นจะตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ เพ่ือท่ีผูซ้ือหรือผูขายจะไดคิด ไตรตรองใหรอบคอบกอนที่จะทาํ การซื้อขายกันใหเสรจ็ สิ้นไป และเพื่อที่จะไดมีหลักฐานในการซ้ือขายกัน อยางชัดเจน ตลอดท้ังการท่ีจะรูแนนอนวาใครเปนเจาของทรัพยสิน ดังกลาวนั้น การซ้ือขายทรัพยสิน เหลานก้ี เ็ ชน การซอื้ ขายบา นและทดี่ นิ ทีเ่ ราใชอ ยอู าศัย เปน ตน ดังน้ัน เราจึงควรทําความเขาใจหลักเกณฑในการซื้อขายทรัพยสินประเภทตาง ๆ ไวบาง เพ่ือ หลีกเลี่ยงปญ หาทอี่ าจจะเกดิ ข้นึ ได สําหรับสัญญาซ้ือขายนั้น ก็คือ สัญญาที่ผูขายโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยสินใหแกผูซื้อ และผูซ้ือ ตกลงวา จะใชราคาทรัพยสนิ นัน้ ใหแกผขู าย การโอนกรรมสิทธิ์ หมายถึง การโอนความเปนเจาของในทรัพยสิน ที่ซ้ือขายนั้นไปใหแกผูซ้ือ ผูซ อ้ื เม่ือไดเปนเจาของกส็ ามารถที่จะใช ไดร บั ประโยชน หรอื จะขายตอไปอยางไรก็ได สําหรับเรื่องราคาทรัพยสิน จะชําระเม่ือไรน้ันเปนเร่ืองที่ผูซื้อผูขายจะตองตกลงกัน ถาตกลงกัน ใหชําระราคาทันทีก็เปนการซ้ือขายเงินสด ถาตกลงกันชําระราคาในภายหลงั ในเวลาใดเวลาหน่ึงเพียงคร้ังเดียว ตามที่ตกลงกัน กเ็ ปน การซ้ือขายเงินเชื่อ แตถาตกลงผอนชําระใหกันเปนคร้ังคราวก็เปนการซื้อขายเงินผอน สําหรับ การซ้ือขายเงินผอนน้ันเปนที่นิยมมากในปจจุบัน เนื่องจากความตองการในทางวัตถุมีมาก แตรายไดมีนอย ไมเพียงพอที่จะซ้ือส่ิงอํานวยความสะดวกไดทันทีหลาย ๆ อยาง เชน โทรทัศน วิทยุ ตูเย็น วิดีโอ ก็เลย นยิ มท่ีจะซอ้ื เงนิ ผอน อยางไรก็ตาม โดยปกติในการทําสัญญาซ้ือขายทรัพยสินนั้นทันทีท่ีทําสัญญา กรรมสิทธ์ิในทรัพย สินช้ินนั้นก็จะโอนไปยังผูซ้ือทันที แมวาจะยังไมไดสงมอบทรัพยสินชิ้นน้ันใหผูซื้อหรือแมผูซ้ือจะยังไมไดชําระ เงินคาทรัพยสินนั้นก็ตาม ผูซื้อก็ไดความเปนเจาของไปแลว ยกเวนแตในกรณีของการซ้ือเงินผอนนั้น ผูซื้อ และผูขายอาจจะตกลงกันวาเม่ือผอนชําระเงินกันเสรจ็ แลว กรรมสิทธิ์คอยโอนไปเชนนี้ก็ทําได แตเน่ืองจาก การซ้ือเงินผอนน้ี ผูซ้ือมักไดทรัพยสินไปใชกอน แลวคอย ๆ ผอนใชราคาทรัพยสินท่ีจะตองจายจึงมักจะ รวมดอกเบี้ยไปดวย ทําใหผูซ้ือ ซื้อทรัพยสินน้ันในราคาที่แพงกวาทองตลาดหรือเม่ือซื้อเปนเงินสด ดังนั้น

หากผูซ้ือไมลําบากจนเกินไปในการซ้ือเปนเงินสดแลว ก็ควรจะซ้ือเปนเงินสด จะไดประหยัดไมตองซื้อ ของแพง ๑. หลักเกณฑใ นการทาํ สัญญาซอ้ื ขาย (๑) ตองมีบุคคล คือ ตัวผูซ้ือและตวั ผูข าย ซงึ่ ทัง้ สองคนนั้นจะตอ งมีความคดิ สติปญ ญาพอสม ควรที่จะตัดสินใจทําสัญญากันไดเอง ซึ่งก็คือ ตองเปนคนบรรลุนิติภาวะ โดยปกติก็คือมีอายุ ๒๐ ป บริบรู ณ (๒) ผูซื้อตองมีความตองการท่ีจะซื้อและผูขายตองมีความตองการที่จะขายทรัพยสินส่ิงนั้นจริง ๆ โดยทั้งสองฝายไดแ สดงความตอ งการของตนใหอกี ฝา ยหนึ่งรูดว ย (๓) ผูซื้อและผูขายตองมีเปาหมายในการทําสัญญาซ้ือขาย ซึ่งก็คือ ผูซื้อมีเปาหมายที่จะได กรรมสิทธ์ิหรือความเปนเจาของทรัพยสินนั้น สวนผูขายก็มีเปาหมายท่ีจะไดเงินหรือราคาของทรัพยสินน้ัน และเปาหมายของท้ังสองฝายนี้จะตองไมมีกฎหมายหาม ไมขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของ ประชาชน และตองเปนเปาหมายที่อาจจะเกิดขึ้นไดดวย ตัวอยาง แดงทําสัญญาซ้ือเฮโรอีนจากดํา สัญญา ซื้อขายนี้บังคับกันไมได เพราะการซ้ือขายเฮโรอีนมีเปาหมายท่ีผิดกฎหมาย หรือเขียวทําสัญญาซื้อบานจาก เหลืองเพ่ือทําเปนซองโสเภณี สัญญาซ้ือขายนี้ก็บังคับไมไดเพราะเปนเปาหมายขัดตอความสงบเรียบรอยของ ประชาชน หรือขาวทําสัญญาขายเด็กหญิงฟา ซ่ึงเปนบุตรสาวใหกับนํ้าเงิน สัญญาซื้อขายนี้ก็บังคับไมได เพราะมเี ปาหมายขดั ตอ ศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน (๔) ผูขายตองโอนกรรมสิทธิ์ใหกับผูซ้ือ เราตองเขาใจดวยวาการโอนกรรมสิทธิ์นี้ ตัว กรรมสิทธเ์ิ ปน สง่ิ ท่ีไมม ีตัวตนแตเปน ส่ิงทก่ี ฎหมายสมมติขึ้น การโอนกรรมสทิ ธจ์ิ งึ อาจจะเกิดขน้ึ แมวา ผูซ อ้ื จะยงั ไมไ ดรบั มอบทรัพยไ ปไวใชส อยหรือไปไวใ นความครองครองก็ตาม (๕) ผูซื้อตองตกลงวาจะชําระราคาทรัพยสินน้ันใหกับผูขาย ในกรณีนี้เพียงแตตกลงวาจะชําระ ก็พอแลว ยังไมจําเปน ตอ งมีการชาํ ระกันจริง ๆ ก็ได ๒. วธิ กี ารในการทาํ สญั ญาซ้ือขาย (๑) วธิ กี ารในการทาํ สัญญาซ้อื ขายโดยปกติ คือการทผี่ ซู ้อื และผูขายตางไดแ สดงความจํานงวา ตองการซ้อื ขายทรัพยส ินสง่ิ ใดส่ิงหน่ึง ซึง่ การแสดงความจํานงน้ันอาจจะทาํ โดยปากเปลาก็ได หรือทาํ เปน ลายลกั ษณอกั ษรก็ได หรือโดยวธิ กี ารอยา งอื่นก็ได และสําหรับตวั ทรัพยส ินทจี่ ะซือ้ ขายกัน โดยวิธีนไ้ี ด คอื สังหาริมทรพั ยธรรมดา ซึง่ กค็ อื ทรพั ยส ินทีส่ ามารถจะโยกยายเคลื่อนท่จี ากที่หน่งึ ไปยังอกี ทห่ี น่ึงได เชน โทรทัศน พดั ลม โตะ เกา อี้ รถยนต ปากกา ดนิ สอ ไมบ รรทดั เปน ตน สาํ หรบั การซื้อขายทรัพยสิน ประเภทน้ี เม่อื ไมต อ งทําตามวิธีการเฉพาะอะไร ฉะนั้น เมอ่ื มีการตกลงซ้ือขายกันแลว กรรมสิทธ์ิโอนไป ทันที และการเกดิ สญั ญาซอื้ ขายยงั เปน การกอใหเ กดิ “หน้ี” ทฝ่ี า ย ผูซอื้ และผขู ายจะตองชาํ ระใหแ กก นั อกี ดวย

(๒) วิธกี ารเฉพาะที่กฎหมายกําหนดไวใหผซู ื้อผขู ายตองทํา และถาไมทําตามทกี่ ฎหมายกําหนด ไวแลว สญั ญาซ้ือขายนัน้ แมจะไดต กลงวาจะซ้อื จะขายกไ็ มอาจบงั คบั กนั ได เพราะกฎหมายถือวาเสยี เปลา หรอื เปนโมฆะ คือ ใชไ มไ ดน ั่นเอง วิธกี ารเฉพาะดังกลา วนค้ี ือ การทําเปนหนังสือและจดทะเบยี นตอพนักงานเจาหนา ที่ ซึง่ กฎหมาย กําหนดไวส าํ หรบั ทรพั ยส ินบางประเภท คือ อสงั หารมิ ทรพั ยแ ละสังหารมิ ทรพั ยชนิดพเิ ศษ ซึง่ ขออธิบาย ใหเ ขา ใจดังน้ี (ก) อสงั หาริมทรัพย หมายถงึ ทรัพยท ่เี คลือ่ นท่ีไมได ไดแก ๑) ที่ดนิ ๒) ทรัพยท ต่ี ิดกบั ทดี่ ินในลกั ษณะตรงึ ตราแนนหนาถาวร เชน บา นเรือน ตกึ แถว อาคาร ส่งิ ปลกู สรา งซ่ึงตรึงตรากบั ที่ดินอยา งถาวร ไมย นื ตน เปน ตน ๓) ทรพั ยซ งึ่ ประกอบเปนอันเดยี วกบั ท่ดี ิน เชน แมนํ้า ลําคลอง แรธ าตุ กรวด ทราย เปนตน ๔) สิทธทิ ้ังหลายอันเกี่ยวกบั กรรมสทิ ธ์ใิ นทีด่ ิน เชน ภาระจาํ ยอม สทิ ธิอาศยั สทิ ธิเก็บ กนิ และสิทธิจํานอง เปนตน (ข) สังหาริมทรพั ยชนดิ พิเศษ ไดแก ๑) เรือกาํ ปน หรือเรือมรี ะวางตงั้ แต ๖ ตนั ข้นึ ไป เรือกลไฟ หรอื เรอื ยนตมีระวางตัง้ แต ๕ ตันขน้ึ ไป ๒) แพ หมายความเฉพาะแตแ พที่เปน ท่อี ยูอ าศยั ของคน ๓) สัตวพ าหนะ หมายความถงึ สัตวท ีใ่ ชในการขับขล่ี ากเขญ็ และบรรทุก ซ่งึ สัตวเหลา นี้ ตองทาํ ตัว๋ รปู พรรณแลว ไดแ ก มา ชาง โค กระบอื สําหรับสถานที่รับจดทะเบียนตามประเภทของทรัพย คอื ๑. ทีด่ นิ (ก) ถา เปน ท่ีดินมโี ฉนด ตองไปขอจดทะเบียนตอ เจา พนักงานท่ีดนิ ณ สาํ นกั งานทีด่ นิ จังหวดั หรือ สํานกั งานท่ดี นิ สาขา (ข) ถา เปน ทดี่ นิ มหี นงั สอื สาํ คัญอยางอื่น เชน น.ส.๓ ตองไปขอจดทะเบยี นตอนายอาํ เภอ ณ ที่วาการอาํ เภอ (ค) ถาเปนการจดทะเบียนเกี่ยวกบั โรงเรือนหรือสง่ิ ปลูกสรางอยางอื่น เชน จดทะเบียนเชา อาคาร บา นเรอื น ตอ งไปขอจดทะเบียนตอ นายอาํ เภอ ณ ท่วี า การอําเภอ แตถา จดทะเบยี นโรงเรือนรวมกับทีด่ ินมี โฉนด ตองไปขอจดทะเบียนทส่ี ํานกั งานทด่ี ินจงั หวดั หรอื ถา จดทะเบยี นรวมกับทีด่ ินทม่ี ี น.ส.๓ กต็ องไปขอ จดทะเบยี น ณ สํานกั งานทด่ี นิ จังหวัดหรือสาํ นักงานที่ดนิ สาขาดวยเชน กัน

การขอจดทะเบียนสทิ ธแิ ละนติ ิกรรมตามความดังกลาว สาํ หรับทด่ี ินมโี ฉนด หรอื หนังสือรับรอง การทําประโยชน คูกรณีอาจย่ืนคาํ ขอตอพนักงานเจา หนา ท่ี ณ กรมทด่ี ิน เพอ่ื ใหพ นกั งานเจาหนา ทดี่ ังกลา ว ดาํ เนินการ จดทะเบยี นใหก็ได เวน แตการจดทะเบยี นท่ตี องมีการประกาศหรอื ตองมีการรังวัด ๒. เรือ การจดทะเบียน การเปลี่ยนใบอนุญาต และการเปลี่ยนช่ือเจาของเรือตองทําตอ นายทะเบยี น ณ กรมเจา ทา ๓. แพ ตอ งจดทะเบียนตอนายอาํ เภอ ณ ทว่ี า การอําเภอ หรอื เขต ๔. สัตวพาหนะ ตองจดทะเบียนตอนายอําเภอ หรือผูท่ีไดรบั มอบหมายจากรัฐมนตรีผูรักษาการ ณ ทีว่ า การอาํ เภอ ๓. สาระสําคัญของสญั ญาซ้ือขาย (ก) ตอ งมีการโอนกรรมสิทธใิ์ นทรพั ยสินทซี่ อ้ื ขาย ปญหาวากรรมสิทธิ์ในทรพั ยสนิ ท่ีซอ้ื ขายนน้ั โอนไปเมอ่ื ไร หลัก กรรมสิทธ์ิในทรพั ยสนิ นัน้ จะโอนไปยงั ผซู อื้ ตัง้ แตเมือ่ ไดต กลงทําสญั ญาซ้อื ขายกนั ขอยกเวน กรรมสทิ ธใิ์ นทรัพยส ินนั้นยังไมโอนไป ในกรณดี ังตอ ไปนี้ ๑) สัญญาซอ้ื ขายเสร็จเดด็ ขาดท่ีมีเงอื่ นไขหรอื เงอ่ื นเวลา ซงึ่ กรรมสิทธิ์จะโอนก็ตอ เมือ่ เกิด เงอ่ื นไขหรือถึงกําหนดเงือ่ นเวลา สําหรับสัญญาซื้อขายที่มีเงื่อนไขนั้น หมายถึง การที่ผูซื้อผูขายตกลงกันเอาเหตุการณใน อนาคตท่ี ไมแนนอนบางอยางมากําหนดไววา ถาเหตุการณนั้นเกิด กรรมสิทธิ์ก็โอน เพราะฉะน้ัน กรรมสิทธ์ิจึงยังไมโอน จนกวาเหตุการณน้ันเกิด ตัวอยางเชน จอยตกลงซ้ือเครื่องสีขาวโดยผอนใชเงินกับ ดว ง โดยมีขอ ตกลงกันวา เครอ่ื งสีขาวยังเปนของดวงอยูจนกวาจะใชเงนิ เสร็จ เชนนี้ตราบใดท่ีจอยยังไมใช เงินจนครบจาํ นวนกจ็ ะไมไ ดกรรมสทิ ธใิ์ นเครอื่ งสขี าวนัน้ สวนสัญญาซ้ือขายที่มีเง่ือนเวลาน้ัน หมายถึง การท่ีผูซื้อผูขายตกลงกันใหกรรมสิทธ์ิใน ทรัพยสินที่ ซ้ือขายน้ันโอนไปเมื่อถึงเวลาใดเวลาหน่ึง ซ่ึงไดกําหนดไว ตัวอยางเชน นายดําขายขาวให นายขาว แตตกลงกันวาใหกรรมสิทธิ์ในขาวนั้นโอนไปยังนายขาวเม่ือถึงส้ินเดือนสิงหาคม เชนน้ีตราบใดที่ ยังไมถึงสิน้ เดือนสิงหาคม กรรมสิทธ์ใิ นขาวน้นั ก็ยงั ไมโอนไปยังนายขาว ๒) สญั ญาซ้ือขายทรัพยท ่ียังไมเปนทรัพยเฉพาะส่งิ หมายถงึ สัญญาซื้อขายทรัพยส ินทย่ี ัง ไมไดกําหนดประเภทหรอื จํานวนไวแนนอนวาอันไหน ส่ิงไหน ตัวไหน ในกรณีเชนนี้กรรมสิทธจิ์ ะโอนก็ ตอเมื่อไดทําใหเปนทรัพยเฉพาะสิ่งแลว โดยการนับ ชั่ง ตวง วัด หรือคัดเลือกทรัพย เพ่ือใหเกิดความ แนนอนวา ชิ้นไหน อันไหน ตัวไหน หรือจํานวนไหน ตวั อยางเชน ตกลงซ้ือมะพราว ๕๐ ลกู ซ่ึงรวมอยู ในกองใหญ กรรมสิทธ์ยิ ังไมโอนจนกวาจะเลือกมะพรา ว ๕๐ ลกู นน้ั ออกมาจากกองกอ น ๓) สัญญาซ้ือขายทรัพยเฉพาะสิ่งท่ียังตองดําเนินการบางอยางเพื่อใหรูราคาแนนอน ใน กรณีนี้กรรมสิทธิ์ยังไมโอนไปจนกวาจะไดมีการกระทํา เพ่ือใหรูราคานั้นกอน ตัวอยางเชน ซื้อมะพราว

ทัง้ กองในราคาลูกละ ๑ บาท ความจริงมะพราวท้งั กองนั้นก็เปน ทรพั ยเฉพาะสิ่งแลว เพียงแตยงั ไมทราบวา มะพราวทั้งกองน้ัน มีก่ีลูกเพ่ือที่จะคํานวณราคาเทาน้ัน เพราะฉะน้ันจะตองรูกอนวามะพราวกองนั้นมีก่ีลูก กรรมสิทธจ์ิ งึ จะโอน ๔) การซื้อขายอสังหาริมทรัพยหรือสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษกรรมสิทธิ์จะโอนก็ตอเม่ือมี การทําเปนหนงั สอื และจดทะเบยี นตอ พนักงานเจา หนา ทเี่ รยี บรอ ยแลว (ข) ตองมีการตกลงวาจะชําระราคา เพียงแตตกลงกันวาจะชําระราคาก็เปนการเพียงพอแลว ยงั ไมตอ งชาํ ระราคากนั ทนั ที จะตกลงชําระกนั ในภายหลงั หลังจากท่ีสัญญาเกิดขึ้นแลว กไ็ ด (ค) บุคคลท่ีมีสิทธิทําสัญญา ดังไดกลาวมาในตอนแรกแลววาทั้งผูซื้อและผูขายจะตองเปนคน บรรลุ นิติภาวะ คืออายุ ๒๐ ปบริบรู ณ หรือบรรลุนติ ิภาวะโดยการสมรส ถา ท้ังชายและหญงิ ตา งมีอายุ ๑๗ ปบริบูรณแลว อยางไรก็ตาม เหตุการณที่เราพบกันอยูในชีวิตประจําวัน จะเห็นวาผูเยาวหรือคนที่ยังไมบรรลุ นิติภาวะตางก็ไปทําสัญญาซ้ือขายตาง ๆ มากมาย เชน ซ้ือสมุด ดินสอ ยางลบ หรืออาหารกลางวันรับ ประทานที่โรงเรียนตรงน้ีปญหาวา เขาจะทําไดหรือไม คําตอบอยูในบทยกเวนในเรื่องการทํานิติกรรมของผูเยาว ซึ่งในกรณีเหลานี้ถือวาสามารถท่ีจะทําได เพราะเปนการกระทําที่สมแกฐานานุรูปและจําเปนแกการดํารงชีพ ดว ย สําหรับผูซ้ือนั้น เม่ือมีคุณสมบัติที่กลาวขา งตน ก็พอเพียงที่จะเปนผูซื้อแลว สําหรับผูข ายนนั้ เพียง แตบรรลุนิติภาวะอยางเดียวยังไมพอ ยังตองเปนผูมีสิทธิท่ีจะขายทรัพยสินนั้น เพื่อท่ีผูซื้อจะไดกรรมสิทธ์ิโดย สมบรู ณไดอ กี ดวย สาํ หรับผูท่ถี อื วา “มสี ทิ ธิทจ่ี ะขายทรพั ยส นิ ” น้นั ไดแก ๑) เจาของกรรมสิทธ์ิ หมายถึง ผูท่ีเปนเจาของทรัพยสินที่จะขายน่ันเอง ซ่ึงตามหลักกฎหมาย แลว ผูที่เปนเจาของกรรมสิทธ์ิยอมมีอํานาจในการจําหนายจายโอนทรัพยสินของตน ซึ่งคําวา “จําหนาย” ในที่ นี้หมายถึง การโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยสินนั้นไมวาโดยการกระทําใด ๆ ก็ตาม เพราะฉะน้ันในเวลาท่ีจะทําสัญญา ซ้ือขาย ผูซื้อก็จะตองมีความระมัดระวังพิจารณาดูใหดีวาผูขายเปนเจาของกรรมสิทธ์ิหรือไม เพราะถาไมเปน หากผูซื้อทําการซื้อไปก็จะไมไดกรรมสิทธิ์ ตามหลักเร่ือง “ผูรับโอนไมมีสิทธิดีกวาผูโอน” เพราะถาผูโอนหรือ ผูขายในกรณีน้ีไมมีกรรมสิทธ์ิ ผูรับโอนหรือผูซ้ือก็ยอมไมมีกรรมสิทธ์ิไปดวย ตัวอยางเชน นายแดงซ้ือเรือมาด จากนายดําซึ่งเปนเรือมาดที่นายดําขโมยนายขาวมา เมื่อนายดําไมมีกรรมสิทธิ์ ไปขายใหนายแดง นายแดงก็ไมได กรรมสทิ ธไิ์ ปดว ย เพราะเจา ของกรรมสิทธ์ิท่แี ทจ รงิ ของเรอื มาดลําน้ีคือนายขาว ๒) บคุ คลอื่นซึ่งมสี ทิ ธิขายไดต ามกฎหมาย เชน ๒.๑) ผูจัดการมรดก ซ่ึงมีหนาท่ีตามกฎหมายท่ีจะรวบรวมทรัพยสินของเจามรดกผูตาย เพือ่ ชําระหน้ี และแบง ปนใหแกท ายาท ๒.๒) ผูใชอํานาจปกครอง ซ่ึงมีสิทธิขายอสังหาริมทรัพยของผูอยูใตอํานาจปกครอง เชน ของผเู ยาว แตจะขายไดก็ตอเมื่อไดร บั อนุญาตจากศาลแลว ๒.๓) เจาพนักงานขายทอดตลาดบังคับคดี มีสิทธิขายทอดตลาดทรัพยสินของลูกหนี้ ตามคาํ สง่ั ศาล

๒.๔) เจาพนักงานพิทักษทรัพย มีอํานาจจัดการทรัพยสินของลูกหนี้ผูที่ถูกศาล พิพากษาใหลมละลาย และมอี าํ นาจขายทรัพยส นิ ของลกู หนีผ้ ทู ถี่ ูกศาลพพิ ากษาใหล มละลายได ๔. หนา ทแ่ี ละความรับผิดของผูขาย เมอ่ื สญั ญาซอื้ ขายเกิดข้ึนแลว กลา วคือเมือ่ มกี ารแสดงเจตนาที่ประสงคต อ งตรงกนั ระหวางผูซอื้ กบั ผูข าย (ทีบ่ รรลนุ ิตภิ าวะแลว) ในทรพั ยสง่ิ ใดส่งิ หนงึ่ เพอ่ื ทีผ่ ซู ้อื จะไดไปซ่งึ กรรมสิทธ์ิในทรัพยแ ละเพ่อื ที่ผูขาย จะไดร ับราคาของทรัพยน ั้น ดังน้ี เราเรยี กวา สญั ญาไดเ กดิ ข้นึ แลว และผขู ายกม็ ี “หนี้” หรอื “หนา ที”่ ทจี่ ะ ตองปฏิบัติตามสัญญาซอ้ื ขายตอไป ถา ผูขายบิดพลิ้ว ไมยอมปฏบิ ตั ิตามนนั้ ยอมกอใหเ กิด “ความรบั ผิด” ตามมา สาํ หรบั “หน”ี้ หรอื “หนา ท”่ี ของผูขายน้ัน ไดแก (๑) การสงมอบ ผขู ายตองสง มอบทรพั ยส นิ ท่ขี ายใหแกผ ซู อ้ื ดวยความสมัครใจ ซง่ึ จะสง มอบดวยวธิ ี การใดๆ กไ็ ด ขอเพยี งใหทรัพยสินนนั้ เขาไปอยูใ นเงอ้ื มมือของผูซ อื้ กพ็ อแลว เชน การสงมอบหนงั สอื อาจใช วิธยี นื่ ใหการสงมอบรถยนต อาจใชวิธสี ง มอบกญุ แจกไ็ ด แตท สี่ ําคัญคือวา จะตองสงมอบภายในเวลาและ ณ สถาน ที่ท่ีตกลงกนั ไว ถาไมมกี ารตกลงกนั และทรพั ยท ซ่ี ้ือขายนั้นเปน ทรัพยเ ฉพาะส่งิ แลว ตามกฎหมายผูขายตอ ง สง มอบ ณ สถานทีท่ ีท่ รพั ยนัน้ อยใู นเวลาที่ทําสัญญาซ้อื ขาย แตถ า ไมใชท รพั ยเฉพาะสิ่ง ตองสง มอบ ณ ภูมิลําเนาปจ จบุ นั ของผูซอ้ื ผขู ายตอ งสง มอบทรัพยสินตามจํานวนท่ีตกลงกนั ไวไ มม ากเกนิ ไป หรอื ไมน อยเกนิ ไป และตอ ง ไมน าํ ทรพั ยอืน่ มาปะปนดว ย เพราะถา สงมอบนอ ยเกินไปสาํ หรบั สงั หารมิ ทรัพย ผซู ื้อมีทางเลือก ๒ ทาง คอื (ก) ไมร ับมอบไวเ ลย หรอื (ข) รับมอบไว แตใ ชร าคานอยลงตามสวนของทรัพยส นิ ท่ีสงมอบ แต ถา สงมอบมากเกินไปสําหรบั สงั หารมิ ทรพั ย ผูซ ื้อมีทางเลือก ๓ ทางคือ (ก) อาจจะรบั ไวเฉพาะตาม จํานวนที่ตกลงกนั ในสญั ญา และสว นทีเ่ กินก็ไมรบั เลยได (ข) ไมรับทัง้ หมดเลย หรือ (ค) รับไวท ั้งหมด แตต องใชราคาสําหรับสว นท่ีรบั เกนิ ไวด ว ย สวนกรณีทผี่ ขู ายสง มอบทรพั ยส นิ ตามสญั ญาปะปนกบั ทรพั ยสิน อืน่ ๆ มาดวย ผูซอ้ื มที างเลือก ๒ ทางคือ (ก) รบั มอบเฉพาะทรัพยสนิ ตามที่ตกลงในสัญญา และไมรบั มอบ ทรพั ยส นิ สวนทปี่ ะปนมา หรือ (ข) ไมรับมอบไวเ ลยไมว า สว นท่ีเปนไปตามสญั ญาหรือสวนท่ีปน เขามา ก็ตาม แตถา การสงมอบทรพั ยสินทม่ี ากเกินไปหรอื นอยเกนิ ไปนั้นเปน อสงั หารมิ ทรพั ย ผซู อ้ื มที างเลอื ก ๒ ทางคอื (๑) รบั มอบเฉพาะทรัพยต ามจาํ นวนทีส่ ัญญากนั ไว แลว ใชราคาตามจาํ นวนทร่ี บั ไวจรงิ หรือ (๒) ไมร ับมอบไวเ สียเลย (๒) ผูข ายตองสง มอบทรพั ยส ินท่ไี มชาํ รดุ บกพรอ ง ซง่ึ ความชํารุดบกพรองในทน่ี หี้ มายถงึ ลักษณะทท่ี รพั ยสนิ ทซี่ ื้อขายในตวั ของมนั เองมีความชํารุดหรือมีความบกพรอ งอยูจนเปน เหตใุ หทรัพยน ้ัน ราคาตก หรือไมเ หมาะแกการใชป ระโยชนตามปกติหรอื ตามสภาพของทรพั ยสินน้นั และความชาํ รดุ หรือ ความบกพรองนีจ้ ะตองมีอยูกอนหรอื ในเวลาท่ที าํ สญั ญาซื้อขายเทา น้ัน ตัวอยางเชน นายเขยี วซ้ือแจกนั จาก นายเหลอื งหนึง่ ใบในราคา ๕๐ บาท ปรากฏวากอนสง มอบหรือขณะสง มอบน้นั แจกนั เกดิ รา วขึ้นมา

นายเหลืองผูขายกจ็ ะตองรับผิดไมวา จะรหู รือไมรูว า มีความชาํ รุดบกพรองอยกู ต็ าม ยิ่งถา รหู รอื เปน คนทาํ ให ทรัพยส นิ ทีซ่ อ้ื ขายนน้ั ชาํ รุดบกพรองเองดวยแลวยิง่ ตองรบั ผิดเลยทีเดยี ว อยา งไรกต็ าม ในบางกรณีแมทรพั ยสนิ ทซ่ี ื้อขายน้นั จะชํารุดบกพรอ งมากอ น หรือในขณะทซ่ี ้ือ ขายกัน ผูข ายอาจจะไมต อ งรบั ผิด ในกรณี ๑) ถา ผูซ ื้อไดร ูอยูแลวในเวลาซ้อื ขายวามีความชํารุดบกพรองหรือควรจะไดร ู ถา เขาใช ความระมัดระวงั ตามปกติ ตัวอยางเชน ผซู ือ้ เห็นทเุ รียนเนาอยูแลวในเวลาซอ้ื ขาย หรอื ผขู ายเจาะไวใหด ู ควรจะดู กไ็ มด ู กลบั ซ้อื ไป ผขู ายก็ไมตองรบั ผิด ๒) ถา ความชํารดุ บกพรองนนั้ ไดเห็นอยูแ ลวในเวลาสง มอบและผซู อ้ื รบั ไวโ ดยมิไดทกั ทวงประการใด ๓) ถาผซู ือ้ ทรัพยส ินนัน้ จากการขายทอดตลาด เพราะในการขายทอดตลาดนั้นเปน การ ขายท่เี ปดเผยตอ สาธารณะ ผูซอื้ นา จะไดมโี อกาสตรวจสอบกอ นแลว ๔) ทั้งผูซอ้ื และผขู ายไดตกลงกนั ไววา ผูขายไมตอ งรับผดิ ในความชํารุดบกพรอ งของ ทรัพยสนิ ทีซ่ ้ือขาย (๓) ผูขายมีหนาทต่ี อ งสง มอบทรัพยส ินทปี่ ลอดจากการถูกรอนสทิ ธิ กลา วคือเม่อื ผูขายสง มอบ ทรพั ยส นิ ท่ีซือ้ ขายไปแลว ผซู ื้อจะตอ งไมถูกคนอ่นื มารบกวนขดั สิทธใิ นการครองทรพั ยสินน้ันโดยปกตสิ ขุ ตวั อยางเชน นายแดงซื้อเรอื มาดจากนายดํา ตอ มานายขาวอางวาตนเปน เจา ของเรอื มาดทแ่ี ทจรงิ เพราะนายดํา ไดขโมยเรอื มาดของตนไป ดงั น้ี ถอื วา เปนกรณที ีบ่ ุคคลภายนอกเขามาอางวาตนมีสิทธดิ ีกวาผซู ้ือ เทากับผูซ ้ือ คือนายแดงถกู รอนสิทธแิ ลว อยางไรกต็ าม มีบางกรณที ผี่ ขู ายไมต อ งรับผดิ เม่ือผูซอ้ื ถกู รอนสิทธิ คือ ๑) ผซู ้อื รูอ ยูแลวในเวลาซอ้ื ขายวา บุคคลภายนอกมสี ิทธิดีกวา เทา กับสมัครใจยอมรับผลท่ีจะ เกิดตามมา ๒) ถา การรอนสทิ ธิเกดิ จากความผดิ ของผูซอื้ เอง ในกรณีดงั ตอไปน้ี ๒.๑) เมอ่ื ไมม กี ารฟอ งคดีและผูข ายพิสูจนไดวาสิทธขิ องผซู อื้ ไดสญู ไปเพราะผูซือ้ เอง ตัวอยา งเชน ผอมซอ้ื ของมาจากอวน ตอ มาโองมาบอกวา ของนัน้ เปนของโอง ผอมกเ็ ช่ือและใหข องนนั้ แกโอง ไปโดยไมถามอว น เชน นีอ้ ว นไมตองรับผิด ๒.๒) เมอื่ มกี ารฟองคดี และผูซอ้ื ไมไดเรียกผขู ายเขามาในคดี ทง้ั ผขู ายยังพสิ ูจนไ ด วาถา ไดเ รยี ก เขามาในคดี คดฝี ายผซู ือ้ จะชนะดังนี้ ผขู ายก็ไมต องรับผดิ ๒.๓) เมื่อมกี ารฟอ งคดี และผูขายไดเขา มาในคดแี ลว แตศาลยกคํารอ งเพราะความ ผิดของผซู อ้ื เอง เชน ผูซอ้ื ขาดนดั (ไมมาศาลตามเวลาทศ่ี าลนัดไว) หรอื ไมนําพยานมาสืบ ๓) มีขอตกลงในสัญญาวาผขู ายไมต อ งรบั ผิดในการรอนสทิ ธิ แตข อ ตกลงไมใ หผ ูข ายตอง รบั ผิดน้ี ไมคุมครองผขู าย ถาการรอนสิทธเิ กดิ เพราะความผิดของผูข ายเอง หรอื ผขู ายรอู ยแู ลววา มีการรอนสทิ ธิ แตปกปดเสยี

๕. สทิ ธิของผซู ้อื เม่ือกลาวถงึ “หน้”ี หรือ “หนาที”่ ของผูขายแลว ยอ มตอ งมีสทิ ธขิ องผูซือ้ อยูดวยซ่ึงไดแก (๑) สทิ ธทิ ่ีจะไดตรวจตราดูทรพั ยสินทผี่ ขู ายสงมอบ (๒) สทิ ธทิ จี่ ะไมร บั มอบทรัพยส นิ จากผขู าย เมื่อผูข ายสงมอบทรัพยสนิ นัน้ นอ ยเกนิ ไป (ขาดตก บกพรอ ง) กวาทีไ่ ดต กลงกัน หรอื มากเกินไป (ลาํ้ จํานวน) กวาทีไ่ ดตกลงกัน (๓) สิทธิทจ่ี ะเรยี กใหผขู ายปฏิบตั ิการชาํ ระหนห้ี รอื ปฏบิ ตั กิ ารชําระหนใี้ หถ ูกตอ งตรงตามท่ีไดต ก ลงกันไว (๔) สทิ ธิทจ่ี ะยดึ หนว งราคา ในกรณดี ังตอ ไปนี้ (ก) ผซู ือ้ พบเห็นความชาํ รุดบกพรอ งในทรพั ยส นิ ท่ีซื้อ ผซู ือ้ มีสทิ ธิท่จี ะไมช ําระราคา จน กวา ผูขายจะหาประกันอนั สมควรให (ข) ผซู ้อื ถกู ผรู ับจาํ นองหรือคนที่จะเรยี กรอ งเอาทรัพยสนิ ท่ีขายนน้ั ขูวา จะฟองเปน คดหี รอื มี สาเหตทุ เ่ี ช่ือไดวา จะถกู ขู ผซู ้อื จะชําระราคาใหตอเมื่อผขู ายหาประกันให หรอื ตอ เม่ือผูขายไดแกไขใหเปนท่ี เรียบรอยแลว (ค) เมือ่ ผูข ายผิดนัดไมส งมอบทรพั ยส นิ ท่ีขายให ผซู อื้ ก็จะยงั ไมช าํ ระราคาจนกวา ผขู ายจะ จดั การสง มอบทรัพยส ินทีข่ ายให (๕) สทิ ธิในการไดรับการชดใชคาสินไหมทดแทนความเสียหายเมื่อผขู ายปฏบิ ัติการชาํ ระหน้ไี ม ถูกตอ ง เชน สง มอบทรัพยท ีช่ ํารุดบกพรอ ง หรอื ทรัพยทบ่ี คุ คลอ่นื มสี ทิ ธิเหนือทรพั ยน นั้ ดกี วาผซู อื้ (ถกู รอนสิทธิ) (๖) สิทธิในการเลกิ สัญญาและเรียกคาเสียหายไดอ ีก ตามหลกั ทวั่ ไป ๖. หนาท่แี ละความรบั ผิดของผซู อ้ื ผูซ้ือมี “หนี้” หรอื “หนาท”ี่ ทเี่ กิดจากสญั ญาซือ้ ขายเชน เดียวกับผูขาย ซง่ึ ถา ผซู อ้ื ไมป ฏิบัติตาม “หน้”ี หรอื “หนาท่ี” ดงั กลา วแลว ยอ มกอใหเ กิด “ความรับผิด” ตามมาในทาํ นองเดยี วกัน สาํ หรบั หนาทหี่ ลกั ของผูซ ื้อ ไดแ ก (๑) หนาท่ีในการรบั มอบทรพั ยส ินท่ีซ้อื ขายตามเวลา ตามสถานท่ีและดว ยวิธีการตามทตี่ กลงกนั ในสัญญา ซ้ือขาย เวน แตผ ซู อ้ื จะมสี ทิ ธบิ อกปดในกรณที ่ีเปนสังหารมิ ทรพั ยเมื่อผขู ายสงมอบทรพั ยสนิ ใหมาก เกินไป หรอื นอ ยเกนิ ไปกวา ท่ไี ดตกลงกัน หรือผขู ายสงมอบทรัพยสนิ ตามท่ีตกลงกนั ปะปนกับทรพั ยส ินอยาง อ่นื หรือในกรณีทเ่ี ปน อสงั หาริมทรพั ย ผูข ายสง มอบอสงั หาริมทรพั ยนนั้ มากเกนิ ไปหรือนอยเกินไปจากที่ได ตกลงกนั ไว (๒) หนาทใ่ี นการชาํ ระราคาทรัพยส ินทซ่ี ้ือขายตามราคาที่กําหนดไวในสญั ญา หรอื ตามทางการท่ี คูสญั ญา เคยประพฤติปฏบิ ตั ิตอ กัน แตถา ไมไ ดก าํ หนดราคาไวเ ปน ทีแ่ นนอน ผซู ้อื ก็ตองชาํ ระราคาตามสมควร

และการชําระราคาก็ตอ งชาํ ระภายในเวลาทีก่ าํ หนดตามสัญญาดวย แตถ า หากไมไ ดกาํ หนดเวลาไว ใหชาํ ระ ราคาในเวลาเดยี วกับเวลาท่สี งมอบทรัพยสนิ ที่ซ้ือขายนั้น (๓) หนาท่ีในการชําระคาธรรมเนียมในการซื้อขาย หากตกลงกันไวใ นสญั ญาวาใหผ ูซ อื้ ชาํ ระคน เดยี วท้ังหมด แตถา ไมไดต กลงกนั ไว ผซู อื้ กม็ หี นาทตี่ อ งชาํ ระคาธรรมเนยี มครง่ึ หนงึ่ ๗. สิทธขิ องผขู าย เมื่อกลาวถงึ “หน้”ี หรือ “หนาที่” ของผซู ้ือแลว ยอมตอ งมสี ทิ ธิของผูขายเคียงคมู าดว ย ซงึ่ ได แก (๑) สิทธิท่จี ะยึดหนว งทรัพยส ินน้นั ไวจนกวา จะไดรับการชาํ ระราคาจากผซู อื้ ซึง่ การยดึ หนวงจะมี ไดกต็ อเมอ่ื ทรัพยส ินทีซ่ อ้ื ขายนัน้ ยงั อยูใ นความครอบครองของผขู ายเทาน้ัน (๒) สิทธทิ ีจ่ ะยึดหนว งทรพั ยส นิ นนั้ ไว ในกรณีที่ผูซ ื้อกลายเปน คนลม ละลายภายหลังการซื้อขาย แต กอนการสงมอบทรพั ยส นิ หรอื ในกรณีทผี่ ูซ้ือลม ละลายอยแู ลวในเวลาทท่ี ําการซอ้ื ขายโดยที่ผูขายไมรูถ งึ การลม ละลายนนั้ หรอื ผูซื้อทําใหหลกั ทรัพยท่ใี หไวเ ปนประกัน การชาํ ระราคานนั้ เสือ่ มเสีย หรือลดนอยถอยลง เชน นายแสดซอ้ื ตูจากนายสมในวันท่ี ๑ มนี าคม ๒๕๓๖ กําหนดสง ตูก นั ในวนั ท่ี ๑๕ มีนาคม ๒๕๓๖ ชาํ ระราคา วนั ท่ี ๑๘ มีนาคม ๒๕๓๖ ตอมาในวนั ท่ี ๗ มีนาคม ๒๕๓๖ นายแสดถกู ศาลสั่งใหเปน คนลมละลาย ดังน้ีนาย สมไมต องสง ตูใหนายแสดในวนั ที่ ๑๕ มนี าคม ๒๕๓๖ (๓) สิทธิท่จี ะเรียกใหผ ูซอ้ื ชําระหนี้ ซึง่ ถา ผูซ้อื ไมชําระ ผขู ายอาจนําทรัพยส นิ ทยี่ ดึ หนว งไวออกขาย ทอดตลาด กไ็ ด (๔) สิทธใิ นการรบิ มัดจาํ (ถา ไดม กี ารใหม ดั จํากันไว) และเรียกคา เสยี หาย (๕) สิทธใิ นการเลิกสญั ญา และเรียกคาเสยี หายไดอ กี ๘. อายุความในการฟองรอ ง เมอ่ื ผขู ายปฏิบัตกิ ารชําระหนี้ หรอื ปฏิบัตหิ นา ทต่ี ามสัญญาซ้อื ขายไมถูกตอง ผูซอื้ มสี ทิ ธทิ จี่ ะฟองรอง ตอ ศาลภายในอายคุ วามตามกรณี ดงั ตอ ไปนี้ (๑) ในกรณที ผ่ี ขู ายสงมอบทรพั ยสนิ ใหม ากเกินไปหรอื นอยเกนิ ไปกวา ทตี่ กลงกนั ในสญั ญา ผูซอ้ื จะ ตอ งฟองรองภายใน ๑ ป นับแตเวลาท่ีสงมอบทรัพยสิน (๒) ในกรณที ี่ผูขายสงมอบทรพั ยส ินทีช่ ํารุดบกพรอง ผซู ื้อจะตองฟอ งรอ งภายใน ๑ ป นบั แตเวลาท่ี พบเห็นความชาํ รดุ บกพรอ งน้นั เชน นายดาํ ทําสัญญาซ้อื โทรทศั นจ ากนายเหลอื ง โดยสง มอบโทรทศั นกัน ใน วนั ท่ี ๕ เมษายน ๒๕๓๖ และนายดํากร็ ับมอบไวแ ลว ตอ มาวนั ท่ี ๒๐ เมษายน ๒๕๓๖ จงึ พาชา งมาตรวจสอบดู ปรากฏวา หลอดภาพเสียใชไมได ดังน้ี นายดาํ ก็ตอ งฟองคดี เพ่ือความชาํ รดุ บกพรองภายในวนั ที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๓๗ การทไี่ ปตอ วา ทวงถามเรียกคา เสยี หายจากผขู ายไมใ ชก ารฟอ งคดี

(๓) ในกรณีท่ีมกี ารรอนสทิ ธิ ผูซ ือ้ ตอ งฟองรอ งภายใน ๓ เดือน นับแตคาํ พิพากษาเดมิ ถึงทส่ี ดุ หรอื นับตงั้ แตว ันท่มี ขี อ ตกลงยอมความกนั หรือวนั ท่ยี อมตามบคุ คลภายนอก คาํ วา “คดเี ดมิ ” หมายถงึ คดที ี่เปน ความกนั ระหวางผูซอื้ กับบุคคลภายนอก โดยทผี่ ูซ ือ้ ไมไดเ รยี ก ผขู ายเขา มาเปน โจทกรวมกบั ตนในคดีน้ันดว ย ดังกลาวมาแลว ตัวอยา ง (ก) ผูซ ้อื ถกู บุคคลภายนอกซงึ่ เปนเจา ของท่แี ทจรงิ ฟองเรยี กทรพั ยสินคนื ผูซ ้อื ไมได เรยี กผขู ายเขา มาในคดี ศาลพิพากษาใหผูซ ือ้ แพคดี คดถี ึงที่สุดเม่อื ใดผูซอื้ ตองฟองผขู ายภายใน ๓ เดอื น (ข) ผูซ ้อื ซึ่งถกู เจาของท่แี ทจ ริงฟอ งเรียกทรพั ยส นิ คนื ผูซ ้ือทาํ สัญญาประนีประนอม ยอมความสง ทรพั ยส นิ คนื เชน น้ี ผซู ้อื ตองฟอ งผขู ายภายใน ๓ เดอื น นบั แตวันประนปี ระนอมยอมความ (ค) ผซู ื้อถูกเจาของทรัพยส ินเรยี กรอ ง โดยอา งวามีคนรายลกั ทรัพยน ้ันมาแลว ก็โอน ให ผูซ ้อื ผซู อ้ื จงึ ยอมโอนทรัพยสนิ น้นั ให ก็ตองฟองคดภี ายใน ๓ เดือน นบั แตว ันทย่ี อมตามขอ เรยี กรอ งของ เจาของทแี่ ทจ ริง

ฉ. ขายฝาก ๑. ความหมาย สัญญาขายฝากเปน สัญญาซอ้ื ขายซึ่งสทิ ธิแหง ความเปนเจาของในทรัพยส ินตกไปยังผซู ้ือ โดยผซู ือ้ ตกลงในขณะทาํ สญั ญาวาผขู ายมีสทิ ธไิ ถท รัพยส นิ นนั้ คืนไดภายในกาํ หนดเวลาเทา ใด แตต องไมเกนิ เวลาท่ี กฎหมายกําหนดไว เชน ขายทีด่ นิ โดยมีขอตกลงวา ถาผูขายตอ งการซื้อคนื ผซู ้อื จะยอมขายคืน เชน นถี้ อื วา เปน ขอตกลงใหไถค นื ได ตวั อยาง นายสีนําสวนทุเรียนไปขายกบั ผใู หญผ ิน โดยมีขอตกลงในขณะทาํ สญั ญาวา ผูใ หญผนิ ยนิ ยอมใหน ายสไี ถท ส่ี วนทุเรยี นนัน้ คนื ไดภายในกาํ หนด ๑ ป นับแตว นั ทซี่ ้ือขายทส่ี วนกัน สัญญาชนิดน้ี เรียกวา สญั ญาขายฝาก ขอ ตกลงทีว่ า “ผูข ายอาจไถท รัพยค ืนได” ขอ ตกลงนีจ้ ะตอ งมขี ้นึ ในขณะท่ีทําสญั ญาซอ้ื ขายกัน เทานั้น ถาทาํ ขึ้นภายหลงั จากทีไ่ ดท ําสัญญาซอ้ื ขายกนั แลว สัญญาดงั กลา วไมใชสญั ญาขายฝาก แตเปนเพยี ง คํามนั่ วาจะขายคนื เทานั้น ๒. ทรพั ยส นิ ทส่ี ามารถขายฝากได ทรัพยส ินทุกชนิดไมว า จะเปนประเภทใดกต็ าม เชน ท่ดี ิน ทีส่ วน ไรน า บา น รถยนต เรอื เกวยี น โทรทัศน ฯลฯ ยอมสามารถขายฝากไดเ สมอ ๓. แบบของสญั ญาขายฝาก (๑) ถาเปนการขายฝากอสังหาริมทรัพย (คือ ทรัพยท ่ีเคลื่อนทไี่ มได) เชน ท่ดี ิน ทน่ี า บาน ฯลฯ ตอ งทาํ เปน หนังสอื และจดทะเบยี นตอ พนักงานเจาหนา ท่ี ในกรณที ี่เปน ท่ีดินตองจดทะเบียนตอเจา พนกั งาน ทด่ี ิน ถา เปน บา นก็จดทะเบยี นตอทว่ี า การอําเภอท่ีบานนัน้ ตั้งอยู ถา ไมทําตามนีแ้ ลวถอื วาสญั ญาขาย ฝากนเี้ สียเปลาเปน อันใชไ มไ ด เทากับวา ไมไ ดท ําสัญญากนั เลย ตวั อยา ง นายทเุ รยี นตอ งการขายฝากทด่ี นิ ๑ แปลงแกน ายสม โอ กต็ องทาํ สญั ญาขายฝากทด่ี ินและ จดทะเบยี นการขายฝากท่ดี นิ น้ีตอเจา พนักงานทีด่ นิ ถา ไมท าํ เชนน้ีแลว ถือวา สัญญาขายฝากรายน้เี สยี เปลา ใช ไมไ ดม าแตแรก (๒) ถาเปน การขายฝากสังหาริมทรพั ยช นิดพเิ ศษ (คือ ทรพั ยเ คลอ่ื นทีไ่ ด ซง่ึ กฎหมายกาํ หนดไว เปนพเิ ศษวาจะตอ งทาํ เปนหนงั สอื และจดทะเบยี นตอ เจาหนา ที่) เชน แพ เรอื ยนต สัตวพาหนะ ฯลฯ ตอ งทาํ เปน หนงั สอื และจดทะเบียนทอ่ี าํ เภอ ถา ไมทําตามน้แี ลวถือวา สญั ญาขายฝากจะเสียเปลา ใชบังคบั ไมไ ดเลย (๓) ถาเปนการขายฝากสงั หาริมทรัพยชนดิ ธรรมดา (คอื ทรัพยที่เคลอื่ นที่ไดแตกฎหมายไดกําหนด ไวว าตองทาํ เปน หนงั สอื และจดทะเบียนตอ พนักงานเจา หนา ท่)ี ทมี่ รี าคาตั้งแต ๕๐๐ บาทขน้ึ ไป เชน รถยนต

ตเู ยน็ แหวน สรอย นาฬกิ า โทรทศั น ฯลฯ การขายฝากชนิดน้ีตองมหี ลกั ฐานเปนหนงั สอื ลงลายมือชอ่ื ฝา ยท่ี ตองรับผดิ เปนสําคญั หรอื ตองมีการวางมดั จาํ หรอื จาํ ตอ งมกี ารชาํ ระหนบ้ี างสว น อยา งใดอยา งหนง่ึ กไ็ ด ถา ไมทํา ตามนี้แลว กฎหมายถือวา สัญญาขายฝากรายนต้ี อ งหามมใิ หม ีการฟองบังคบั คดี ๔. ขอตกลงไมใ หผ ซู ื้อฝากจําหนา ยทรัพยสนิ ท่ขี ายฝาก ในการตกลงฝากคสู ัญญาจะตกลงกันไมใ หผ ูซื้อฝากจําหนา ยทรัพยส ินทขี่ ายฝากกไ็ ด แตถา ผซู อ้ื ฝากฝา ฝน ขอ ตกลงทก่ี าํ หนดในสัญญา โดยนําทรพั ยส ินท่ีขายฝากไปจําหนายใหผ ูอนื่ ผูซอื้ ฝากจะตอง รับผดิ ชดใชค วามเสยี หาย ใดๆ ทเี่ กิดข้ึนแกผ ขู ายฝาก ตวั อยา ง นางดํา นําแหวนแตง งานของตนซ่งึ มรี าคา ๗๐,๐๐๐ บาท ไปขายฝากตอ เถาแกเ ฮงใน ราคา ๕๐,๐๐๐ บาท โดยในสัญญาตกลงวา “หา มเถาแกเฮงนําแหวนไปขายใหแกบ คุ คลอ่นื ” ตอมาเถาแก เฮงนําแหวนไปขายใหแ กน างจวิ๋ โดยนางจว๋ิ ไมท ราบวา แหวนนีเ้ ปนของผูใด เปนเหตุใหนางดําไมสามารถ ตดิ ตามเอาแหวนคืนได เชนนี้ เถา แกเฮงตอ งชดใชคา เสยี หายอนั เปนราคาแหวน ๒๐,๐๐๐ บาท ใหแ ก นางดํา ๕. กําหนดเวลาในการไถทรพั ยสินคนื (๑) ถา เปนการขายฝากอสังหารมิ ทรพั ย ตอ งกาํ หนดเวลาในการใชสทิ ธิไถค ืนไมเกนิ ๑๐ ป นบั แตวนั ท่ีมี การซื้อขายฝากกัน แตถ าไมไ ดกาํ หนดเวลาในการไถเ อาไว หรือกําหนดเวลาไวเกนิ กวา ๑๐ ป กฎหมายใหล ดเวลาลงเหลือแค ๑๐ ปเทา นน้ั (๒) ถาเปนสงั หาริมทรัพยช นดิ พเิ ศษและชนิดธรรมดา ตอ งกาํ หนดเวลาไถคนื ไมเกิน ๓ ป นับแตว นั ท่ีมีการซ้อื ขายฝากกนั แตถา ไมไดก าํ หนดเวลาในการไถค นื เอาไว หรือกําหนดเวลาไวเ กินกวา ๓ ป ใหลดเวลาลงเหลือ ๓ ป เทา นั้น กฎหมายกาํ หนดไวว า “หา มมใิ หมกี ารขยายเวลาไถถอนออกไป” (คอื การท่ีคกู รณีท้ัง ๒ ฝาย ตกลงกัน เลื่อนกาํ หนดเวลาในการไถท รัพยส นิ คืนออกไปจากระยะเวลาเดิม) ถา คูกรณีตกลงใหมีการขยาย เวลาไถอ อกไป กฎหมายใหถ อื วา ขอ ตกลงนม้ี ผี ลเสยี เปลา ใชบงั คบั ไมไ ด ตวั อยาง นายแขก ทาํ สญั ญาขายฝากควาย ชอื่ วา เผอื ก ตอมานายไข กําหนดเวลาในการใชส ทิ ธิ ไถไ ว ๖ เดอื น เม่อื ถึงกําหนดไถ นายแขกยังหาเงินมาไมไ ดจงึ ไปตกลงกบั นายไขวา “ตนขอเวลาในการใช สิทธิไถอ อกไป ๓ เดอื น” ขอตกลงน้ีแมว า นายไขจะตกลงกต็ ามแตก ฎหมายถือวาขอ ตกลงนเ้ี สยี เปลาใช บังคบั ไมได ดังน้นั เม่อื เลยกําหนดเวลา ๖ เดอื นแลวนายแขกยงั ไมม าไถ ถือวาเลยกาํ หนดเวลาไถ ทรพั ยสนิ ท่ีขายฝากจะตกเปนของนายไขท นั ที ดังนั้นเม่ือนายแขกนาํ เงินมาไถในภายหลัง นายไขจ งึ มีสิทธิ ไมใ หไถค วายคนื ได

ช. เชาทรพั ย ๑. ทรัพยทใ่ี หเ ชา ได ทรัพยสิง่ ของใด เจา ของยอมนําออกใหผอู นื่ เชา ไดเสมอไมว าทรพั ยน ัน้ จะมีขนาดเล็กหรอื ใหญ เคล่อื นยา ยไดหรือไมไดก ็ตาม ทรัพยที่เชาน้ีแบง ได ๒ ประเภท (๑) อสังหารมิ ทรัพย คือ สิ่งที่ยึดตดิ อยกู บั พ้ืนดินเคลอื่ นยา ยไมไ ด เชน ท่ีดนิ สวน บา น ตึกแถว เปน ตน (๒) สงั หาริมทรพั ย คือ ส่ิงท่สี ามารถเคล่ือนยายได เชน ชาง มา วัว ควาย รถยนต เรือ เกวียน เปน ตน ๒. หลักฐานการเชา การเชาอสงั หาริมทรัพย ตองมกี ารทําหลกั ฐานเปน หนังสอื ลงลายมือชือ่ ฝา ยทีต่ อ งรับผดิ (ผเู ชา หรอื ผใู หเ ชา) ถา ไมมีหลักฐานเปนหนงั สือ จะฟองรองใหปฏบิ ัติตามสัญญาเชาไมไ ด ๓. หลกั ฐานเปน หนงั สือ ไมจ าํ เปน จะตอ งเปน รปู หนังสอื สญั ญาเชา อสงั หารมิ ทรพั ยท งั้ ฉบบั แตจ ะเปนหนงั สอื ใดๆ กย็ อม ได เชน จดหมายทผ่ี ูใหเ ชาหรอื ผูเชา เขียนถงึ กันเพือ่ ตกลงราคาคา เชา หรอื ใบเสร็จรับเงนิ คาเชา เปนตน ดงั น้ันหลกั ฐานเปน หนังสอื จะเปนในลกั ษณะใดก็ได สาํ คัญอยทู ่ีวา ขอ ความในหนังสือน้ันแสดงใหเหน็ วา ไดม ีสัญญาเชาอสังหารมิ ทรพั ยก็พอจะใชย นั ผใู หเชา หรือผเู ชาแลว หลกั ฐานเปน หนงั สอื น้ี ไมจ ําเปน จะตอง มอี ยูในขณะตกลงทาํ สัญญาเชาอสงั หารมิ ทรัพยน้นั แมจ ะมขี ้นึ ภายหลังจากการตกลงทาํ สัญญาเชา อสงั หารมิ ทรพั ยแลวกใ็ ชได ถามีการเชา อสงั หาริมทรัพยเกนิ กวา ๓ ป (กฎหมายหา มเกนิ ๓๐ ป) หรอื มีกําหนดตลอดอายุ ของผเู ชาหรอื ผูใหเ ชา จะตองนําสัญญานน้ั ไปจดทะเบยี นการเชา ตอพนักงานเจา หนาที่ ถา เปนการเชาบา น หรอื ตกึ แถวตองไปจดทะเบยี น ณ ทวี่ าการอาํ เภอ ทบ่ี า น หรอื ตึกแถวนนั้ ตัง้ อยู ถาเชา ท่ีดนิ (รวมทงั้ บาน ดวยกไ็ ด) ตองไปจดทะเบยี นท่สี าํ นักงานท่ดี นิ ประจําจังหวัด การเชาสงั หารมิ ทรัพย แมวา ไมมีหลกั ฐานเปน หนงั สือ เชน ตกลงทาํ สัญญาเชาดวยวาจาก็ฟองรอ ง บงั คับกนั ได

๔. การโอนความเปน เจาของ (๑) ในอสังหาริมทรัพยท เ่ี ชา ไมท าํ ใหส ัญญาเชาที่ทาํ ไวเดิมสิ้นสุดลง เจาของคนใหมตองยอม รับรูและผูกพนั ตามสญั ญาเชา ทเ่ี จา ของเดิมทําไว เจา ของคนใหมจ งึ กลายเปน ผูใ หเชา (๒) ในสงั หารมิ ทรัพย ทําใหส ัญญาเชาส้ินสุดลง เจาของคนใหมเ รียกเอาทรพั ยท ีเ่ ชา คนื ได ถา ผูเ ชา เสยี หาย เชน ใหคาเชาลวงหนา ๒ เดือนก็ตองไปทวง คือ เอาจากเจาของเดิม ๕. เชาชวง คอื การท่ีผูเชาเอาทรพั ยท่ตี นเชา ใหคนอืน่ เชาตอ ไมวา จะท้งั หมดหรือแตบางสวน เชน ก เชา เรอื ข แลว ก เอาเรอื ทตี่ นเชา ไปให ค เชา ตอ การเชาชว งถอื เปนการผิดสัญญาเชา ผใู หเชามีสิทธิบอกเลกิ สัญญาเรยี กเอาทรพั ยท่เี ชา คืนได เวนแต ผใู หเชาอนญุ าต ในกรณีเชนนี้เม่ือมีการเชาชวง ผเู ชาชว งตองรับผิดชอบโดยตรงตอ ผูใหเชา ๖. สญั ญาตา งตอบแทนชนิดพิเศษนอกเหนอื ไปจากสัญญาเชา ธรรมดา คอื การทผี่ เู ชาตกลงทาํ การอยา งหน่ึงอยา งใดใหเกดิ ประโยชนใ นทรัพยท ีเ่ ชา เชน ผูเชารบั ซอมแซมและตอ เติมบานเชา ปลกู ตนไมลงในทีด่ นิ ทเ่ี ชา หรอื ออกเงนิ ชวยคากอสรา งตกึ ทเี่ ชา เปนตน สัญญาชนดิ นม้ี ผี ลผกู พนั และฟอ งรองบังคบั กันได แมไมมีหลกั ฐานการเชา หรอื แมว าเปนการเชา อสังหารมิ ทรัพยเกนิ กวา ๓ ป กไ็ มต อ งทําหนงั สือและจดทะเบยี นตอ พนกั งานเจาหนา ที่ นอกจากน้ีผูเชา ยงั สามารถฟองบังคับผูใ หเ ชาใหจ ดทะเบียนการเชาไดดว ย เมอ่ื ผเู ชาตายสัญญาชนดิ น้ีไมร ะงับ ทายาทของผูเ ชา (พอ แม ลกู หลานของผูเชา) มีสิทธเิ ชา ไดตอ ไป จนกวา จะครบอายสุ ัญญา ๗. การส้นิ สุดแหง สัญญาเชา (๑) ถาเปน สญั ญาเชา มกี าํ หนดเวลาการเชาไว เมือ่ สนิ้ เวลาท่ไี ดตกลงกันไวแ ลว สัญญาเชาก็หมด อายุ (๒) สญั ญาเชายอมระงบั ลงเม่อื ทรพั ยส ินซึ่งใหเชา สูญหายไปทั้งหมด เชน บานท่ีเชา ถกู ไฟไหม (๓) สญั ญาเชาระงบั ลงเมื่อผูเ ชาถึงแกค วามตาย (๔) วธิ ีการบอกเลกิ สญั ญาเชาชนิดทไ่ี มกําหนดระยะเวลาท่ใี หเ ชานนั้ ทง้ั ฝา ยผูใหเชา และผเู ชา ตา ง มีสทิ ธบิ อกเลิกสัญญาไดโดยการใหค ําบอกกลาวเลกิ สญั ญา ซึ่งตองบอกกลาวลวงหนา ในระยะเวลาไมน อย กวา กําหนดชําระคา เชาระยะหนึง่ เชน กาํ หนดชําระคาเชา เปน รายเดือน ใหบอกกลาวลว งหนา ๑ เดอื น (๕) ถา ผเู ชา ผดิ นัดไมช ําระคาเชา ผใู หเชา สามารถบอกเลกิ สญั ญาเชา ไดทนั ที ถา การเชานัน้ มีการ ตกลงชําระคา เชากนั นอ ยกวา รายเดอื น เชน ชาํ ระเปนรายวัน รายสปั ดาห หรือ ๒ สปั ดาห เปนตน แตห ากมีการตกลงชาํ ระคา เชากนั เปนรายเดอื น หรือกวา รายเดอื น ผใู หเ ชาตองบอกกลา วแกผูเชา ใหชําระ คา เชา ภายในเวลา อยางนอย ๑๕ วัน หากผเู ชา ไมชาํ ราํ คาเชาในเวลาทีก่ ําหนด ผใู หเ ชา บอกเลกิ สญั ญาเชาได

ซ. เชาซื้อ ๑. ความหมาย สญั ญาเชา ซ้ือ คือ สัญญาที่เจา ของทรัพยสินเอาทรัพยสนิ ของตนออกใหผ ูอื่นเชาเพอ่ื ใชสอยหรือ เพ่ือใหไ ดรบั ประโยชน และใหค ํามน่ั วาจะขายทรพั ยน นั้ หรือจะใหทรพั ยสินทเี่ ชาตกเปนสทิ ธิแกผูเ ชาซือ้ เม่อื ไดใ ชเ งนิ จนครบตามทตี่ กลงไวโ ดยการชําระเงินเปน งวด ๆ จนครบตามขอ ตกลง สัญญาเชาซอ้ื มใิ ชส ัญญาซ้ือขายผอ นสง แมว าจะมลี ักษณะคลายคลงึ กนั เร่ืองชําระราคาเปนงวดๆ ก็ตาม เพราะการซอื้ ขายผอนสง นั้นกรรมสทิ ธิใ์ นทรัพยสนิ เปน ของผซู ้ือทนั ทีขณะทาํ สญั ญา ไมต องรอให ชาํ ระราคาครบแตประการใด สวนเรื่องสญั ญาเชา ซื้อ เม่อื ผเู ชาบอกเลกิ สญั ญาบรรดาเงินที่ไดชาํ ระแลว ให ริบเปน ของเจาของทรพั ยส นิ และเจาของทรัพยสินชอบท่จี ะกลับเขาครอบครองทรพั ยส ินทีเ่ ชาได ๒. แบบของสญั ญาเชาซอ้ื สัญญาเชา ซ้ือจะตอ งทําเปนหนังสอื จะทําดว ยวาจาไมได มฉิ ะน้ันจะเปน โมฆะเสียเปลา ทาํ ให ไมมีผลตามกฎหมายที่จะผูกพันผูเชา ซอ้ื กับผูใหเ ชาซือ้ ได การทาํ สญั ญาเปนหนงั สือนน้ั จะทํากันเองกไ็ ด ไมจ าํ เปน ตองทําตอ พนักงานเจา หนา ท่ี ผูเ ชาซื้อจะเขียนสญั ญาเอง หรือจะใชแ บบพมิ พท่มี ไี วก รอกขอ ความ ลงไปก็ได หรอื จะใหใครเขยี นหรือพิมพใหทง้ั ฉบบั กไ็ ด แตสัญญานน้ั จะตอ งลงลายมอื ชอื่ ของผูเชาซ้ือ และ ผูใหเชาซ้อื ทัง้ สองฝาย หากมีลายมอื ชอ่ื ของคูส ญั ญาแตเ พียงฝา ยใดฝายหน่ึง เอกสารนั้นหาใชสัญญาเชา ซื้อ ไม ๓. สิทธิและหนา ที่ของคูสญั ญา ผเู ชา ซอื้ มสี ิทธไิ ดร ับมอบทรัพยส นิ ท่เี ชา ซ้ือในสภาพท่ปี ลอดจากความชํารุดบกพรองหรือในสภาพ อันซอมแซม ดแี ลว เพราะผูใหเ ชาซอื้ มหี นา ที่และความรับผดิ ชอบในเรือ่ งทรัพยสนิ ท่ีชํารุดบกพรอง แมวา ผใู ห เชาซื้อจะทราบถงึ ความชํารุดบกพรอ งหรือไมกต็ าม ดงั นัน้ เวลาทานไปทําสญั ญาเชาซื้อทีวสี เี ครอ่ื งหน่ึง เจา ของรา นมีหนา ท่ีตองสงมอบทวี สี ใี น สภาพทีส่ มบูรณ ไมม ีสวนท่ผี ดิ ปกติแตประการใด ถา ทานตรวจพบวา ปมุ ปรับสหี ลวมหรอื ปมุ ปรับเสียง หลวมกด็ ี ทา นตอ งบอกใหเจา ของรา นเปล่ยี นทวี ีสเี ครอื่ งใหมแ กทา น เพราะในเร่ืองน้เี ปนสิทธิของทานตาม กฎหมายและเจา ของรานไมมสี ิทธทิ ีจ่ ะบังคบั ทานใหร บั ทีวสี ีท่ชี าํ รุดได ผูเชา ซือ้ มสี ิทธบิ อกเลกิ สัญญาในเวลาใดก็ไดด ว ยการสงมอบทรพั ยส ินกลบั คนื ใหแ กผ ใู หเ ชาซอื้ โดยตนเอง จะตอ งเสียคา ใชจ ายในการสง คนื การที่กฎหมายบญั ญตั ิเชน นี้ ก็เพราะเงินท่ีผเู ชาซ้ือไดชําระให แกผูใหเ ชาซอื้ เปน งวดๆ เปรยี บเสมอื นการชําระคาเชา ดังนั้น ผูเชา ซ้อื จะบอกเลิกสญั ญาก็ได การแสดง เจตนาบอกเลิกสัญญาจะตองสง มอบ ทรพั ยสนิ คืนใหแ กเจา ของ ถามีการแสดงเจตนาวาจะคืนทรัพยส นิ ให

ในภายหลัง หาเปนการเลิกสญั ญาที่สมบูรณไม การบอกเลกิ สญั ญาจะตอ งควบคไู ปกับการสง คืนใน ขณะเดียวกนั ผเู ชา ซอ้ื ผิดนัดไมชําระเงนิ สองคราวตดิ กนั หรอื กระทําผิดสัญญาในขอ ทีเ่ ปนสาระสาํ คญั เจา ของ ทรัพยสินทใี่ หเ ชา ซ้ือมสี ทิ ธบิ อกเลิกสญั ญาเมอื่ ใดก็ได สวนเงินท่ชี าํ ระราคามาแลว แตกอ น ใหต กเปนสทิ ธิของ เจา ของทรัพยสนิ โดยถอื เสมอื นวา เปนคา เชา ผเู ชา ซือ้ ไมม สี ทิ ธิเรียกคนื จากเจา ของได และเจาของทรพั ยสินก็ ไมมสี ิทธเิ รยี กเงนิ ทีค่ างชาํ ระได การผดิ นัดไมช ําระจะตอ งเปน การไมช ําระสองงวดตดิ ตอ กัน หากผิดนัดไม ใชเ งินเพยี งครง้ั เดยี ว หรือหลายครง้ั แตไมต ิดๆ กัน เชน ผดิ นัดไมใ ชเ งนิ เดือนกุมภาพันธ, เมษายน, มิถุนายน, สิงหาคม ฯลฯ แตชาํ ระคาเชา ซอื้ สาํ หรับเดือนมกราคม, มีนาคม, พฤษภาคม, กรกฎาคม ฯลฯ สลับกันไปเชนนี้ แมจะผิดนดั กคี่ ร้ังก่หี น กต็ าม ผูใ หเชา ซือ้ หาอาจใชส ิทธิบอกเลกิ สญั ญาไดไ ม ในการผดิ สัญญาในสวนท่เี ปนสาระสําคญั หมายความวาสัญญาเชา ซอื้ นัน้ มีวตั ถุประสงคใ หผเู ชา ซื้อมีสทิ ธิใชสอยทรัพยส ินาและเคารพในกรรมสทิ ธ์ขิ องผูใ หเ ชา ซือ้ จนกวาจะชําระราคาครบตามขอ ตกลง ถา ผเู ชาซื้อนําทรพั ยส นิ ไปจํานาํ และไมช าํ ระเงนิ ถอื วาผิดสัญญาเชา ซ้อื เจา ของมีสิทธบิ อกเลกิ สัญญาและผู เชาซื้อมคี วามผิดอาญาฐานยกั ยอกทรัพยไดอกี เน่อื งจากกรรมสิทธิ์ในทรัพยสนิ ยงั เปน ของผใู หเชาซอ้ื อยู อนึง่ ในกรณีผูเชาซ้อื กระทําผดิ สัญญา เพราะผิดนดั ไมใ ชเงนิ ซง่ึ เปน งวดสดุ ทายน้นั เจาของ ทรพั ยสิน มีสทิ ธจิ ะริบบรรดาเงินทีช่ ําระมาแลว แตกอน และยดึ ทรัพยกลับคนื ไปไดตอเมื่อรอใหผ เู ชา ซื้อมา ชําระราคาเม่อื ถงึ กําหนดชําระราคาในงวดถัดไป ถาไมมาผูใหเ ชาซอ้ื ริบเงนิ ได


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook