1 ************************ ภาพรวมการเช่ือมโยงและบูรณาการแผนระดบั นโยบายสู่แผนในระดบั พื้นที่ : โดยนายทรงกลด สวา่ งวงศ์ รองผวู้ า่ ราชการจงั หวัดกาฬสินธุ์ ชว่ ยราชการสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินท่ีบังคับใช้ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2534 และ ที่แกไ้ ขเพ่ิมเติม ในส่วนที่เพม่ิ เติมในพระราชบญั ญัติใหมน่ ี้ ไดแ้ ก่ ประการแรก ใหม้ ีคณะธรรมาภิบาลจังหวดั ทาหนา้ ทใ่ี นการดูแลในมติ ิของความโปรง่ ใส ประการที่ 2 เรื่องของการมอบอานาจ จะมอบอานาจในแนวดิ่ง เน้นสายการบังคับบัญชา เม่ือปี พ.ศ. 2551 มีการมอบหมายไปใหห้ น่วยบริการ เช่น หนว่ ยบรกิ ารรบั เสียภาษี รับลงทะเบียน หรือสามารถไปต้ัง จุดบรกิ ารในห้างสรรพสินค้าหรอื หน่วยงานตา่ งๆ เพื่อมอบหมายไปถึงผู้ปฏิบัติให้มีอานาจในการอนุมัติ อนุญาต เป็นการมอบอานาจไปถึงผ้ปู ฏิบตั ิ ทาใหก้ ารบริการประชาชนรวดเร็วขนึ้ ประการที่ 3 ให้จังหวัด/กลุ่มจังหวัดสามารถมีคาขอจัดสรรงบประมาณเพื่อไปบริหารหรือ แก้ปัญหาในพื้นท่ีด้วยตนเอง โดยก่อนหน้านี้การรับจัดสรรงบประมาณต้องรอแนวทางจาก กรม กระทรวง จัดสรรให้เท่าน้ัน ซึ่งการบริหารงบ Function ในบางจังหวัดอาจไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2551 จงั หวัด/กลุ่มจังหวัดสามารถมีคาขอรับจัดสรรงบประมาณเพื่อไปพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาในพ้ืนท่ี นอกเหนือจากแหล่งงบประมาณท่ีงบ Function จดั สรรใหแ้ ล้ว หมายความว่า มีแหลง่ งบประมาณที่สามารถจะ แก้ปัญหาตามบริบทในพื้นที่ได้ ในขณะเดียวกันการแก้ไขปัญหาดังกล่าวนั้นไม่สามารถครอบคลุมได้ทั้งหมด เนื่องจากแผนการพัฒนาไม่มีความชัดเจน ขาดการเชื่อมโยงกันในระหว่างแผนตั้งแต่ระดับหมู่บ้าน ตาบล อาเภอ จนมาถงึ จงั หวัด สาเหตมุ าจากตา่ งคนต่างทา ต่างออกแบบกลไกของตนเอง หนว่ ยงานต่างออกระเบียบ/ หนังสือสั่งการเพื่อกาหนดแนวทางของหน่วยงานเอง ซึ่งไม่ได้พิจารณาว่ามีทิศทางไปในทางเดียวกันหรือไม่ โดยจะเห็นได้ว่า แม้กระทั่งแผนพัฒนาท้องถิ่นในระเบียบกระทรวงมหาดไทยบอกว่า ให้มีความสอดคล้อง เช่ือมโยงกับแผนพัฒนาจังหวัด แต่ในขณะเดียวกันท้องถ่ินก็มีอิสระอยู่ในระดับหน่ึง รวมถึงห้วงเวลาในการ จัดทาแผนของท้องถิ่นกับของจังหวัดซ่ึงไม่มีความสอดคล้องกัน จึงเป็นที่มาของการยกร่างระเบียบ กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเรื่องของการจดั ทาแผนท่ีเรยี กวา่ One Plan เหตุผลทาไมถึงใช้ข้อความว่า การจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาพ้ืนที่ในระดับอาเภอและ ตาบล เนื่องจากแผนพัฒนาระดับจังหวัดได้มีพระราชบัญญัติรองรับ แผนพัฒนาท้องถิ่นก็มีระเบียบ กระทรวงมหาดไทยรองรับ แผนพัฒนาหมู่บ้านก็มีระเบียบอยู่แล้ว ส่ิงที่ขาดหายไปคือ แผนพัฒนาระดับอาเภอ
2 และตาบล เพราะฉะนั้นการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นที่ในระดับอาเภอและตาบล จึงกาหนดขึ้นมาเพ่ืออุดช่องว่าง และเกิดการเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาระดับจังหวัดและแผนพัฒนาของท้องถ่ิน ที่มีระเบียบหรือกฎหมายรองรับให้เป็นเนื้อเดียวกัน มีการบูรณาการเช่ือมโยงและประสานกลมเกลียวกัน จึงเป็นท่ีมาของการจัดทาแผนพัฒนาพื้นที่ท่ีไล่เรียงกัน โดยเริ่มต้นจาก ประเด็น ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ข้อ 4.2 กาหนดให้ภาครัฐ บริหารงานแบบบรู ณาการโดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายและเช่ือมโยงการพัฒนาในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพ้ืนท่ี การบริหารจัดการภาครัฐ มีความสอดคล้องเชื่อมโยงและเป็นกลไกสาคัญในการนา ยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติในทุกระดับมีการจัดสรรงบประมาณที่มีลักษณะยึดโยงกับยุทธศาสตร์ในทุกระดับ มีเป้าหมายร่วมกัน ทั้งในเชิงประเด็น เชิงภารกิจ และเชิงพื้นที่ โดยอาศัยข้อมูลขนาดใหญ่ รวมท้ังมีระบบ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน ท้งั ในระดับยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ และพื้นท่ี เพอื่ นาไปส่กู ารกาหนดประเด็น การพฒั นา การจดั ทานโยบาย และการติดตามประเมนิ ผลทเ่ี ป็นระบบอย่างต่อเนื่อง มเี จตนารมณ์ใหก้ ารจดั ทาแผนพัฒนาจังหวดั /กลมุ่ จงั หวดั ประกอบด้วย 3 หลัก คอื 1) การบูรณาการเชิงพื้นท่ี (Area-Based) : โดยให้ความสาคัญกับปัญหา ความต้องการของ พื้นท่ีมากาหนดเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนา การวางแผน การกาหนดแผนงาน/โครงการ และงบประมาณ โดยบูรณาการรว่ มกนั ของทุกหน่วยงาน 2) ความสอดคล้องและเช่ือมโยง : แผนพัฒนาในแต่ละระดับต้องมีความสอดคล้องเชื่อมโยงกัน ระหวา่ งยทุ ธศาสตร์ชาติ นโยบายของรฐั บาล และสอดคลอ้ งกบั ปัญหาความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ี 3) การมีส่วนร่วม : การจัดทาแผน ต้องเกิดข้ึนจากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ท้องถ่ิน ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน และภาคประชาชน เห็นชอบ เรื่อง การบูรณาการ แผนงาน/โครงการ ในการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ในระดับพ้ืนท่ีจังหวัด (Area Based) ตามท่ีกระทรวงมหาดไทยเสนอ มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้แผนงาน/โครงการของทุกหน่วยงานท่ีจะดาเนินการในพื้นที่จังหวัด เกิดการบูรณาการ ร่วมกันต้ังแต่ระดับพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชนตาบล อาเภอ และไปสกู่ ระบวนการจดั ทาแผนในระดับจังหวัด/กลุ่มจังหวัด เพื่อลดปัญหาความซ้าซ้อนของแผนงาน/โครงการ งบประมาณ และพ้ืนท่ีดาเนินการ รวมทั้ง การกาหนดห้วง เวลาการดาเนินโครงการให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นท่ี และให้ส่วนราชการ/ อปท. สามารถนาแผนงาน/โครงการที่อยู่ในแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ไปบรรจุไว้ในแผนคาของบประมาณ รายจา่ ยประจาปีของสว่ นราชการ หรือหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง
3 กาหนดใหม้ ีคณะกรรมการบรู ณาการนโยบายพฒั นาภาค (ก.บ.ภ.) โดยมนี ายกรฐั มนตรี เป็นประธาน ได้กาหนด นโยบายในการจดั ทาแผนพัฒนาจังหวัด /กล่มุ จังหวัด โดยใช้กระบวนการประชาคมแบบมีส่วนร่วมของทุกภาค ส่วนหรือการจัดเวทีระดมความคิดเห็นของประชาชนในพ้ืนที่ ผ่านกลไกการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผน ชุมชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถ่ิน และแผนพัฒนาอาเภอ ให้เกิดความเช่ือมโยงสอดคล้องกันในทุก ระดับเป็นแผนเดียวกนั กระทรวงมหาดไทยมีหน้าที่รับผิดชอบในการบูรณาการและเชื่อมโยงแผนในระดับพ้ืนท่ีระดับหมู่บ้าน (แผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน) ระดับตาบล (แผนพัฒนาตาบล/แผนพัฒนาท้องถ่ิน) ระดับอาเภอ (แผนพัฒนาอาเภอ) และระดับจังหวัด (แผนพัฒนาจังหวัด/แผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด) เช่ือมโยงไปสู่แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และแผนพัฒนาภาค แต่เนือ่ งจากในปจั จุบันยงั ขาดกลไกและแนวทางปฏบิ ัตใิ นการเชอื่ มโยงแผนตั้งแต่ระดับอาเภอไป ยังพืน้ ที่ รวมทัง้ ยังไม่มรี ะเบยี บ/กฎหมาย รองรบั การจัดทาแผนในระดับอาเภอ เพ่ือให้การจัดทาแผนพัฒนาในระดับพ้ืนท่ีต้ังแต่หมู่บ้าน/ชุมชน ตาบล ท้องถิ่น อาเภอ เช่ือมโยงและ สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และแผนพัฒนาภาค นาไปสู่เป้าหมายการพัฒนาประเทศ ภายใต้แผนพฒั นาในแตล่ ะระดับท่ีมคี วามสอดคล้องเชอ่ื มโยงในทิศทางเดยี วกนั จึงได้ออกระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นที่ในระดับ อาเภอและตาบล พ.ศ. 2562 โดยมีผลบังคบั ใชเ้ มื่อวันที่ 12 มถิ ุนายน 2562 โดยมวี ตั ถุประสงค์ ดังน้ี 1. เพ่ือปรับปรุงกลไกการจัดทาและการประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นท่ีให้เกิดประสิทธิภาพ และครอบคลุมทุกพ้ืนที่ ต้ังแต่การใช้กลไกคณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการชุมชน ในการจัดทาเวที ประชาคมร่วมกันเพื่อจัดทาเป็นแผนพัฒนาหมู่บ้าน/แผนชุมชน การกาหนดกลไก ก.บ.ต. ในการจัดทา แผนพัฒนาตาบล และกลไก ก.บ.อ. ในการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ 2. เพ่อื ยกระดบั คุณภาพแผนในระดบั พ้ืนท่ีให้มลี ักษณะเป็นแผนเดยี ว One Plan 3. เพ่ือกาหนดแนวทางการสนับสนุน ควบคุม และกากับติดตามการจัดทาและประสาน แผนพัฒนาในระดับพ้ืนท่ี ใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพ หลักการดาเนนิ งาน หลักการดาเนินงานของระเบียบฯ มีดงั น้ี 1. กาหนดแนวทางการเชื่อมโยงและประสาน แผนพัฒนาในระดับพื้นที่ในลักษณะ One Plan โดยไม่ ส่งผลกระทบบทบาทอานาจหน้าที่ในการจัดทาและ ประสานแผนของส่วนราชการหรือขององค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ินที่กาหนดไว้ในระเบียบ กฎหมายหรือแนวทาง ปฏิบัติ 2. กาหนดแนวทางการเชอ่ื มโยงในการทางานรว่ มกันระหว่างการบริหารราชการส่วนภูมิภาคกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยไม่มีผลบังคับให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินดาเนินการใด ๆ นอกเหนือ จากระเบียบ/กฎหมายท่ีกาหนดไว้ เป็นการอาศัยระเบียบ กฎหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีผล บังคับใช้อยู่แล้ว มากาหนดแนวทางปฏิบัติให้มีความชัดเจนมากขึ้น และไม่เป็นการแก้ไขระเบียบ กฎหมาย ท่ีส่งผลกระทบตอ่ บทบาทอานาจหนา้ ทข่ี ององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ
4 3. กาหนดเป้าหมายเพ่ือให้การจัดทาแผนทุกระดับมาจากปัญหาความต้องการของประชาชน อยา่ งแท้จรงิ 4. กาหนดกลไกใหม้ ีหนว่ ยงานรบั ผิดชอบการจดั ทาแผนในทุกระดับ และมีแนวทางการปฏิบัติใน การเช่ือมโยงประสานแผนเพื่อให้การดาเนินงานไม่เกิดความซ้าซ้อน และเกิดความคุ้มค่ากับประชาชนมาก ทีส่ ุด 5. ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (People Centric) ในการบริหารราชการ โดยความร่วมมือจาก ภาคประชาชน เข้ามามสี ่วนร่วมในการบรหิ ารราชการส่วนภูมภิ าค ผลที่คาดว่าจะได้รับตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนและประสาน แผนพฒั นาพื้นท่ีในระดบั อาเภอและตาบล พ.ศ. 2562 มีดงั น้ี 1. มีกลไกการจัดทาและประสานแผนพัฒนาในระดบั พน้ื ท่ชี ัดเจน 2. แผนพัฒนาในระดับพื้นที่มีคุณภาพสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ีได้ อยา่ งแทจ้ รงิ 3. มีงบประมาณสนับสนุนการจัดทาแผน และนาแผนงาน/โครงการ ไปบรรจุไว้ในแผนของส่วน ราชการ/รัฐวิสาหกจิ /องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ 4. มีการกากับ ติดตามการจัดทาและประสานแผนพัฒนาในระดับพ้ืนท่ี และการประเมินผล คณุ ภาพแผน เพ่อื ปรบั ปรุงคุณภาพใหส้ อดคล้องกับความตอ้ งการและปัญหาของประชาชนในพืน้ ที่ การจดั ทาแผนพัฒนาพ้ืนท่ีแบบบูรณาการภาพรวมของประเทศ การจัดทาแผนพฒั นาในปจั จบุ นั มกี ลไกการบรหิ ารงานรองรับในแต่ละระดับ คือ ก.บ.จ ก.บ.ก. ก.น.จ. และ ก.บ.ภ อยูแ่ ลว้ ตามลาดับ แต่ในการจัดทาแผนพัฒนาในระดับพ้ืนท่ี หมู่บ้าน ชุมชน ตาบล มีระเบียบแนวทางปฏิบัติท่ีแตกต่างกัน ขาดการบูรณาการเชื่อมโยงแผน รวมถึงในการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ ยังไม่มีระเบียบ/กฎหมายหรือกลไก รองรับการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ ซึ่งปัจจุบันได้ใช้แนวทางปฏิบัติของหน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดทา แผนพัฒนาในรูปแบบหนังสือส่ังการของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ทาให้การจัดทาและประสาน แผนพัฒนาในระดับพื้นท่ีต้ังแต่หมู่บ้านไปถึงระดับอาเภอ ขาดการบูรณาการและความเช่ือมโยงในลักษณะเป็น แผนเดียวกัน (One Plan) ดังนนั้ จึงทาใหเ้ กิดปญั หาและอุปสรรคในการจดั ทาแผนพัฒนาในระดับพน้ื ท่ี ดงั น้ี (1) ระดับหมู่บ้าน/ชุมชน : ขาดการบูรณาการเก่ียวกับการจัดเวทีประชาคม และการประสาน แผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนกับแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และแผนอ่ืน ๆ ในพื้นที่ รวมทั้งขาด การสนับสนุนขอ้ มลู ประกอบการวิเคราะหป์ ัญหาความต้องการของพื้นท่ี (2) ระดับตาบล : บทบาทและอานาจหน้าที่ในการจัดทาและประสานแผนชุมชนระดับตาบลของ คณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับตาบล (ศอช.ต.) ภายใต้ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยการดาเนินงานศูนย์ประสานงานองคก์ ารชุมชน พ.ศ. 2551 ไม่ชัดเจน ประกอบกับกรมการพัฒนาชุมชน ยังไมส่ ามารถสนบั สนุนให้ ศอช.ต. จัดทาแผนได้ครอบคลุมทุกตาบล (3) ระดับอาเภอ : การจัดทาแผนพัฒนาอาเภอยังไม่มีระเบียบ/กฎหมายรองรับ ทาให้ภาคส่วนต่าง ๆ ไม่ใหค้ วามสาคัญในการจัดทาแผน และสนับสนุนงบประมาณตามแผนพฒั นาอาเภอ รวมทั้งขาดแนวทางปฏิบัติ ในการประสานแผนพฒั นาตั้งแต่ระดับหมู่บ้าน/ชมุ ชน ตาบลมาใชป้ ระกอบการจดั ทาแผนพัฒนาอาเภอ
5 แนวทางการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาในระดับพืน้ ท่ี (แผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพฒั นาตาบล แผนพฒั นาท้องถ่นิ และแผนพฒั นาอาเภอ) จากขอ้ จากัดในการจัดทาแผนพัฒนาในระดับพ้ืนที่ดังกล่าวมาข้างต้น ประกอบกับนโยบายคณะกรรมการ บรู ณาการนโยบายพฒั นาภาค (ก.บ.ภ.) ทตี่ ้องการให้แผนพฒั นาระดับพื้นทม่ี าจากปัญหาและความต้องการของ ประชาชนอย่างแท้จริง โดยผ่านกลไกการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนา ท้องถ่ิน แผนพัฒนาอาเภอ ในลักษณะเป็นแผนเดียวกัน (One Plan) จึงได้กาหนดแนวทางในการจัดทาแผน และประสานแผนพัฒนาในระดับพ้ืนท่ี (แผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนพฒั นาอาเภอ) เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางปฏิบัติร่วมกันของหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการจัดทาแผนพัฒนาใน ระดับพน้ื ท่ี เร่ิมจากการจัดเวทีประชาคมร่วมกันของหมู่บ้าน/ชุมชน/ท้องถิ่นเพื่อรวบรวมปัญหาความต้องการของ ประชาชนมาจดั ทาแผนพัฒนาหม่บู ้าน และแผนชมุ ชน และแผนพฒั นาทอ้ งถนิ่ โดยนายอาเภอกาหนด วัน เวลา และสถานที่ในการจดั ทาเวทปี ระชาคมรว่ มกันของหม่บู า้ น ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นท่ี และ อาจประสานให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานอ่ืนที่ดาเนินการในพื้นท่ีเข้าร่วมเวทีประชาคมด้วยก็ได้ และส่งต่อ ปัญหาความต้องการของหมู่บ้าน/ชุมชน ให้คณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบบูรณาการ (ก.บ.ต.) เพ่ือใช้ วิเคราะห์ กลั่นกรอง และใช้ประกอบในการจัดทาแผนพัฒนาตาบล โดย ก.บ.ต. ส่งแผนพัฒนาตาบลให้ คณะกรรมการบริหารอาเภอแบบบูรณาการ (ก.บ.อ.) ใช้ประกอบในการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และส่งต่อให้ คณะกรรมการบริหารจังหวดั แบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) ใชป้ ระกอบในการจัดทาแผนพัฒนาจงั หวัด สาหรับการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาท้องถ่ิน คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับ อาเภอ จาแนกแผนงาน/โครงการที่ อบต. เทศบาล เมืองพัทยา และแผนงาน/โครงการท่ี ก.บ.อ. ขอรับการ สนับสนุน รวบรวมจัดทาเป็นบัญชีประสานโครงการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และจัดทาบัญชี ประสานโครงการพัฒนาที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาในพื้นที่อาเภอ ส่งให้ ก.บ.อ. รวมทั้งส่งให้ คณะกรรมการประสานแผนท้องถิ่นระดับจังหวัด โดยพิจารณาโ ครงการท่ีองค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถิ่นขอรบั การประสานโครงการตามบัญชีประสานโครงการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือ โครงการท่ีคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) เพ่ือบรรจุไว้ในแผนพัฒนาขององค์การ บริหารส่วนจังหวัด พร้อมท้ังตรวจสอบโครงการดังกล่าวเพ่ือไม่ให้โครงการซ้าซ้อนกับแผนพัฒนาจังหวัด และ แผนปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือหน่วยงานอ่ืน และให้จัดทาบัญชีประสานโครงการพัฒนา เพ่ือจัดส่งให้ หน่วยงานทเี่ กี่ยวขอ้ งพิจารณาดาเนนิ การ การจดั ทาแผนและประสานแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผน ชุมชน ให้ดาเนินการในห้วงระยะเวลาระหว่างเดือนมกราคม – เดือน กุมพาพันธ์ โดยให้นายอาเภอกาหนดวัน เวลา และสถานที่ในการจัด เวทีประชาคมหมู่บ้านและชุมชน ตามที่คณะกรรมการหมู่บ้านและ คณะกรรมการชุมชนเสนอ รวมท้ัง การประสานงานกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถนิ่ และหนว่ ยงานทีด่ าเนนิ การในพืน้ ท่ี เข้าร่วมประชาคม
6 คณะกรรมการหมู่บ้านเป็นองค์กรหลักที่รับผิดชอบในการบูรณาการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน หรือให้ คณะกรรมการชุมชน หรอื หน่วยงานอน่ื ท่ีเกีย่ วขอ้ งช่วยดาเนินการบูรณาการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน ก็ได้ ซึ่งมีข้นั ตอนในการจดั ทาแผนฯ 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การจัดทาเวทีประชาคมหมู่บ้านและชุมชนเพ่ือรวบรวมข้อมูลปัญหาความต้องการต่าง ๆ ของหมู่บ้าน และชุมชน ท้ังในด้านเศรษฐกิจ สังคมและคุณภาพชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ความมั่นคงและ ความสงบเรียบร้อย และการบริหารจดั การ หรอื อนื่ ๆ 2. จัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน โดยนาข้อมูลจากเวทีประชาคมหมู่บ้านและชุมชน ข้อมูล ความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และ ข้อมูลพ้ืนฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) มาใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการจัดทา แผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน พร้อมทั้งจัดลาดับความสาคัญ เพื่อรองรับการพัฒนาและแก้ไขปัญหาใน พ้ืนที่ รวมท้ังตอบสนองนโยบายสาคัญเร่งด่วนทจ่ี ะแกไ้ ขปญั หา และพัฒนาระดบั หมูบ่ ้านและชุมชน ของรฐั บาล 3. ส่งแผนพฒั นาหมู่บา้ นและแผนชุมชน ให้คณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบบูรณาการ (ก.บ.ต.) และ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น เพอ่ื เป็นขอ้ มูลในการจดั ทาแผนพัฒนาตาบล และแผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ 4. ประสานจดั ทาโครงการเกย่ี วกบั การพัฒนาหมบู่ ้านและชุมชน เพ่ือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก หนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ และหนว่ ยงานอ่ืน ๆ 5. ติดตามผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชนให้เป็นปัจจุบัน โดยให้ท่ีทาการ ปกครองอาเภอประเมินผลแผนพัฒนาหมู่บ้านตามแบบท่ีกรมการปกครองกาหนดรายงานให้ที่ทาการปกครอง จงั หวัด เพ่อื รวบรวมและรายงานให้กรมการปกครองทราบ และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเมินผลแผน ชุมชนรายงานให้สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินจังหวัดเพื่อรวบรวมและรายงานให้กรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่นทราบ 6. ทบทวนการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชนทุกปี เพื่อให้แผนงานหรือโครงการระดับหมู่บ้าน และชุมชน เปน็ ปจั จุบนั และมีความสอดคลอ้ งกับสภาพปัญหาและความต้องการพฒั นาของประชาชน เพ่ือให้เกิดการบูรณาการในการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน ให้อาเภอ และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน เป็นหน่วยงานหลักร่วมกันในการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน และให้สานักงานพัฒนา ชุมชนอาเภอ เปน็ หนว่ ยงานสนับสนุนในการจดั ทาแผนพัฒนาหมบู่ ้าน และแผนชุมชน ทั้งนี้ ให้นายอาเภอและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ดาเนินการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ หมบู่ า้ น และคณะกรรมการชุมชน หรือหนว่ ยงานอ่ืนที่เก่ียวข้องในการบูรณาการและประสานงานในการจัดทา แผนพฒั นาหมูบ่ า้ นและแผนชุมชน ให้สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ เสนอคาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบบูรณา การ (ก.บ.ต.) ให้นายอาเภอลงนามในคาส่ังแต่งต้ัง เพื่อให้ ก.บ.ต. เป็นกลไกหลักรับผิดชอบในการจัดทาแผน และประสานแผนพัฒนาตาบล การจดั ทาแผนและประสานแผนพฒั นาตาบลใหด้ าเนินการในห้วงระยะเวลาระหว่างเดือนมีนาคม – เดือนเมษายน โดยกลไก ก.บ.ต. ซง่ึ มขี ั้นตอนในการจดั ทาแผนฯ 6 ขน้ั ตอน ดังน้ี
7 1. รวบรวมข้อมูลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือกรมการพัฒนาชุมชน ได้แก่ ข้อมูลความ จาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) และข้อมูลอ่ืน ๆ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดทา แผนพฒั นาตาบล 2. รวบรวมแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน และแผนพัฒนาท้องถ่ินในตาบล เพ่ือใช้ประกอบการ จัดทาแผนพฒั นาตาบล 3. จัดทาแผนพัฒนาตาบล ให้นาข้อมูลจาก 1. และ 2. มาวิเคราะห์หรือสังเคราะห์ กล่ันกรอง ประมวลผล เพื่อกาหนดทิศทางการพัฒนาตาบล และจัดลาดับความสาคัญของแผนงานหรือโครงการระดับ ตาบล รวมท้ังจัดทาแผนงานหรือโครงการในการแก้ไขปัญหาในพ้ืนที่ ที่มีความคาบเก่ียวต้ังแต่สองหมู่บ้านหรือ สองชุมชนข้ึนไป เพ่ือรองรับการพัฒนาและตอบสนองนโยบายสาคัญเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาใน ตาบล 4. จาแนกแผนงานหรือโครงการระดับตาบลท่ีสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ินในพื้นท่ีระดับตาบล และจัดทาบัญชีประสานโครงการพัฒนา ส่งให้องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถ่ินพิจารณาบรรจไุ ว้ในแผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน 5. จัดส่งแผนพัฒนาตาบล ให้คณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบูรณาการ (ก.บ.อ.) เพ่ือใช้ ประกอบการจดั ทาแผนพฒั นาอาเภอ และแผนความตอ้ งการระดบั อาเภอ 6. ทบทวนการจัดทาแผนพัฒนาตาบลทุกปี เพื่อให้แผนงานหรือโครงการระดับตาบล เป็น ปจั จุบัน โดยให้สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั ประเมนิ ผลแผนพัฒนาตาบล และรายงานให้กรมการพัฒนาชุมชน ทราบ ทั้งนี้ ให้สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทาแผนพัฒนาตาบล และ ดาเนินการพฒั นาศักยภาพ ก.บ.ต. ในการจดั ทาแผนและประสานแผนพฒั นาตาบล ให้อาเภอเสนอคาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบูรณาการ (ก.บ.อ.) ให้นายอาเภอลง นามในคาสัง่ แต่งต้งั เพอ่ื ให้ ก.บ.อ. เปน็ กลไกหลักรบั ผดิ ชอบในการจัดทาแผนและประสานแผนพฒั นาอาเภอ การจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาอาเภอ ให้คณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบูรณา การ (ก.บ.อ.) เป็นกลไกหลักในการจัดทาและประสานแผนพัฒนาอาเภอ ซ่ึงมีข้ันตอนในการจัดทาแผนฯ 6 ขน้ั ตอน โดยแบ่งเปน็ 2 ชว่ ง ดังน้ี ระยะท่ี 1 ชว่ งเดือน มกราคม – พฤษภาคม 1. นากรอบทิศทางการพัฒนาอาเภอและยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมาเป็นแนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และแผนความต้องการ ระดับอาเภอ โดยกาหนดให้แผนพัฒนาอาเภอมีระยะเวลาสอดคล้องกับห้วงเวลา ของแผนพฒั นาจงั หวดั 2. จาแนกและจัดทาบัญชีแผนงานหรือโครงการระดับอาเภอในความ รับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และจัดส่งให้องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถน่ิ เพื่อพจิ ารณาประกอบการจัดทาแผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ ระยะท่ี 2 ชว่ งเดือน พฤษภาคม – มิถุนายน 3. ประสานและรวบรวมข้อมูลจากปัญหาและความต้องการของประชาชน (Bottom-up) จาก แผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถ่ิน และแผนพัฒนาของส่วนราชการหรือ หน่วยงานอ่ืนทีด่ าเนนิ การในพ้ืนทีอ่ าเภอ เพอ่ื จดั ทาแผนพฒั นาอาเภอ และส่งให้ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาให้
8 ความเห็นชอบโดยผ่านกลไกคณะทางานกลั่นกรองแผนพัฒนาอาเภอ และนาเข้าสู่การประชุม ก.บ.จ. เป็นวาระเพื่อ ทราบ เม่ือผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นชอบแผนพัฒนาอาเภอแล้ว ให้ ก.บ.อ. ประกาศใช้ และจัดส่งแผนพัฒนา อาเภอให้หน่วยงานต่าง ๆ รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพ้ืนที่ เพ่ือให้ทุกภาคส่วนทราบและร่วมกัน ขบั เคล่อื นการพัฒนาและการแก้ไขปัญหาในพ้นื ท่ีอย่างยัง่ ยืนและเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกัน 4. จัดทาแผนความต้องการระดับอาเภอให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาจังหวัด โดยโครงการที่ อย่ใู นแผนความต้องการระดับอาเภอจะตอ้ งเปน็ โครงการทถ่ี ูกบรรจุอยู่ในแผนพัฒนาอาเภอ โดยให้อาเภอจัดส่ง แผนความต้องการระดับอาเภอให้ ก.บ.จ. และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือเป็นข้อมูลในการจัดทาแผนพัฒนา จังหวดั และแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปขี องจงั หวัด หรือแผนปฏิบตั ิราชการของหน่วยงานนัน้ ๆ 5. ดาเนนิ การทบทวนแผนพัฒนาอาเภอและแผนความต้องการระดับอาเภอทุกปี โดยให้ที่ทาการ ปกครองจงั หวดั ประเมินผลแผนพัฒนาอาเภอ และรายงานให้กรมการปกครองทราบ ทั้งนี้ ให้อาเภอเป็นหน่วยงานหลักในการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และ ดาเนินการพัฒนาศกั ยภาพของ ก.บ.อ. ในการจดั ทาแผนและประสานแผนพัฒนาอาเภอ การจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน : โดยนายนนทภพ เจริญขวัญ เจ้าพนักงานปกครองชานาญการ สานกั บริหารการปกครองทอ้ งที่ ผู้แทนกรมการปกครอง คณะกรรมการหมบู่ ้าน (กม.) เป็นผู้จัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านโดยตรง ซ่ึง กม. กาเนิดข้ึนตาม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องท่ี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2486 และได้มีการปรับปรุงโครงสร้าง อานาจ หน้าท่ีใหม่ ตาม มาตรา 28 ตรี แห่ง พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2552 กาหนดให้ กม. มีหน้าท่ีในการ จัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน และบูรณาการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน รวมถึงระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วย หลักเกณฑ์การเป็นกรรมการหมู่บ้าน การปฏิบัติหน้าท่ีและการประชุมของคณะกรรมการหมู่บ้าน พ.ศ. 2551 ที่ได้กาหนดถึงโครงสร้าง หน้าที่ อานาจหน้าท่ีความรับผิดชอบ ในภารกิจของ กม. ได้อย่างคลอบคลุมและ ชดั เจนขึ้น องค์ประกอบของ กม. มี 2 องค์ประกอบ กม. โดยตาแหนง่ ประกอบดว้ ย ผู้ใหญ่บ้าน ( ประธานกรรมการ) ผู้ชว่ ยผูใ้ หญบ่ ้าน สมาชิก อบต./สท./สจ. ผู้นาหรือผแู้ ทนกล่มุ กม. โดยการเลือก ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 2-10 คน กรรมการหมู่บ้านผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่ วันที่นายอาเภอได้มปี ระกาศแต่งต้ัง
9 อานาจหน้าที่ ภารกิจของ กม. ชว่ ยเหลือแนะนา ใหค้ าแนะนา ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บกฎหมาย ทางานตามทน่ี ายอาเภอมอบหมาย ทางานตามทผ่ี ู้ใหญบ่ า้ นร้องขอ บรู ณาการจดั ทาแผนพฒั นาหมบู่ ้าน บรหิ ารจัดกจิ กรรมในหม่บู า้ นรว่ มกับทกุ ภาคส่วน โครงสรา้ ง หนา้ ท่ี ของคณะกรรมการหม่บู ้าน มี 6 ดา้ น คณะทางานด้านอานวยการ ทาหนา้ ท่เี ก่ียวกบั อานวยการประชมุ ระเบยี บวาระ จดั การประชุม งานธุรการ การเงิน เลขานุการ ประชมุ และอื่นๆ คณะทางานด้านการปกครอง และรักษาความสงบเรียบร้อย ทาหน้าที่เก่ียวกับส่งเสริมการมีส่วนร่วมใน การปกครองระบอบประชาธิปไตย ส่งเสริมให้ราษฎรปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับของหมู่บ้าน การสรา้ งความเปน็ ธรรมและประนีประนอมข้อพพิ าท คณะทางานด้านแผนพัฒนาหมู่บ้าน ทาหน้าที่เก่ียวกับการดาเนินการบูรณาการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน และกิจกรรมที่ดาเนินการในหมู่บ้าน ปรับแผนพัฒนาร่วมกับองค์กรอื่นทุกภาคส่วน และจัดทาข้อมูลของ หม่บู า้ น คณะทางานด้านสังคม ส่ิงแวดล้อม และสาธารณสุข ทาหน้าท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผ้สู ูงอายุ และผพู้ กิ าร การจัดสวัสดกิ ารในหม่บู า้ น การสงเคราะห์ผยู้ ากจน การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ คณะทางานด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ทาหน้าท่ีเกี่ยวกับส่งเสริมการศึกษา ศาสนา การ บารุงรักษาศลิ ปะ จารตี ประเพณี ภูมิปญั ญา และวัฒนธรรมของหมูบ่ า้ น คณะทางานด้านส่งเสริมเศรษฐกิจ ทาหน้าท่ีเก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการประกอบอาชีพ การ ผลิต การตลาด นอกจาก ปัญหาในระดับพื้นท่ีในการจัดทาแผนพัฒนาและประสานแผนพัฒนาแล้ว ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วย การจดั ทาแผนและประสานแผนฯ มีวัตถุประสงค์ สาคัญ 3 ประการ ดงั น้ี 1) ปรับปรงุ กลไกการจัดทาและประสานแผนพัฒนาในระดับพ้ืนท่ี ให้เกิดประสิทธิภาพและครอบคลุม ทุกพน้ื ท่ี 2) ยกระดับคณุ ภาพแผนในระดบั พ้ืนที่ให้มลี ักษณะเปน็ แผนเดยี ว One Plan 3) กาหนดแนวทางการสนับสนนุ ควบคมุ และกากับตดิ ตามการจดั ทาและประสานแผนพฒั นาในระดบั พ้ืนที่ ระเบียบ มท. ฯ ได้แบ่งออกเป็น 6 หมวด ซึ่งแต่ละหมวดมีเน้ือหาสาระและความสาคัญแตกต่างกัน ดังน้ัน เราควรจะเข้าใจถึง ภาพรวมวา่ แตล่ ะหมวดน้นั กล่าวถึงเรอ่ื งใดไวบ้ า้ ง ก่อนท่จี ะศึกษาถึงรายละเอยี ด
10 หมวดท่ี 1 การจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาหมู่บ้านและชุมชน กล่าวถึง การจัดทาและประสานแผนพัฒนา หมบู่ ้าน แผนชมุ ชน การจัดทาเวทีประชาคมหมู่บ้านและชุมชน การขอรับการสนับสนุนงบประมาณ และติดตามผลการดาเนินงาน ตามแผนพัฒนาหมูบ่ ้านและแผนชุมชน หมวดที่ 2 การจดั ทาแผนและประสานแผนพฒั นาตาบล กล่าวถงึ การจัดตัง้ คณะกรรมการบรหิ ารงานตาบลแบบ บูรณาการ (ก.บ.ต.) เพื่อเป็นผู้รับผิดชอบการจัดทาและประสานแผนพัฒนาตาบล และมีการทบทวนการจัดทาแผนพัฒนา ตาบลทกุ ปีเพือ่ ให้ข้อมูลปญั หาความตอ้ งการระดบั ตาบลเปน็ ปัจจบุ นั หมวดที่ 3 แผนพัฒนาอาเภอ กล่าวถึง การจัดต้ังคณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบูรณาการ (ก.บ.อ.) เพื่อ รับผิดชอบในการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาในระดับอาเภอ ตลอดจนการนาแผนงาน/โครงการที่องค์กรปกครอง สว่ นท้องถนิ่ ขอประสาน มาประกอบการจดั ทาแผนพัฒนาอาเภอ หมวดท่ี 4 การบูรณาการและประสานแผนฯ กล่าวถึง หลักการบูรณาการและประสานแผนในระดับพื้นที่ ว่าควร ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง เชน่ การใช้กระบวนการการมีสว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น การรวบรวมและจัดระดับความสาคัญของ ปัญหา ความต้องการของประชาชนในพื้นท่ีผ่านการจัดทาแผนฯหมู่บ้าน แผนฯท้องถ่ิน แผนฯตาบล และแผนฯอาเภอ รวมทง้ั การบรู ณาการการบริหารงบประมาณ หมวดที่ 5 การสนับสนุนการดาเนินการ กล่าวถึง การสนับสนุนการดาเนินงาน งบประมาณ รวมท้ังกาหนดให้ จังหวัด ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พิจารณานาโครงการหรือกิจกรรมท่ีอยู่ในแผนพัฒนา อาเภอ แผนความต้องการระดับอาเภอ แผนงานโครงการระดับตาบล และแผนงานโครงการระดับหมู่บ้านและชุมชน ไป ประกอบการจัดต้ังคาของบประมาณรายจ่ายประจาปตี ามอานาจหนา้ ทแ่ี ละตามความเหมาะสม หมวดที่ 6 การกากับและติดตาม กล่าวถึง อานาจหน้าที่ของนายอาเภอในการติดตามและให้คาแนะนาในการ ประสานแผนพัฒนาหมูบ่ ้าน แผนชมุ ชน แผนพัฒนาตาบล แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ และแผนพัฒนาอาเภอ ผู้ว่าราชการจังหวัด มีอานาจหนา้ ท่ีกากบั และตดิ ตามพรอ้ มใหค้ าแนะนากระบวนการจดั ทาแผนพัฒนาในระดับพ้ืนท่ี อีกทั้ง ผู้ว่าราชการจังหวัดและ นายอาเภอ กากับดูแลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดาเนินการจัดทาและประสานแผนพัฒนาท้องถ่ินให้สอดคล้องกับ แผนพฒั นาระดบั จงั หวัด สาหรับหมวดที่เก่ยี วข้องกับ กม. คือ หมวด 1 เกี่ยวกับแผนพัฒนาหมบู่ า้ น เชน่ จัดเวทีประชาคม บรู ณาการจัดทาแผน ส่งแผนพัฒนา ประสานโครงการฯ ตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน ทบทวนแผนฯ
11 แผนพัฒนาหมู่บ้าน หมายถึง กระบวนการเรียนรู้เพื่อจัดการตนเองท่ี กม. และ ปชช. ร่วมคิด วิเคราะห์ปัญหา ศักยภาพหมู่บ้าน ภายใต้ข้อมูลของหมู่บ้าน เพื่อจัดทาแผนงาน/โครงการ ท่ีตอบสนองความ ตอ้ งการท่ีแทจ้ ริง และสอดคลอ้ งกับแนวทางการพฒั นาในระดบั ทีส่ งู ข้ึน ความสาคัญของแผนฯ เป็นเคร่ืองมือหลักในการกาหนดแนวทางการพัฒนาของหมู่บ้าน ผ่าน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ของหมู่บ้านท่ีผ่านการร่วมคิดร่วมทาของประชาชนในหมู่บ้าน ซ่ึงแผนพัฒนา หมู่บ้าน จะเป็นสงิ่ ทีส่ ะทอ้ นความตอ้ งการ สภาพปญั หา ศักยภาพ ของหมู่บ้าน อีกท้ัง ยังเป็นเคร่ืองมือกาหนดวิธีการ ในการแกไ้ ขปัญหาและส่งเสริมศักยภาพของหมู่บ้าน ต้องดาเนินการใดก่อนหลัง ซ่ึงถ้าหากหมู่บ้านไม่มีแผนพัฒนาฯ แล้ว ก็จะไม่ทราบวา่ ควรนาหมู่บา้ นไปในทิศทางใด เปา้ หมายของการจดั ทาแผนพัฒนาหมู่บา้ น แผนพัฒนาหมู่บ้านมิใช่จัดทาข้ึนเพียงเพื่อศึกษาปัญหา ความต้องการของหมู่บ้านแล้วนามากาหนด เป็นแผนงาน/โครงการพัฒนาด้านต่าง ๆ เพ่ือแก้ไขปัญหาของหมู่บ้านเพียงเท่านั้น แต่แผนพัฒนาหมู่บ้านเป็น กระบวนการสาคัญท่ีทาให้เกิดการพัฒนาศักยภาพของประชาชนในหมู่บ้าน และนาศักยภาพน้ันมาปฏิบัติให้ เป็นรูปธรรม ซึ่งกล่าวไดว้ ่าแผนพฒั นาหม่บู ้าน มีเปา้ หมายสาคัญ ดังนี้ 1) เพ่ือทราบถึงปัญหาความต้องการของหมู่บ้าน และเพ่ือค้นหาศักยภาพของหมู่บ้าน โดยใช้ข้อมูล ของหมบู่ า้ นทไี่ ด้จัดเก็บ และสามารถนาไปกาหนดวิธีการในการพฒั นาและแกไ้ ขปัญหาของหมู่บ้านได้อย่างถูกต้อง 2) เพื่อจัดทาแผนงาน/โครงการ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จากหน่วยงานที่เก่ียวข้องท้ังใน และนอกพ้นื ที่ ตลอดจนเปน็ ขอ้ มลู เพอื่ ใช้ในการประสานแผนการพฒั นาในระดบั ที่สงู ขนึ้ 3) เพ่ือปรับเปล่ียนแนวคิด ให้ประชาชนได้รู้จักคิด รู้จักทา รู้จักแก้ไขปัญหา ภายในหมู่บ้านโดย ประชาชนในหมู่บา้ น ซ่ึงจะนาไปส่กู ารลดการพ่งึ พาภาครฐั และการพ่งึ พาตนเองอยา่ งยั่งยืน 4) เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของคนในหมู่บ้าน เกิดความสามัคคี เป็นอันหนึ่งอัน เดียวกัน ซึ่งเป็นการส่งเสริมการพัฒนาในระบอบประชาธิปไตย ตลอดจนสร้างจิตสานึกสาธารณะ ในการปฏิบัตงิ านเพื่อสว่ นรวม อย่างไรก็ตามการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านในหลายพื้นที่ยังไม่อาจประสบความสาเร็จอันเกิด มาจากปัญหาหลายประการ ดังน้ี 1) ด้านความเขา้ ใจในการจดั ทาแผนพัฒนาหมบู่ ้าน พบวา่ หมู่บา้ นจานวนมากยังไม่เข้าใจถึงความสาคัญในการ จดั ทาแผนพัฒนาหมูบ่ ้าน โดยเขา้ ใจวา่ การจดั ทาแผนพัฒนาหมู่บ้านเป็นการ จัดทาโครงการเพ่ือของบประมาณเท่าน้ัน แต่ในความเป็นจริงแล้ว แผนพัฒนาหมู่บา้ นมีจดุ ประสงคเ์ พ่ือให้หมบู่ า้ นได้รวบรวมข้อมูลท่ีสาคัญของ หมู่บ้าน แล้วนาข้อมูลนั้นไปวิเคราะห์สภาพความเป็นจริง เพื่อนาไปสู่การ จัดการปญั หา หรอื พัฒนาจุดแข็งของหมู่บ้าน ผ่านโครงการที่ใช้งบประมาณ และไมใ่ ชง้ บประมาณ ตลอดจนกาหนดกิจกรรมของหมู่บา้ นในรอบปี
12 2) ด้านความทับซอ้ นของแผนงานต่างๆ ในพื้นที่บางหมู่บ้านได้มีหน่วยงานเข้าไปส่งเสริมให้หมู่บ้านจัดทาแผนชุมชน เช่น กรมการ พัฒนาชุมชน (พช.) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อบต. เทศบาล อบจ.) ในพ้ืนท่ี สานักงานคณะกรรมการ กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ศูนย์การศึกษานอก โรงเรียน (กศน.) เครือข่ายแผนแม่บทชุมชนพึ่งตนเอง 4 ภาค เป็นต้น จึงทาให้หมู่บ้านนั้นๆ มีแผนพัฒนา มากกว่า 1 แผน ซึง่ แผนพัฒนาส่วนใหญ่อาจเป็นการทาภารกิจท่ีซ้าซ้อนกันและขาดการเชื่อมโยงซ่ึงกันและกัน และอาจทาให้ประชาชนในหมู่บ้านเกิดความสับสนในการใช้แผนฯ เนื่องจากขาดความแน่ใจว่าจะต้อง ดาเนินการตามแผนพัฒนาฉบบั ใด 3) ด้านองคค์ วามรใู้ นการจัดทาแผนพฒั นาหมูบ่ า้ น แผนพัฒนาหมู่บ้านจานวนมากท่ีจัดทาข้ึนโดยขาดความรู้ความเข้า ใจในเคร่ืองมือพื้นฐาน ในการวเิ คราะหส์ ภาพความเป็นจริงของหมู่บ้าน เนือ่ งจากการจัดทาแผนฯ น้ันต้องอาศัยองค์ความรู้ ซึ่งหมู่บ้าน จานวนมากยังขาดบุคลากรในการดาเนินการดังกล่าว อีกท้ังขาดท่ีปรึกษาในระดับพื้นท่ีที่สามารถให้ ความช่วยเหลือในเร่ืองแผนฯ โดยเฉพาะได้ อีกทั้งบางพื้นที่ไม่เข้าใจในเร่ืองการจัดทารูปเล่มแผนฯ พื้นฐาน โดยไม่ทราบว่าจะเรยี งลาดบั และใสข่ อ้ มลู ตา่ งๆ อยา่ งไร 4) ดา้ นการเชอ่ื มโยงของแผนพัฒนา พบว่าการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านในระดับพ้ืนที่ มิได้มีการ เช่ือมโยงกับแผนพัฒนาในระดับท่ีสูงข้ึน เช่น การนาสภาพปัญหา โครงการ/ กิจกรรม ความต้องการของประชาชนในหมู่บ้านไปปฏิบัติ ซ่ึงส่งผลอย่างย่ิงต่อ แรงจูงใจในการจัดทาแผนพัฒนาและการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนใน หมู่บ้าน เนื่องจากเมื่อดาเนินการจัดทาแผนแล้วแต่มิได้ถูกนาไปใช้จริงได้อย่าง เต็มประสิทธภิ าพ 5) ดา้ นการมสี ่วนร่วมในการจัดทาแผน การจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านในบางพ้ืนที่เป็นการจัดทาแผนฯ โดยขาดการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในหมู่บ้าน เป็นเพียงงานของคณะกรรมการหมู่บ้าน ย่ิงไปกว่านั้นในบางพ้ืนที่ยังขาดการมีส่วนร่วม และสนับสนนุ ของส่วนราชการทจี่ ะตอ้ งเขา้ มาเปน็ พี่เลีย้ งในการจดั ทาแผนพัฒนาทั้งกระบวนการ ซ่ึงส่งผลอย่าง ย่งิ ต่อคณุ ภาพของแผนพัฒนาหมูบ่ า้ น จากปัญหาในการจัดทาแผนพัฒนาและการนาแผนไปสู่การปฏิบัติ กระทรวงมหาดไทย จึงได้ออกระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผน และประสานแผนพัฒนาพ้ืนที่ในระดับอาเภอและตาบล พ.ศ. 2562 โดยมี จดุ ประสงค์เพ่อื แกไ้ ขปัญหาดงั กลา่ วข้างต้น
13 ข้นั ตอนการจดั ทาแผนพฒั นาหมบู่ า้ น การจัดทาแผนพัฒนาหมู่บา้ น โดยคณะกรรมการหมบู่ ้าน (กม.) ได้กาหนดขัน้ ตอนไว้ 8 ขนั้ ตอน ดงั นี้ ข้ันตอนที่ 1 การจดั เก็บขอ้ มูลครัวเรอื น ขอ้ มลู หมู่บา้ น มีขน้ั ตอน ดังนี้ 1) ข้อมูลครัวเรือน คณะกรรมการหมู่บ้าน ออกแบบการจัดเก็บข้อมูลและมอบหมายให้หัวหน้า คุ้มบ้าน หัวหน้ากลุ่มบ้าน หรือเขตบ้านแล้วแต่กรณี เป็นผู้รับผิดชอบจัดเก็บ สารวจข้อมูลครัวเรือนในคุ้ม กลุ่ม หรือเขตที่รับผิดชอบ โดยข้อมูลครัวเรือนอาจประกอบด้วยข้อมูลรายรับรายจ่าย หนี้สิน พาหนะ จานวนเด็ก ผู้สงู อายุ ผ้พู ิการ ผูป้ ว่ ยจาแนกตามโรค เป็นต้น ทั้งน้ี ข้อมูลครัวเรือน กม. สามารถกาหนดเพ่ิมเติม ได้ตามความเหมาะสมของพ้ืนที่ 2) ขอ้ มูลหม่บู ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน จัดเกบ็ ข้อมูลหมู่บ้าน โดย รวบรวมจากข้อมูลครวั เรือน และจดั เก็บข้อมลู อน่ื ๆ ของหมู่บ้าน เชน่ ถนน ป่า ทสี่ าธารณประโยชน์ทปี่ ระชาชนใช้รว่ มกัน คลอง หนอง บึง ซ่ึงควรจะระบุ ขนาด กว้าง ยาว ลกึ ของแหล่งนา้ ดว้ ย ฯลฯ ขั้นตอนที่ 2 การเตรยี มการประชุมประชาคมหมู่บ้าน เมื่อได้ข้อมูลครบถ้วนแล้ว กม. มีหน้าท่ีสรุป รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลในเบ้ืองต้นก่อนจัดทาร่าง แผนพัฒนาหม่บู ้าน นาเสนอในทป่ี ระชมุ ประชาคมหมู่บา้ น ซ่ึงการเตรียมร่างแผนพัฒนาก่อนจะทาให้มีแนวทาง ในการรับฟังความคิดเห็น ถ้าหากไม่มีการจัดทาร่างไว้ล่วงหน้าอาจทาให้ การประชุมประชาคมล่าช้า และไม่ประสบความสาเร็จได้ ในขั้นตอนการ เตรียมการประชุมประชาคมหม่บู า้ น กม. ควรดาเนินการ ดงั น้ี 1) คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) ประชุมกาหนด วัน เวลา และ สถานที่ในการประชุมประชาคมหมู่บ้านตามความเหมาะสม แล้วแจ้งให้ ประชาชนในหม่บู า้ นและอาเภอทราบล่วงหนา้ อย่างน้อย 15 วัน
14 2) เมื่ออาเภอรับทราบวันประชุมประชาคมหมู่บ้านแล้ว อาเภอดาเนินการแจ้งหมู่บ้านให้เตรียมความ พร้อมในการจัดประชุม และมีหนังสือแจ้งส่วนราชการและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในพ้ืนท่ีทราบถึงวันจัด ประชมุ ประชาคม พรอ้ มส่งผู้แทนเขา้ รว่ มประชุมฯ เชน่ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ สานักงานท้องถ่ินอาเภอ สานักงานเกษตรอาเภอ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นในพื้นท่ี รฐั วสิ าหกิจ และภาคเอกชน เปน็ ต้น 3) คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กาหนดการประชุมย่อยเพ่ือจัดทาร่างแผนพัฒนาหมู่บ้าน โดย ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชน ผู้นาศาสนสถาน สถานศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และส่วน ราชการในพื้นที่ เข้าร่วมระดมความคิดในการวิเคราะห์ข้อมูลหมู่บ้านเบ้ืองต้น การกาหนดโครงการ/กิจกรรม และเรียงลาดับความสาคัญของโครงการ/กิจกรรม โดยท่ีทาการปกครองอาเภอ และสานักงานพัฒนาชุมชน อาเภอเปน็ พเี่ ลี้ยงในการศึกษาและวเิ คราะหข์ ้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน 4) คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) จัดทาร่างแผนพัฒนาหมู่บ้าน โดยมีรายละเอียดแผนงาน/โครงการ เบอ้ื งต้นตามแนวทางในข้นั ตอนที่ 4 การจัดทาแผนพัฒนาหมบู่ ้าน เพือ่ เตรยี มเสนอต่อที่ประชมุ ประชาคมหมู่บ้าน ขั้นตอนท่ี 3 การประชุมประชาคมหมู่บา้ น 1) ผูใ้ หญ่บา้ น ในฐานะประธานกรรมการหมู่บ้าน ตรวจสอบผู้มีสทิ ธิเขา้ ร่วมลงคะแนนในการประชุม ประชาคม คอื ตอ้ งเปน็ ราษฎรทีม่ ีภูมลิ าเนาในหมู่บ้านผู้มีสทิ ธิเลอื กผ้ใู หญ่บา้ น โดยใชห้ ลักการราษฎรคนหนึง่ มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน และในกรณีที่มีเสียงเท่ากัน ให้ผู้ใหญ่บ้านมีสิทธิออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่ง เป็นเสียงชี้ขาด พร้อมทั้งให้ราษฎรผู้เข้าร่วมประชุมประชาคมทุกคนลงรายมือชื่อไว้เป็นหลักฐานด้วยทุกคร้ัง ทั้งน้ี แม้ว่าผู้เข้าร่วมประชุมมิได้มีสิทธ์ิเลือกผู้ใหญ่บ้าน แต่ท่ีประชุมควรให้สิทธิ์ในการแสดงความคิดเห็นใน ฐานะผู้เข้ารว่ มประชมุ ได้ 2) การประชุมประชาคมหมู่บ้านจะต้องมีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ตัวแทนครัวเรือนที่อาศัยอยู่จริง ซึ่งเป็นผู้มีสิทธิ์เลือกผู้ใหญ่บ้านอย่างน้อย ครัวเรือนละ 1 คน จานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของครัวเรือน ที่มีผู้อาศัยอยู่จริง กรณีในการประชุมครั้งแรก มีผู้เข้าร่วมประชุมไม่ถึงร้อยละ 50 ให้คณะกรรมการหมู่บ้านเรียก ประชุมคร้ังท่ี 2 ใหม่อีกครั้ง ภายใน 7 วัน นับจากประชุมครั้งแรก โดยในการประชุมครั้งท่ี 2 นี้ หากมีตัวแทน ครัวเรือนเขา้ รว่ มประชมุ ไม่ถึงร้อยละ 50 กใ็ หถ้ อื วา่ เป็นการประชุมประชาคมและให้ดาเนินการประชุมต่อไปได้ 3) เมอื่ ท่ีประชุมประชาคมหมู่บ้านลงมติในเรื่องใดแล้ว ให้คณะกรรมการหมู่บ้านประกาศให้ราษฎรใน หมู่บ้านทราบโดยท่ัวกัน และปฏิบัตติ ามมตขิ องท่ีประชุมประชาคมหมู่บ้านในเรื่องนั้นๆ ท้ังน้ี มติประชาคมต้อง ไมข่ ัดตอ่ กฎหมาย และระเบียบของทางราชการ 4) คณะกรรมการหมู่บ้านจะต้องจัดทาสรุปการประชุม ลงนามรับรองโดยประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน ปลดั อาเภอผูร้ บั ผิดชอบประจาตาบล ผู้แทนสว่ นราชการ และหน่วยงานอื่นๆ ที่เข้าร่วมในการประชุมประชาคม และ แจง้ ใหอ้ าเภอทราบ
15 5) ราษฎรในหมู่บ้านผู้มสี ิทธิเลือกผู้ใหญ่บ้านจานวนไมน่ ้อยกว่าสบิ คนอาจลงลายมือช่ือทาหนังสือเสนอ ความคิดเห็นในเร่ืองเก่ียวกับกิจกรรมหรือประโยชน์สาธารณะของหมู่บา้ นต่อคณะกรรมการหมู่บา้ นเพื่อให้มีการ พิจารณาในคณะกรรมการก็ได้ และคณะกรรมการจะต้องนาเร่ืองดังกล่าวบรรจุเข้าวาระการประชุมในคราวต่อไป ขนั้ ตอนที่ 4 การจัดทาแผนพฒั นาหมู่บ้าน ข้ันตอนการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน เป็นข้ันตอนท่ีอยู่ระหว่างการประชุมประชาคมหมู่บ้าน ซ่ึงเป็นการกาหนดแนวทาง แผนงาน/โครงการ ตลอดจนรายละเอียดต่างๆ ท่ีปรากฏภายในแผนพัฒนาหมู่บ้าน โดยขัน้ ตอนแรกจะต้องพจิ ารณาถึงโครงสร้างของรูปแบบแผนพัฒนาหมู่บ้านก่อน เพ่ือให้เห็นว่าควรจะใช้ข้อมูล และจัดเรียงลาดับข้อมูลอย่างไร สาหรับโครงสร้างของแผนพัฒนาหมู่บ้าน มีรูปแบบแผนพัฒนาหมู่บ้านท่ีได้ ปรับปรุงใหม่ ตามประกาศ มท. ว่าด้วยการจัดทาและประสานแผนพฒั นาฯ ประกอบดว้ ย 6 สว่ นสาคญั ได้แก่
16 สว่ นที่ 1 ข้อมลู ทัว่ ไปของหมู่บ้าน สว่ นที่ 2 การวเิ คราะหข์ ้อมูล การประเมินศักยภาพของหมู่บา้ น (จดุ อ่อน จุดแข็ง โอกาส ภยั คกุ คาม) ส่วนท่ี 3 สภาพปัญหาและความต้องการของหมู่บา้ น ส่วนที่ 4 โครงการ/กจิ กรรมการบูรณาการแผนพัฒนาหมู่บ้าน สว่ นที่ 5 การทบทวนแผนพัฒนาหมูบ่ า้ น ส่วนที่ 6 เรอื่ งอ่นื ๆ ในที่นี้ จะกล่าวถึงการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านในรายละเอียด โดยเรียงลาดับในแต่ละส่วนพร้อม ยกตวั อยา่ งใหเ้ กิดความเขา้ ใจมากย่งิ ข้นึ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน ส่วนนี้จะกอบไปด้วยข้อมูลพ้ืนฐานของหมู่บ้าน อาทิ แผนที่ ของหมู่บ้าน อาณาเขต ขนาดพ้ืนที่ ประวัติความเป็นมา แหล่งธรรมชาติ ข้อมูลสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน สถานท่ี ราชการตา่ งๆ นอกจากนยี้ งั ตอ้ งบรรจุข้อมลู พ้นื ฐานของหม่บู า้ น ตาม จปฐ. และ กชช.2ค. เช่น ข้อมูลประชากร ตามช่วงอายุ ข้อมูลผู้พิการ ข้อมูลด้านสุขภาพ ข้อมูลด้านการศึกษา การประกอบอาชีพ และการว่างงาน เป็น ตน้ โดยขอ้ มลู ดงั กล่าวหมบู่ ้านสามารถสบื คน้ ไดจ้ าก http://ebmn.dd.go.th/ ของกรมการพัฒนาชุมชน หรือ สามารถขอความอนุเคราะห์ข้อมูล จปฐ. และ กชช.2ค. ได้จากสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ท้ังน้ีหมู่บ้าน สามารถเพ่มิ เติมข้อมลู อื่นๆ ทเี่ ห็นวา่ มีประโยชนไ์ ดต้ ามความเหมาะสมของพืน้ ท่ี ส่วนท่ี 2 การวิเคราะห์ข้อมูล การประเมินศักยภาพของหมู่บ้าน (จุดอ่อน จุด แข็ง โอกาส ภัยคุกคาม) ในส่วนน้ีหมู่บ้าน จะต้องนาข้อมูลท่ีได้รวบรวมไว้มาวิเคราะห์ถึง สภาพความเป็นจริงของหมู่บ้าน ผ่านการ วิเคราะห์ SWOT หรือการวิเคราะห์จุดอ่อน จุด แข็ง โอกาส และภัยคกุ คาม เป็นวิธีการวิเคราะห์สภาพขององค์กรพ้ืนฐาน ซึ่งในอดีตถูกเร่ิมใช้ในภาคเอกชน เนื่องจากการวิเคราะห์ SWOT สามารถเข้าใจง่าย ไม่ยุ่งยาก จึงถูกนามาใช้อย่างแพร่หลาย โดยการวิเคราะห์สภาพ ความเป็นจริงของหมู่บ้าน ต้องเริ่มจากแยกองค์ประกอบของ SWOT ออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ S คือ จุดแข็ง (Strength) W คือ จดุ ออ่ น (Weakness) O คอื โอกาส (Opportunity) และ T คอื ภัยคกุ คาม (Threat) ในแผนพัฒนาหมู่บ้านนั้น ได้กาหนดให้ SWOT มาใช้เป็นวิธีการพ้ืนฐาน เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลท่ีหมู่บ้าน เก็บรวบรวมไว้ โดยเรม่ิ จากการวเิ คราะห์ คือ ปัจจัยท่ีหมู่บ้านมีอยู่แล้วสามารถนาพาหมู่บ้านไปสู่ความสาเร็จได้ โดย ปัจจัยเหล่านี้อาจเป็นความสาเร็จเดิมของหมู่บ้านซ่ึงมีส่วนช่วยให้ภารกิจต่างๆ บรรลุผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ตัวอย่างการวิเคราะห์หาจุดแข็งของหมู่บ้าน เช่น มีผู้นาที่มีความรู้ความสามารถ มีประชาชนที่พร้อมให้ความ
17 ร่วมมือ มีกลุ่มเยาวชนท่ีเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติด เป็นต้น โดยจุดแข็งน้ีเป็นปัจจัยภายใน ซ่ึงหมายถึง เป็นสิ่งที่ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ให้ดีข้ึนหรือแย่ลงได้ เช่น หมู่บ้านท่ีประชาชนพร้อมให้ความร่วมมือดี เมื่อเวลาผ่านไป หากไม่มีการรักษาความร่วมมือไว้ อาจทาใหค้ วามรว่ มมอื ท่มี เี สยี ไปไดจ้ นนาไปสกู่ ารขาดความรว่ มมือในอนาคต คือ ปัจจัยที่ขัดขวางไม่ให้หมู่บ้านบรรลุผลตามภารกิจหรือไม่สามารถใช้ ศกั ยภาพของหมู่บ้านไดอ้ ย่างเต็มท่ี ซ่ึงจะทาให้หมู่บ้านไม่ประสบความสาเร็จและไม่สามารถพัฒนาได้ ตัวอย่าง การวิเคราะห์หาจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องของหมู่บ้าน เช่น เป็นหมู่บ้านท่ีมีการแพร่ระบาดของยาเสพติด ขาด ผู้นาที่เข้มแข็ง ขาดความร่วมมือจากประชาชน ขาดองค์ความรู้ทางเทคโนโลยี โดยจุดอ่อนนี้เป็นปัจจัยภายใน ซ่ึงหมายถึงเป็นส่งิ ที่สามารถเปล่ยี นแปลงให้ดีข้นึ หรือแย่ลงได้ เช่น การทหี่ มูบ่ ้านมกี ารแพร่ระบาดของยาเสพติด ถ้าหากผู้นาและประชาชนจัดหามาตรการในการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพก็จะทาให้ปัญหาการแพร่ ระบาดของยาเสพติดหมดไปได้ คือ สภาพแวดล้อมท่ีสร้างให้เกิดโอกาสให้กับหมู่บ้าน โดยหมู่บ้านสามารถ ใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมที่เป็นโอกาสน้ีโดยมีการวางแผนกิจกรรม โครงการที่สอดคล้องกับโอกาส ที่เกิดข้ึน ตัวอย่างการวิเคราะห์หาโอกาสของหมู่บ้าน การที่รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน ซ่ึงถือว่าเป็นโอกาสที่เกิดข้ึน ดังน้ันหมู่บ้านท่ีมีความพร้อมอาจดาเนินโครงการเปิดรับนักท่องเท่ียวเพื่อ ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลและได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุน ท้ังน้ีโอกาส ถือเป็นปัจจัยภายนอก ซึ่งหมายถึงเป็นส่ิงท่ีหมู่บ้านไม่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้ หรือนอกเหนือการควบคุมของหมู่บ้าน เช่น การ กาหนดนโยบายของรัฐบาลว่าจะส่งเสริม สนับสนุน หรืออุดหนุนกิจการใด เป็นสิ่งท่ีหมู่บ้านแทบจะไม่สามารถ กาหนดได้ คือ ปัจจยั ทสี่ ง่ ผลร้ายต่อการประสบความสาเร็จของหมู่บ้าน ซ่ึงอุปสรรคเป็นสิ่ง ที่ไม่สามารถควบคุมได้นาไปสู่ความเส่ียงของความม่ันคงและการอยู่รอดของหมู่บ้าน ตัวอย่างการวิเคราะห์ อปุ สรรค เชน่ การที่ราคาสินคา้ การเกษตรตกต่า ราคาปัจจยั การผลติ สูงข้นึ การจดั สรรงบประมาณท่ีไม่เพียงพอ เป็นต้น ซึ่งส่ิงเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อหมู่บ้านที่มีส่วนเกี่ยวข้อง อาทิ หมู่บ้านท่ีพ่ึงพาการเกษตร จะได้รับผลกระทบอย่างมากเม่ือสินค้าเกษตรบางชนิดตกต่าเนื่องจากปัจจัยของตลาดโลก ทั้งน้ีอุปสรรค ถือเป็นปัจจัยภายนอกเช่นเดียวกับโอกาส หมายถึง หมู่บ้านไม่สามารถควบคุมการเกิดข้ึนของอุปสรรคได้ ซึ่งสิ่งที่หมบู่ า้ นทาได้คือการเตรียมการรับกับปัญหาหรือมีการดาเนินโครงการ/กิจกรรมที่ช่วยลดผลกระทบจาก อุปสรรค เช่น การท่ีราคาสินค้าเกษตรบางชนิดตกต่า หมู่บ้านอาจส่งเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑ์เพ่ือเพ่ิมมูลค่า แทนที่การขายผลผลิตทางการเกษตรโดยตรง เปน็ ตน้
18 นอกจากการวิเคราะห์สภาพความเป็นจริงของหมู่บ้านโดย SWOT แล้ว ลาดับต่อไปหมู่บ้านจะต้อง กาหนดเป้าหมายการพัฒนา หรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า วิสัยทัศน์ โดยเป้าหมายการพัฒนา น้ันหมาย ถึง เป้าหมายขององค์กรในชว่ งเวลาระยะกลางและระยะยาว สะท้อนถึงจุดหมายที่องค์กรต้องการจะไปถึง สาหรับ หมูบ่ ้านแลว้ เปา้ หมายการพัฒนาของหมูบ่ ้าน กค็ ือ จดุ หมายในชว่ งระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่งอาจจะเป็นระยะ กลาง 3 - 5 ปี หรือระยะยาว 30 ปี ที่หมู่บ้านกาหนดไว้เพ่ือให้ประชาชนในหมู่บ้านรับทราบและปฏิบัติให้ เป้าหมายนั้นบรรลุผล อย่างไรก็ตามการกาหนดเป้าหมายการพัฒนา อาจจะถูกเข้าใจไม่ตรงกันและ บางหมบู่ า้ นอาจจะไมท่ ราบวา่ เป้าหมายการพัฒนาท่ีดจี ะต้องเปน็ อยา่ งไร จงึ ขออธิบายดังน้ี 1) การกาหนดเปา้ หมายการพฒั นาควรมองภาพไปในอนาคต คือ เป้าหมายการพัฒนาต้องเป็นการคิด เพอ่ื ทาให้หมู่บ้านดีขึน้ โดยกาหนดจุดหมายท่ีหมู่บ้านต้องการจะเป็น ซึ่งไม่ใชส่ ง่ิ ทเ่ี ป็นในปจั จุบัน 2) เป้าหมายการพัฒนาที่ดีจะต้องถูกพิสูจน์โดยการท่ีผู้กาหนดต้องจาลองตัวเองเป็นบุคคลภายนอก หมบู่ า้ น ว่าหากเป็นนอกมองแล้วเป้าหมายการพัฒนาทกี่ าหนดน้ันมีความเป็นไปได้หรือไม่ 3) ระยะเวลาที่กาหนดเพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์กรควรอยู่ในระยะที่ไม่ส้ันหรือยาวเกินไป อาจจะ 3 - 5 ปีข้างหน้า การกาหนดระยะเวลาท่ีสั้นเกินไปการปฏิบัติงานตามเป้าหมายการพัฒนา เกิดความสาเร็จได้ยาก และการกาหนดระยะเวลาท่ียาวเกินไปอาจจะไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกที่ เกิดขน้ึ ตลอดเวลา 4) การกาหนดเป้าหมายการพัฒนา ควรส้ัน กระชับ ครอบคลุม เข้าใจง่าย ซึ่งในบางครั้งการกาหนด เป้าหมายการพัฒนา มักจะเป็นการบรรจุทุกความต้องการของหมู่บ้านมาไว้รวมกัน ซ่ึงอาจทาให้เป้าหมาย มถี อ้ ยคาที่ฟมุ่ เฟือย ดังนัน้ ควรกาหนดเป้าหมายโดยเลอื กรายละเอียดเพยี งทจ่ี าเปน็ และสาคัญท่ีสดุ 5) เป้าหมายการพัฒนาท่ีดีจะต้องสอดคล้องและสัมพันธ์กับเป้าหมายการพัฒนาของหน่วยงานบังคับ บัญชา กรณเี ปา้ หมายการพฒั นาของหมบู่ า้ นควรจะสอดคลอ้ งกับอาเภอ จังหวัด เป็นตน้ โ ป ร แ ก ร ม วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ชุ ม ช น ใ น ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ เ พ่ื อ บู ร ณ า ก า ร ว า ง แ ผ น (Community Information Radar Analysis) 1.) วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิเคราะหข์ ้อมูลชุมชนด้วย โปรแกรม CIA โปรแกรม Community Information Radar Analysis หรือ CIA เป็นเคร่ืองมือที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศอย่างง่าย พัฒนาโดยกรมการพัฒนาชุมชน โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel โดยมุ่ง หมายให้หมู่บ้าน/ชุมชนสามารถนาไปวิเคราะห์ข้อมูลสาคัญต่าง ๆ ของหมู่บ้านท่ีมีการจัดเก็บ อาทิ ข้อมูล จปฐ. กชช.2ค. และข้อมูลอื่นๆ ของหมู่บ้าน เพ่ือนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น 5 ด้าน ไดแ้ ก่ 1.1) สารสนเทศเพื่อการพฒั นาด้านอาชีพ 1.2) สารสนเทศเพ่ือการจัดการทนุ ของชมุ ชน 1.3) สารสนเทศเพื่อจัดการความเสยี่ งชมุ ชน 1.4) สารสนเทศเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน 1.5) สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการชมุ ชน
19 2.) การวิเคราะห์ข้อมูลดว้ ย Radar Analysis 2.1) ดาวโหลดโปรแกรม Community Information Radar Analysis จากเว็บไซต์ของ กรมการพัฒนาชมุ ชน หรือสานกั งานพัฒนาชุมชนจงั หวดั โดยโปรแกรมแบง่ การใชง้ านเป็น 4 ส่วน ไดแ้ ก่ 2.1.1) Data : ข้อมูล 2.1.2) Radar Diagram : วิเคราะห์ข้อมลู แต่ละประเภท 2.1.3) Radar Analysis : วิเคราะห์ข้อมลู ภาพรวม 2.1.4) Logic Model : แผนบรู ณาการการพฒั นาคุณภาพชีวติ 2.2) คลิกเลอื กสว่ นท่ี 1. Data ป้อนขอ้ มูลชมุ ชน 2.2.1) ข้อมูล จปฐ. ป้อนข้อมูลเฉพาะร้อยละที่ไม่ผ่านเกณฑ์ (เฉพาะข้อท่ีตกเกณฑ์) ตามขอ้ คาถาม จปฐ. ทั้ง 31 ตวั ชี้วัด 2.2.2) ข้อมูล กชช.2ค. ป้อนค่าคะแนนระดับปัญหา คือ 1 หรือ 2 หรือ 3 ตามข้อ คาถามของ กชช.2ค. ทัง้ 33 ตวั ชว้ี ดั 2.2.3) หากหมู่บ้าน/ชุมชน มีข้อมูลอ่ืน ๆ ให้วิเคราะห์ข้อมูลน้ัน เป็น 5 ประเภท ตาม ประเดน็ การพฒั นาหม่บู ้าน แล้วเพ่มิ ขอ้ มลู 2 ช่อง คือ (1) ชอ่ งสเี หลอื ง กรอกรายละเอยี ดช่อื ข้อมลู นนั้ เช่น 1. ข้อมลู ภมู ิปัญญา (2) ช่องสีสม้ ให้กรอกระดับของปญั หาของข้อมูลนัน้ โดย 3 = ปญั หานอ้ ย 2 = ปญั หาปานกลาง 1 = ปัญหามาก
20 2.2.4) การกรอกขอ้ มลู พื้นฐานสาคญั ของหมบู่ ้านในโปรแกรม CIA การกรอกค่าคะแนนระดับปัญหาลงในช่องท่ีกาหนดคือ 1, 2, 3 หากมีการ กรอกข้อมูลผิดพลาดหรือคาดเคลื่อนไปจากรูปแบบท่ีกาหนด ระบบจะแสดงหน้าจอแจ้งเตือนเพ่ือให้แก้ไข ขอ้ มูลใหถ้ กู ตอ้ ง 2.3) คลิกเลือกส่วนท่ีสอง Radar Diagram หรือกด เพ่ือดูผังเรดาร์ ที่แสดงให้เห็นถึงผลการวิเคราะห์ข้อมูลหมู่บ้าน ซ่ึงบ่งชี้ปัญหาและระดับของปัญหาท่ีได้ถูกจัดแบ่งไว้ 5 ด้าน เพือ่ ใช้ขอ้ มลู ดังกล่าวในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนต่อไป
21 2.4) คลิกเลอื กสว่ นท่สี าม Radar Analysis หรือไอคอน เพ่ือดูภาพรวมของ ผลการวิเคราะห์ท้ังหมด โดยผัง Radar Analysis จะเป็นการรวมข้อมูลทุกส่วนที่เราได้กรอกลงไปในโปรแกรม ได้แก่ ข้อมลู จปฐ. กชช.2ค. และข้อมลู อนื่ ๆ เขา้ ดว้ ยกัน แลว้ วเิ คราะห์ออกมาในภาพรวม หมายเหตุ: หมู่บ้านสามารถใช้ผลการวิเคราะห์จาก Radar Diagram ซ่ึงเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเพียงตัวใดตัวหน่ึง หรอื Radar Analysis ทใ่ี ช้การวเิ คราะห์แบบรวมข้อมูลทั้งหมด ได้โดยขน้ึ อย่กู ับเวทีประชาคมของหมบู่ า้ น 3.) เทคนิคการแปลความข้อมลู 3.1) การแปลความ Radar Diagram และ Radar Analysis จากการกรอกข้อมูล จะเห็นได้ว่าร้อยละไม่ผ่านเกณฑ์ของข้อมูล จปฐ. และระดับปัญหา ของขอ้ มลู กชช.2ค. มีคา่ คะแนนทีต่ ่างกันระหวา่ งสองชุดขอ้ มูล และโปรแกรมได้ทาการแปลงข้อมูลเชิงคุณภาพ เปน็ ขอ้ มลู เชิงปริมาณเรยี บร้อยแล้ว เพอื่ การนาเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยผังเรดาร์ห้าเหลี่ยม ซึ่งจะสะท้อนภาพ ของผลการวิเคราะห์ทง้ั หมดออกมาพรอ้ มกันไดอ้ ยา่ งชัดเจน 3.1.1) ผังเรดาร์หา้ เหลยี่ ม หมายถึง หัวข้อการพัฒนาทั้ง 5 ด้าน ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ไว้ เพ่ือแสดงถึงผลการวิเคราะห์ปัญหาแต่ละด้าน ให้ชดั เจนยิง่ ข้ึน
22 3.1.2) ค่าคะแนนใน มีกาหนดค่าตั้งแต่ 0, 1, 2, และ 3 หมายถึงระดับปัญหาในแต่ละ ด้านของหม่บู า้ น 3.1.3) กราฟเส้น แสดงข้อมูลแต่ละกลุ่มท่ีนามาวิเคราะห์ให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น และ คาอธิบายกากับตามสีของกราฟเส้นน้ัน ๆ เช่น สีน้าเงิน = ข้อมูล จปฐ., เส้นสีแดง = ข้อมูล กชช.2ค, เส้นสีเขียว = ขอ้ มลู อน่ื ๆ และเส้นสีฟ้า = ข้อมลู ในภาพรวม 3.1.4) การแปลค่า เพ่ือให้ง่ายในการวิเคราะห์ สามารถจัดกลุ่มค่าคะแนนในสเกล ดงั น้ี กลมุ่ ที่ 1 คา่ คะแนนอยู่ในชว่ ง 0-1 แสดงถึงสถานะปัญหาว่า มปี ญั หามาก กลมุ่ ที่ 2 ค่าคะแนนอยู่ในชว่ ง 1-2 แสดงถึงสถานะปญั หาว่า มปี ญั หาปานกลาง กล่มุ ที่ 3 ค่าคะแนนอยู่ในช่วง 2-3 แสดงถึงสถานะปญั หาว่า มีปญั หานอ้ ย หรือไม่มปี ัญหาเลย 3.1.5) ผลการวิเคราะห์ การเลอื กประเด็นในการพัฒนาท้ัง 5 ด้านน้ัน หมู่บ้านควรเลือก ดา้ นท่มี รี ะดับปญั หามากท่ีสุด หรือค่าคะแนนในสเกลอยู่ใกล้ 0-1 เป็นอันดับแรก หรือประเด็นท่ีมีค่าคะแนนช่วงท่ี 1-2 เป็นอันดับสอง และค่าคะแนนช่วง 2-3 เป็นอันดับสาม ตามลาดับ จากปัญหามากไปจนถึงปัญหาน้อย นอกจากนั้นหมู่บ้านยังสามารถเลือกประเด็นในการพัฒนาตามความสาคัญของข้อมูลท่ีมีผลกระทบโดยตรงกับ หมู่บา้ นได้อกี รปู แบบหนงึ่ ส่วนท่ี 3 สภาพปัญหาและความต้องการของหมู่บ้าน ในส่วนนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ประชาชน ในหมู่บ้าน เมื่อผ่านการวิเคราะห์ข้อมูลสาคัญของหมู่บ้านผ่านการวิเคราะห์ SWOT และใช้โปรแกรม CIA แล้ว สามารถนาขอ้ มูลนั้นมาระบุปัญหาความตอ้ งการทเี่ กิดข้ึนในหมู่บ้านได้ โดยปัญหาความต้องการของหมู่บ้านนั้น ประชาชนจะตอ้ งกาหนดว่าในหมบู่ า้ นมีปญั หาอะไร สาเหตขุ องปัญหาน้นั เกดิ ขน้ึ จากอะไร และจะสามารถแก้ไข ปญั หานัน้ ได้อย่างไร โดยจะตอ้ งเรยี งลาดบั ปญั หาความต้องการตามความสาคญั เพ่ือให้ง่ายต่อการท่ีส่วนราชการ จะหยบิ ยกปญั หาเหลา่ น้ันเพือ่ ดาเนนิ การแก้ไข หากนอกเหนือจากศักยภาพของหมู่บ้าน นอกจากน้ีหมู่บ้านอาจ แบง่ กลุ่มปัญหาความต้องการ ออกเป็นแต่ละด้าน เช่น ด้านเศรษฐกิจ ด้านสาธารณูปโภค ด้านการศึกษา ด้าน สังคมและส่งิ แวดลอ้ ม เพ่ือให้เกิดความชัดเจนมากยิง่ ข้นึ ส่วนที่ 4 โครงการ/กิจกรรมการบูรณาการแผนพัฒนาหมู่บ้าน ในส่วนนี้หมู่บ้านจะต้องนา ปญั หาความต้องการของหมูบ่ ้าน หรือศกั ยภาพของหมบู่ ้านที่ผา่ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู มาแล้ว ดาเนินการเพิ่มเติม ดงั น้ี 1) กาหนดรายละเอียดชือ่ โครงการ งบประมาณทค่ี าดวา่ จะใช้ และผูร้ บั ผดิ ชอบเบอื้ งตน้ 2) จัดประเภทของโครงการ/กิจกรรมดังกล่าว 3 ประเภท ได้แก่ โครงการ/กิจกรรมที่หมู่บ้าน ดาเนินการเอง โครงการ/กิจกรรมท่ีหมู่บ้านจะดาเนินการร่วมกับหน่วยงานอ่ืน และโครงการ/กิจกรรมที่ให้หน่วยงานอ่ืน ดาเนินการแทน 3) จัดโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในด้านต่างๆ ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ดา้ นสงั คม ดา้ นทรพั ยากรฯ ดา้ นความมน่ั คง และดา้ นบริหารจดั การ 4) นาโครงการ/กิจกรรม นั้นบรรจุลงในปฏิทินการปฏิบัติงานโดยกาหนดระยะเวลาสาหรับการ ดาเนินโครงการ/กิจกรรม ต่าง ๆ โดยแยกปฏิทินเป็น 3 ส่วน ตามประเภทของโครงการ/กิจกรรม คือ ทาเอง ทาร่วม และทาให้
23 ตัวอย่างโครงการทาเอง เช่น โครงการธนาคารขยะบุญ โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์หมู่บ้าน โครงการอบรมการประกอบอาชีพโดย ปราชญ์ชาวบ้าน โครงการปฏบิ ตั ิธรรมประจาเดือน เป็นต้น ตัวอย่างโครงการทาร่วม เช่น โครงการส่งเสริมการแปร รปู ขยะรไี ซเคลิ โครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้าขนาดกลางเพ่ือสาธารณะ โครงการ ขดุ ลอกคลองส่งนา้ เพ่ือการเกษตรในหมู่บ้าน เป็นตน้ ตัวอยา่ งโครงการทาให้ เ ช่ น โ ค ร ง ก า ร จั ด ส ร้ า ง ถนนลาดยางภายในหมู่บ้าน โครงการอบรมการผลิตสินค้าอินทรีย์ โครงการ จัดสร้างแหล่งน้าขนาดใหญ่ เป็นตน้ ส่วนท่ี 5 การทบทวนแผนพัฒนาหมู่บ้าน โดยกาหนดให้เม่ือหมู่บ้านดาเนินโครงการ/ กจิ กรรม ตามปฏทิ นิ การปฏบิ ตั ิงานครบรอบปีแล้ว ให้คณะกรรมการหมู่บ้าน จัดประชุมประชาคมหมู่บ้าน เพ่ือ แจ้งสรุปผลการดาเนินงานในรูปปีท่ีผ่านมาแก่ประชาชนในหมู่บ้านทราบ ถึงความสาเร็จ ปัญหาและอุปสรรค ของการดาเนินการตามแผนพัฒนาหมู่บ้านในปีท่ีผ่านมา ตลอดจนรับฟังความคิดเห็นข้อเสนอแนะจาก กรรมการหมู่บ้าน ประชาชน ส่วนราชการ และภาคส่วนอ่ืน ๆ เพ่ือนาข้อมูลเหล่านั้นมาประกอบการปรับปรุง แก้ไขแผนพัฒนาหมู่บ้าน โครงการ/กิจกรรม ที่จะดาเนินการในปีต่อไป ซึ่งการทบทวนแผนพัฒนาหมู่บ้านน้ัน กาหนดให้จัดทาอยา่ งน้อยปลี ะ 1 ครัง้ โดยการทบทวนแผนพฒั นาหม่บู า้ นควรพิจารณาถงึ การดาเนินการ ดังน้ี 1) ประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน เรียกประชุมคณะกรรมการหมู่บ้านเพ่ือสรุปผลการ ปฏิบตั ิงานในรอบปที ผี่ า่ นมา และรบั ฟงั ความคิดเห็นกอ่ นจดั ประชมุ ประชาคมหมบู่ ้าน 2) คณะกรรมการหมู่บ้านจัดประชุมย่อยโดยเชิญชวน ประชาชน ส่วนราชการ สถานศึกษา และภาค ส่วนอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือทบทวนแผนพัฒนาหมู่บ้านเบื้องต้น สรุปปัญหาอุปสรรค ความสาเร็จของหมู่บ้าน ข้อสังเกตต่าง ๆ ตลอดจนข้อมูลเพิ่มเติมท่ีเปลี่ยนแปลงจากปีก่อนหน้า ตลอดจนโครงการท่ีต้องการดาเนินการต่อ หรือโครงการใหม่ที่จะดาเนินการในปีถัดไป เพ่ือประกอบการพิจารณาทบทวนแผนพัฒนาหมู่บ้านประจาปีใน ที่ประชมุ ประชาคมหมู่บ้าน 3) คณะกรรมการหมู่บา้ นจดั ประชมุ ประชาคมหมบู่ า้ นตามแนวทางที่กรมการปกครองกาหนด เพื่อนาเสนอผลสาเร็จ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ ข้อมูลเพ่ิมเติมของหมู่บ้าน โครงการ/กิจกรรมท่ีจะ ดาเนนิ การตอ่ เน่ือง และโครงการ/กิจกรรมใหมท่ จ่ี ะดาเนนิ การในปีถัดไปใหท้ ี่ประชุมประชาคมหมู่บ้านรับทราบ และลงมติรบั รองการทบทวนแผน 4) คณะกรรมการหมู่บ้านสรุปมติที่ประชุม และจานวนผู้เข้าร่วมประชุม ตลอดจนรายมือชื่อ ของผู้เข้าร่วมประชุมไว้เป็นหลักฐาน และประธานคณะกรรมการหมู่บ้านลงนามรับรองแผนพัฒนาหมู่บ้าน หลงั จากผ่านการทบทวนแลว้ ส่วนท่ี 6 เรื่องอื่นๆ เป็นส่วนที่สามารถบรรจุข้อมูลเพ่ิมเติมของหมู่บ้านได้ตามที่คณะกรรมการ หมู่บ้านและประชาชนเห็นสมควร เช่น ภาพถ่ายหลักฐานการปฏิบัติงาน หลักฐานการประชุมประชาคมหมู่บ้าน ขอ้ มูลสาคัญตา่ ง ๆ ของหมูบ่ ้าน ทาเนียบคณะกรรมการหมบู่ ้าน เป็นต้น
24 ขน้ั ตอนท่ี 5 การใหค้ วามเห็นชอบและรบั รอง แผน 1) เมื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) ร่วมกับทุกภาคส่วนจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านตามรูปแบบ ท่ีกาหนดเรยี บรอ้ ยแลว้ ให้ประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน จัดให้มีการลงมติรับรองแผนพัฒนาหมู่บ้านดังกล่าว จากประชาชนผเู้ ข้าร่วมประชุม ท้ังน้ี ผู้ทสี่ ามารถลงมติน้ันไดต้ ้องเปน็ ผทู้ มี่ คี ณุ สมบัติเลือกผู้ใหญ่บ้านตามที่กล่าว มาแล้ว โดยใช้หลักการหน่ึงสิทธ์ิหน่ึงเสียงและให้ถือหลักการเสียงข้างมาก ในกรณีที่มีการลงมติรับรอง แผนพัฒนาหมู่บ้าน แล้วมีคะแนนเสียงรับรองไม่ถึงร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมประชุมประชาคม ให้ คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) ปรับปรุงแผนพัฒนาหมู่บ้านตามท่ีที่ประชุมประชาคมเสนอ แล้วให้กาหนดวัน ประชุมประชาคมอีกครั้งหน่ึงภายใน 7 วัน และหากมีการลงมติอีกครั้งหนึ่งแล้ว มีคะแนนเสียงรับรองไม่ถึง รอ้ ยละ 50 ให้ประธานคณะกรรมการหมบู่ ้านมีอานาจช้ีขาดในการลงนามรบั รองแผนพฒั นาหม่บู า้ นได้ 2) ให้คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) จัดทาสรุปการประชุมประชาคมหมู่บ้าน ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ในทป่ี ระชุม รวมถึงหลักฐานในการร่วมประชุมอื่น ๆ อาทิ ภาพถ่าย ลายมือชื่อผู้เข้าร่วมประชุม เป็นต้น พร้อมติด ประกาศสรปุ การประชุมประชาคมหมบู่ ้านใหป้ ระชาชนในหมูบ่ ้านทราบ และจัดส่งใหก้ บั ท่ที าการปกครองอาเภอ ขน้ั ตอนที่ 6 การประสานและการใช้แผน ตามท่ีกระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศใช้ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนและประสาน แผนพัฒนาพื้นที่ในระดับอาเภอและระดับตาบล พ.ศ. 2562 ซ่ึงกาหนดหน่วยงานรับผิดชอบในแผนพัฒนาแต่ละ ระดบั อย่างชัดเจน โดยได้กาหนดให้คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน โดยเมอื่ มีการจัดทาแผนพฒั นาหม่บู า้ นเสร็จเรยี บร้อยแล้ว คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) ต้องดาเนินการ ดังน้ี 1) คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) จะต้องประสานแผนพัฒนาหมู่บ้าน ให้กับ ก.บ.ต. เพ่ือจัดทาแผนพัฒนา ตาบลภายในเดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปี และหมู่บ้านอาจจัดส่งแผนฯ ให้แก่หน่วยงานอ่ืนท่ีเห็นสมควร เช่น ภาคเอกชนในพื้นที่ สถานศกึ ษา และส่วนราชการอืน่ ๆ เป็นตน้ 2) คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) ร่วมกับประชาชนในหมู่บ้านดาเนินการตามโครงการ/กิ จกรรม ที่สามารถดาเนินการได้เอง และหรือโครงการ/กิจกรรมท่ีร่วมกับหน่วยงานภายนอกร่วมดาเนินการ แล้วเก็บ รวบรวมผลการดาเนินการไวเ้ ป็นข้อมูลผลงานของ กม. และผลงานของหมบู่ ้าน ข้นั ตอนที่ 7 การตรวจสอบและติดตามผล 1) คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) ตดิ ตามผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมตามแผนพัฒนาหมู่บ้าน ในส่วนท่ี หมู่บ้านดาเนินการเอง ท้ังท่ีใช้งบประมาณและไม่ใช้งบประมาณ ในด้านความร่วมมือของประชาชนและภาคส่วน ต่าง ๆ ในหมู่บ้าน ความคืบหน้าของการดาเนินการตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินโครงการ/กิจกรรม ดงั กลา่ ว 2) คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) ติดตามผลการประสานเช่ือมโยงแผนฯ กับหน่วยงาน/องค์กร ท่ีได้จัดส่ง แผนพัฒนาหมู่บ้าน ให้ว่า กิจกรรม/โครงการดังกล่าว ได้รับการตอบสนองหรือไม่อย่างไรรวมท้ังติดตามผลการ ดาเนนิ งานตามโครงการ/กิจกรรมทหี่ น่วยงานภายนอกเข้ามาดาเนินการในหมู่บ้านวา่ เป็นอยา่ งไร
25 ข้นั ตอนท่ี 8 การทบทวนและปรบั ปรุงแผน 1) คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) สรุปผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมตามแผนพัฒนาหมู่บ้านหลังจาก ที่ดาเนินการแลว้ เสรจ็ แลว้ ในรอบปี 2) คณะกรรมการหมบู่ ้าน (กม.) จัดทารา่ งปรับปรุงแผนพัฒนาหมู่บ้าน ตามข้อมูลที่ได้จากการสรุปผลการ ดาเนินการของแผนพัฒนาหมู่บ้านปีก่อนหน้า ในประเด็น ความสาเร็จ ปัญหา อุปสรรค พร้อมเสนอ แนวทางแก้ไข ท้ังน้ีหมู่บ้านอาจเพ่ิมเติมข้อมูลอ่ืน ๆ ที่จาเป็นสาหรับการจัดทาร่างแผนพัฒนาหมู่บ้านประจาปี ต่อไปได้ตามสมควร โดยใช้แนวทางการตามกระบวนการจดั ทาแผนพัฒนาหม่บู ้าน 3) คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) นาร่างแผนพัฒนาหมู่บ้านที่ผ่านการทบทวนแล้ว เข้าสู่ที่ประชุม ประชาคมหมบู่ า้ นเพื่อรับฟงั ความคิดเห็นของทุกภาคสว่ น และลงมติรับรองแผนพัฒนาหมบู่ ้านของปีถัดไป การจัดทาแผนชุมชนและแผนพัฒนาท้องถ่ิน : โดยนายชานาญ มีขา ผู้อานวยการกลุ่มงาน แผนพัฒนาท้องถิน่ ผแู้ ทนกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถน่ิ การจัดทาแผนชมุ ชน กลไกการจดั ทาแผนชมุ ชน แผนชุมชน จัดทาในชุมชนของ เทศบาลตาบล (ท่ีไม่มีกานัน ผู้ใหญ่บ้าน) เทศบาลเมือง เทศบาลนคร และเมืองพัทยา ผ่านคณะกรรมการชุมชน ซง่ึ แตง่ ตง้ั โดยผบู้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ กร ะบ วน กา ร แ ล ะรู ปแ บ บก าร จัด ท า แผนพัฒนาและแผนชุมชน คณะกรรมการชุมชน พิจารณากาหนดวันที่ เหมาะสมในการจัดเวทีประชมคมชุมชน โดยขอความเห็นชอบจากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เมื่อ ผู้บริหารฯ อนุมัติแล้วให้แจ้งคณะกรรมการชุมชน และส่วนราชการหรือหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้องในพ้ืนที่เข้า รว่ มเวทปี ระคมด้วย ตามแนวทางกรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถนิ่ กาหนด
26 แนวทางการจัดประชมุ ประชาคมชมุ ชนเพอื่ กาหนดแนวทางการพัฒนาชมุ ชนฯ เพ่ือใช้เป็นข้อมูล ประกอบในการจัดทา/ทบทวนแผนชมุ ชน 1. คณะกรรมการชุมชนประชุมพิจารณากาหนดวัน เวลา และสถานท่ีในการประชุมประชาคมเพ่ือ กาหนดแนวทางการพัฒนาชุมชนฯ เพ่ือขอความเห็นชอบจากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นล่วงหน้า อยา่ งนอ้ ย 7 วัน กอ่ นการประชมุ ประชาคม 2. เม่อื ผู้บรหิ ารองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นไดเ้ หน็ ชอบวนั เวลาในการจัดประชุมประชาคมฯ ให้แจ้ง ประธานกรรมการชุมชน เพ่ือเตรียมความพร้อมในการจัดประชุม และมีหนังสือแจ้งส่วนงานราชการและ หน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้องในพื้นท่ีทราบถึงวัน เวลา และสถานที่จัดประชุมประชาคมชุมชนพร้อมส่งผู้แทนเข้า ร่วมประชุม 3. ในการประชุมประชาคมชุมชนเพ่ือกาหนดแนวทางการพัฒนาชุมชนฯ เพ่ือใช้เป็นข้อมูล ประกอบการจัดทา/ทบทวนแผนชุมชนให้ประธานกรรมการชุมชนจัดให้มีการลงช่ือในวันประชุม พร้อม ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เข้าร่วมประชุมเฉพาะประชาชนในชุมชน โดยพิจารณาจากผู้มีสิทธิเลือกต้ัง (อายุ 18 ปี บริบูรณ์ในวันประชุมประชาคมชุมชน) และมีชื่อในทะเบียนบ้านในเขตชุมชนหรืออาศัยอยู่ในชุมชนนั้นไม่น้อย กว่า 6 เดือน กรณีท่ีผู้ที่ไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตชุมชนจะไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในการพิจารณา จัดทา/ทบทวนแผนชมุ ชน 4. ในการประชุมประชาคมชุมชนเพ่ือกาหนดแนวทางพัฒนาชุมชนฯ เพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบใน การจดั /ทบทวนแผนชุมชนให้มีผู้มาประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ให้ประธานกรรมการชุมชนเรียกประชุมใหม่ อีกครั้งภายใน 5 วัน นับจากครั้งแรก โดยในการประชุมครั้งท่ี 2 หากมีผู้เข้าร่วมน้อยกว่าร้อยละ 50 ให้ถือว่า ครบองค์ประชมุ และดาเนนิ การประชมุ ประชาคมในชมุ ชนตอ่ ไป 5. นอกจากการประชุมประชาคมในการกาหนดแนวทางการพัฒนาชุมชนฯ เพื่อใช้เป็นข้อมูล ประกอบในการจัดทา/ทบทวนแผนชุมชน เม่ือประชุมลงมติในเรื่องใดแล้วให้ประธานกรรมการชุมชนแจ้งให้ ประชาชนในชุมชนทราบโดยท่ัวกัน และถือปฏิบัติตามมติของการประชุม ทั้งน้ี มติดังกล่าวต้องไม่ขัดหรือแย้ง ต่อระเบียบกฎหมายของทางราชการ 6. ใหค้ ณะกรรมการชุมชนจัดทาสรปุ รายงานประชมุ และลงนามรับรองโดยประธานกรรมการชุมชน พรอ้ มแจ้งให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ในพ้ืนทรี่ ับผิดชอบดาเนินการในสว่ นท่ีเกยี่ วข้อง ข้ันตอนการจดั ทาแผนชุมชน 1. ใหฝ้ ่ายเลขานกุ ารคณะกรรมการชุมชนยกร่างแผนชุมชนจากข้อมูลแนวทางการพัฒนาชุมชน ซึ่ง พิจารณาจากการทราบปัญหา ความต้องการ และแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับสภาพชุมชนที่ได้จากการจัด ประชุมร่วมกันระหว่างคณะกรรมการชุมชนและประชาคมชุมชน ทั้งน้ีให้สอดคล้องเช่ือมโยงกับการจัดทาและ ประสานแผนพัฒนาหมู่บ้าน การจัดทาและประสานแผนพัฒนาตาบล การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น และการ จัดทาและประสานแผนพัฒนาอาเภอ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ตามรูปแบบท่ี กระทรวงมหาดไทยกาหนดและเสนอคณะกรรมการชุมชนพจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ 2. คณะกรรมการชุมชนพิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบแผนชมุ ชนและเสนอประธานกรรมการชมุ ชน 3. ประธานกรรมการชุมชนอนุมัติและประกาศใช้แผนชุมชนภายใน 15 วันนับต้ังแต่วันที่ คณะกรรมการชุมชนเสนอ และปิดประกาศโดยเปิดเผยใหป้ ระชาชนทราบโดยท่วั กนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 วัน 4. ให้ประธานกรรมการชุมชนแจ้งแผนชุมชนที่ประกาศใช้แล้วไปยังคณะกรรมการบริหารงาน ตาบลแบบบูรณาการ (ก.บ.ต.) และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพ้ืนท่ีท่ีรับผิดชอบ เพ่ือดาเนินการในส่วนท่ี เก่ยี วข้อง
27 รปู แบบการจดั ทาแผนชุมชน ใหน้ าขอ้ มลู จากเวทีประชมคมชุมชนข้อมูลความจาเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และข้อมลู พื้นทฐี่ านระดับหมูบา้ น (กชช.2ค) มาใชเ้ ป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการจัดทาแผนชุมชน พร้อมทง้ั จดั ลาดบั ความสาคญั แผนงาน/โครงการตามรปู แบบการจดั ทาแผนชมุ ชนท่ีกรมส่งเสริมการปกครอง ทอ้ งถิน่ กาหนด การประสานแผนและห้วงระยะเวลาในการจัดทาแผนพฒั นา แผนชุมชน คณะกรรมการชุมชนดาเนินการจัดทาแผนชุมชนส่งให้ประธานคณะกรรมการ บริหารงานตาบลแบบบูรณาการ (ประธาน ก.บ.ต.) และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นท่ีความรับผิดชอบ ระหว่างเดือนมกราคม – กมุ ภาพนั ธ์ แผนพัฒนาท้องถิ่น ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจารณาโครงการท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ขอรบั การประสานโครงการตามบัญชีประสานโครงการพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหรือโครงการของ คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ( ก.บ.จ.) เพ่ือบรรจุไว้ในแผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วน จังหวัด พรอ้ มท้งั ตรวจสอบโครงการดังกลา่ วเพอ่ื ไมใ่ หโ้ ครงการซ้าซอ้ นกบั แผนพัฒนาจงั หวัดและแผนปฏิบัติงาน ของส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น และให้จัดทาบัญชีประสานโครงการพัฒนา เพ่ือจัดส่งให้หน่วยงานท่ี เก่ียวขอ้ งพจิ ารณาดาเนนิ การในชว่ งเดอื นกรกฎาคม การบูรณาการและประสานแผนพัฒนาในระดับพ้นื ที่ 1. ให้รวบรวมและจัดลาดับความสาคัญของปัญหาและความต้องการของประชาชนในพื้นท่ีผ่าน กระบวนการจดั ทาแผนพฒั นาหมู่บ้าน แผนชมุ ชน แผนพฒั นา แผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน และแผนความต้องการระดับ อาเภอ เพอ่ื ใหแ้ ผนมคี วามเชอ่ื มโยง สอดคลอ้ งกนั ในทกุ ระดบั เป็นแผนเดยี วกัน 2. องค์ปกครองท้องถ่นิ สง่ แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ ให้ ก.บ.อ. เพื่อจัดทาแผนพัฒนาตาบล และ ก.บ.อ. เพื่อ จดั ทาแผนพฒั นาอาเภอ และความต้องการระดับอาเภอ 3. ให้นาแผนพัฒนาอาเภอ แผนความต้องการระดับอาเภอ และแผนพัฒนาพื้นที่ระดับจังหวัด ไป ประกอบการจดั ทาแผนพัฒนาจงั หวดั และแผนปฏิบัตริ าชการประจาปขี องจังหวัด การสนับสนนุ การดาเนินงาน 1. การดาเนนิ การของคณะกรรมการชุมชน ให้หน่วยงานหลักซ่ึงรับผิดชอบในการจัดทาแผนในแต่ละ ระดับและหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องสนบั สนนุ งบประมาณตามความเหมาะสม 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพื้นท่ีพิจารณานาโครงการหรือกิจกรรมที่อยู่ในแผนพัฒนาอาเภอ และแผนความต้องการระดับอาเภอ แผนงานหรือโครงการระดับตาบล แผนงานหรือโครงการระดับชุมชน ไป ประกอบการจัดต้ังคาของงบประมาณหรือจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีตามอานาจหน้าท่ี โดยให้ ความสาคญั เปน็ ลาดบั ต้น เน่ืองจากเป็นแผนงานโครงการท่ผี ่านกระบวนการประชาคมของประชาชนในพืน้ ที่ การกากบั ดแู ล 1. ให้นายอาเภอมหี น้ากากบั ดแู ล และใหค้ าแนะนาในการประสานแผนพฒั นา หม่บู ้าน ชุมชน แผนพฒั นาท้องถน่ิ ท่ีดาเนนิ การในพื้นที่อาเภอ เพ่อื ให้การดาเนนิ การตามระเบยี บนเี้ กิดผลสมั ฤทธ์ิ 2. ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอาเภอกากับดูแล และให้คาแนะนาเพื่อให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ินดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่ินและการประสานแผนพัฒนาท้องถ่ินให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาใน ระดับจังหวัด เพ่ือให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและกฎหมายว่าด้วยการ กาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
28 การประเมนิ แผนพัฒนา แผนชุมชน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินดาเนินการประเมินผลแผนชุมชนตามแบบท่ีกรมส่งเสริม การปกครองทอ้ งถิ่นกาหนด และรายงานใหส้ านกั งานสง่ เสริมการปกครองท้องถ่ินจงั หวดั ทราบ การจัดทาแผนพัฒนาตาบล : โดยนายธนโชติ จันทร์ดวง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ สานัก เสริมสร้างความเข้มแขง็ ชมุ ชน ผ้แู ทนกรมการพฒั นาชุมชน การจัดทาแผนพัฒนาตาบล ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนและประสาน แผนพัฒนาพื้นท่ีในระดับอาเภอและตาบล พ.ศ. 2562 ซ่ึงมีความเกี่ยวข้องกับ ข้อ 9 ความว่า ในตาบลหนึ่ง ใหม้ ีคณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบบรู ณาการขึ้นคณะหน่ึง เรียกโดยย่อว่า ก.บ.ต. โดยประกอบด้วย ประธานกรรมการ ปลดั อาเภอผู้รบั ผิดชอบประจาตาบลทีน่ ายอาเภอมอบหมาย กรรมการ ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในตาบล ข้าราชการที่ปฏิบัติงานในตาบลที่นายอาเภอ แต่งตง้ั จานวนไมเ่ กนิ 3 คน กานัน ผใู้ หญบ่ ้านในตาบล และผ้ทู รงคุณวฒุ ิที่นายอาเภอแต่งต้ังจานวนไม่เกิน 5 คน กรรมการและเลขานกุ าร พฒั นากรผรู้ บั ผดิ ชอบตาบล การแต่งต้ังผู้ทรงคุณวุฒิฯ ให้คานึงถึงผู้มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการ พฒั นาชมุ ชนในระดบั ตาบล หรอื มีประสบการณ์ในการจัดทาแผนพฒั นาในระดับตาบล ขอ้ 10 ให้ ก.บ.ต. มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปน้ี • รวบรวมข้อมูลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือกรมการพัฒนาชุมชน ได้แก่ ข้อมูลความ จาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) และข้อมูลอื่น ๆ เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการจัดทา แผนพัฒนาตาบล • รวบรวมแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน และแผนพัฒนาท้องถ่ินในตาบล เพื่อใช้ประกอบการ จดั ทาแผนพฒั นาตาบล • จัดทาแผนพฒั นาตาบล ใหน้ าข้อมูลจาก 1) และ 2) มาวิเคราะห์หรือสังเคราะห์ กลั่นกรอง ประมวลผล เพ่ือกาหนดทิศทางการพัฒนาตาบล และจัดลาดับความสาคัญของแผนงาน หรือโครงการระดับตาบล รวมทั้ง จดั ทาแผนงานหรือโครงการในการแกไ้ ขปญั หาในพ้ืนที่ทีม่ คี วามคาบเกยี่ วตัง้ แต่สองหมู่บ้านหรือสองชุมชนขึ้นไป เพ่ือรองรับการพัฒนาและตอบสนองนโยบาย สาคัญเร่งดว่ นในการแกไ้ ขปัญหาและพัฒนาในตาบล • จาแนกแผนงานหรือโครงการระดับตาบลท่ีสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ินในพื้นท่ีระดับตาบล และจัดทาบัญชีประสานโครงการพัฒนา ส่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พิจารณาบรรจไุ วใ้ นแผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ • จัดส่งแผนพัฒนาตาบล ให้ ก.บ.อ. ใช้ประกอบการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และแผนความ ตอ้ งการระดบั อาเภอ • ทบทวนการจดั ทาแผนพฒั นาตาบลทกุ ปี เพ่ือให้แผนงานหรือโครงการระดบั ตาบล เป็นปัจจุบนั
29 ข้อ 11 ให้สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทาแผนพัฒนาตาบลและดาเนินการ พัฒนาศักยภาพ ก.บ.ต. ในการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาตาบล ทั้งน้ี แนวทางในการจัดทา แผนพัฒนาตาบล ใหเ้ ปน็ ไปตามท่กี ระทรวงมหาดไทยกาหนด กลไกในการจัดทาแผนพัฒนาตาบล ให้ กบต. เป็นกลไกหลักในการจัดทาแผนพัฒนาตาบล โดยให้ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ จัดทาคาส่ังแต่งต้ัง กบต. เสนอนายอาเภอลงนามในคาสง่ั แตง่ ตั้ง กระบวนการและรปู แบบการจัดทาแผนพฒั นาตาบล - ให้ กบต.ดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาตาบล จานวน 7,036 ตาบล - กรณีไม่มีกานัน ผู้ ใหญ่บ้าน อีก 2 19 ตาบล ให้ คณะกรรมการพัฒนาท้องถ่ิน ดาเนินการจัดทาแผนพัฒนา ท้องถิน่ ใหถ้ ือวา่ เป็นการจดั ทาแผนเช่นเดียวกับแผนพัฒนา ตาบล - ส่วนรูปแบบการจัดทาแผนพัฒนาตาบล ให้ กบต.จัดทา แผนพัฒนาตาบลตามท่กี รมการพัฒนาชมุ ชนกาหนด การจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ : โดยนายนพรัตน์ ศรีพรหม ผู้อานวยการส่วนแผนงานยุทธศาสตร์ กอง วชิ าการและแผนงาน ผแู้ ทนกรมการปกครอง สว่ นกลาง เป็นหนว่ ยกาหนดยทุ ธศาสตร์ เปน็ หน่วยสนับสนุนความรู้ทางวิทยาการใหม่ รับผิดชอบการบรหิ ารจัดการให้เกดิ ผลสัมฤทธ์ติ าม ยทุ ธศาสตรห์ รอื เป้าหมายการพฒั นาที่กาหนด ส่วนภมู ภิ าค (อาเภอ) ปรบั บทบาทการบรหิ ารจัดการ กาหนดทิศทางเชิงกลยุทธ์ของอาเภอเช่ือมโยงระหว่างแผนพัฒนาระดับชาติและแนวทาง การพัฒนาจงั หวัด สะท้อนปญั หาและความต้องการของประชาชนในพ้นื ที่ผา่ นแผนฯ ระดับต่าง ๆ อาศัยเคร่ืองมอื และกลไกระดบั อาเภอ ได้แก่ กม. / ก.บ.ต. / ก.บ.อ. / ส่วนราชการ และ อปท. ในอาเภอ
30 ส่วนทอ้ งถ่ิน เป็นหน่วยท่ีได้รับการกระจายอานาจให้ตัดสินใจเกี่ยวกับกิจการต่างๆ ท่ีเป็นสาธารณะของ ท้องถ่นิ ด้วยตนเอง คณะกรรมการบรหิ ารงานอาเภอแบบบรู ณาการ (ก.บ.อ.) ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ นอ.แตง่ ต้ังจากผมู้ ีความสามารถด้านการพัฒนาระดับอาเภอ (เชน่ ป.ชมรมกานนั ฯ ส.สภาเกษตร ป.สภาวฒั นธรรม ด้านการศึกษา(ป.กลุ่มโรงเรียน) หรือมีประสบการณ์ในการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ รวมท้ังด้านภาคประชาสังคมและ ภาคเอกชน (ผู้แทนหอการค้า NGO) องค์ประชุมและการประชุม ก.บ.อ. (อนุโลมตามหมวด 5 ม.79 กม.ว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางการปกครอง) ต้องมา ประชมุ อย่างนอ้ ยก่ึงหนึ่งจงึ จะเป็นองค์ประชมุ นัดประชุมแจ้งหนังสอื ไมน่ ้อยกวา่ สามวนั หมวด 3 การจดั ทาแผนและประสานแผนพัฒนาอาเภอ
31 กระบวนการและรูปแบบการจัดทาแผนพฒั นาอาเภอ ก.บ.อ. นากรอบทิศทางการพัฒนาอาเภอและยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัด มาเป็นแนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และแผนความต้องการระดับ อาเภอ โดยมีระยะเวลาสอดคล้องกับห้วงเวลาของแผนพัฒนาจังหวัด ต้องดาเนินการ ในชว่ งระหว่างเดือน พฤษภาคม – มถิ นุ ายน ในกระบวนการนั้นจะต้องเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนการ ประกาศใช้ โดยทที่ าการปกครองจังหวัดยกร่างคาส่ังแต่งตั้งคณะทางานกล่ันกรองแผนพัฒนาอาเภอ เสนอ ให้รองผู้ว่าราชการจังหวัดที่รับผิดชอบเรื่องแผนพัฒนาจังหวัดพิจารณาก่อนเสนอ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด เห็นชอบและลงนามในคาสั่งแต่งตั้ง ซ่ึงมีรองผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน ผู้แทนหัวหน้าส่วนราชการระดับ จังหวัด จานวนไม่เกิน 5 คน เป็นคณะทางาน โดยเป็นผู้ที่มีความเก่ียวข้องกลุ่มภารกิจด้านเศรษฐกิจและ โครงสร้างพ้ืนฐาน กลุ่มภารกิจด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมกลุ่มภารกิจด้านการเกษตรกลุ่ม ภารกจิ ด้านสังคม วัฒนธรรม และการท่องเที่ยวกลุ่มภารกิจด้านความม่ันคง จ่าจังหวัดเป็นคณะทางานและ เลขานุการ ทาหน้าที่หลักในการปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะทางานฯ และผู้อานวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์ และขอ้ มูลเพ่ือการพัฒนาจังหวัด สานักงานจังหวัด เป็นคณะทางานและเลขานุการร่วม และให้นายอาเภอเข้า ช้ีแจงขอ้ มูลแผนพฒั นาอาเภอตอ่ คณะทางานกล่ันกรองแผนพัฒนาอาเภอ และเม่ือคณะทางานฯ ได้พิจารณา กลั่นกรองแผนพฒั นาอาเภอแล้ว จะนาเข้าการประชุม ก.บ.จ. เพ่ือทราบ ห้วงเวลาของการเสนอแผนพัฒนา อาเภอ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นชอบผ่านคณะทางานกลั่นกรองแผนพัฒนาอาเภอ ให้ดาเนินการให้แล้ว เสรจ็ ภายในเดอื นมถิ นุ ายน ในการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ อาเภอโดย ก.บ.อ. ตอ้ งจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ ด้วยการนากรอบทิศทางและยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด (Top-down) จากแผนพัฒนา จงั หวัด ฉบับทบทวน (พ.ศ. 2561-2565) พร้อมกับรวบรวมข้อมูลปัญหาและความต้องการ ของประชาชน (Bottom-up) จากแผนพัฒนาระดับต่างๆ ในพื้นท่ีอาเภอ มาจัดทา แผนพัฒนาอาเภอ 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) และให้ ก.บ.อ. มีมติที่ ปร ะชุ ม รั บ ร อง แ ละจั ด ส่ ง ใ ห้ ผู้ ว่ า รา ช ก า ร จั ง ห วั ด พิจ า ร ณ า เ ห็ น ช อบ จากนั้น ก.บ.อ. จึงประกาศใช้แผน โดย นายอาเภอ เป็นผู้ลงนามในประกาศ พร้อมจัดส่ง แผนพัฒนาอาเภอให้หน่วยงานต่าง ๆ รวมท้ัง อปท. ในพ้ืนท่ีทราบ เพ่ือร่วมกันขับเคลื่อน การพฒั นาและการแกไ้ ขปัญหาในพ้นื ท่อี ย่างยงั่ ยืนและเปน็ ไปในทิศทางเดียวกนั
32 ในการจดั ทาแผนพัฒนาจังหวัด อาเภอโดย ก.บ.อ. ต้องพจิ ารณากล่นั กรองแผนงาน/โครงการ จัดกลุ่มโครงการตามประเดน็ ยุทธศาสตร์ของ ที่ต้องการขอรับการสนับสนุนงบประมาณหรือสนับสนุนการ แผนพัฒนาจังหวัด ดาเนินงานจากจังหวัดและหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง โครงการดงั กลา่ วต้องมลี กั ษณะเปน็ ไปตาม จดั ทาเป็น หลกั เกณฑท์ ี่ ก.บ.ภ. กาหนด จัดส่งใหจ้ งั หวัดภายในเดอื นมถิ ุนายน แผนความต้องการระดบั อาเภอ แบบสรปุ โครงการแบบยอ่ (Project Brief) จดั สง่ ให้ แบบฟอรม์ การจดั ทาแผนปฏิบตั ริ าชการฯ แบบฟอรม์ ขอ้ มลู พ้นื ฐานของโครงการ คณะกรรมการบริหารจังหวัดแบบบูรณาการ แบบฟอรม์ สารวจความต้องการเฉพาะของอาเภอ (ก.บ.จ.) แบบสารวจความคดิ เห็นของประชาชน จดั ส่งให้ ฯลฯ อาเภอจัดทาโครงการและเอกสารที่เก่ียวข้อง และต้อง เสนอโครงการภายใต้แผนพัฒนาจังหวัด และแผนปฏิบัติ ราชการประจาปีงบประมาณของจงั หวดั ******************************************
Search
Read the Text Version
- 1 - 33
Pages: