Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Management Mind EP2_63

Management Mind EP2_63

Published by Charan ya, 2020-02-06 04:07:58

Description: Management Mind EP2_63

Search

Read the Text Version

จัดต้ังศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน (อปท)/ ศูนย์บัญชาการ เหตุการณ(์ จงั หวดั ) /ศนู ยบ์ ัญชาการเหตุการณ์(จังหวัด) เพื่ออานวยการและ บูรณาการประสานการปฏิบัติ รวมถึงติดตามและเฝูาระวังสถานการณ์ วิเคราะห์ประเมินสถานการณ์ รายงาน สถานการณ์และแจ้งเตือน เพ่ืออานวยการ ควบคุม ปฏิบัติงาน และประสานการปฏิบัติเก่ียวกับ การปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นศูนย์กลางในการระดมสรรพกาลัง และทรัพยากรเพื่อการจัดการสาธารณภัย และประสานการปฏิบัติระหว่าง หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งฝุายพลเรือนและฝุายทหาร และองค์การสาธารณกุศล ในพน้ื ที่ที่รบั ผิดชอบ โดยมีองคก์ รปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ (อบต./ เทศบาล/เมอื งพัทยา) จัดตง้ั ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินเม่อื เกิดสาธารณภัยข้ึน ให้กองอานวยการปูองกัน และบรรเทาสาธารณภัยอาเภอ จัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์อาเภอ เมอื่ เกดิ หรือคาดว่าจะเกดิ สาธารณภยั

(ศบก.จ./ศบก. กทม.) ให้กองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด/ ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร จั ด ต้ั ง ศู น ย์ บั ญ ช า ก า ร เ ห ตุ ก า ร ณ์ จั ง ห วั ด / กรงุ เทพมหานคร ให้ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัด /กรุงเทพมหานคร แปรสภาพเป็น ศู น ย์ บั ญ ช า ก า ร เ ห ตุ ก า ร ณ์ ส่ ว น ห น้ า จั ง ห วั ด / ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร ข อ ง กองบัญชาการ และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ในกรณีเม่ือมีการยกระดับ เป็นการจัดการสาธารณภัยขนาดใหญ่ (ระดับ 3) หรือการจัดการสาธารณภัย ร้ายแรงอยา่ งย่งิ (ระดบั 4) ในกรณี การจัดการสาธารณภัยขนาดเล็ก (ระดับ 1) และสาธารณภัย ขนาดกลาง (ระดับ 2) ทาหน้าท่ี อานวยการ ประสานการปฏิบัติ ประเมิน สถานการณ์ และสนับสนุนการส่ังการจากกองบัญชาการปูองกันและ บรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ รวมทั้งวิเคราะห์สถานการณ์ และเสนอ ความคิดเห็นต่อผู้บัญชาการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ หรือนายกรฐั มนตรี เพ่อื ตดั สินใจยกระดับเป็นการจดั การสาธารณภัยขนาดใหญ่ ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ ประกอบด้วย สว่ นหลกั ไดแ้ ก่ มีหน้าท่ีปฏิบัติการลดอันตรายที่เกิดข้ึนโดยเร็ว โดยรกั ษาชีวิตและปกปอู งทรัพย์สิน เข้าควบคุมสถานการณ์ ฟ้ืนฟูสู่สภาวะปกติ ดับเพลิง ค้นหาและกู้ภัย สารเคมีและวัตถุอันตราย บริการการแพทย์และ สาธารณสุข คมนาคม รักษาความสงบเรียบร้อย ประสานทรัพยากร และทางทหาร

มีหน้าที่ติดตาม สถานการณ์ วิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์ แจ้งเตือนภัย รวบรวม ประสานข้อมูล และ ประเมินความต้องการและความจาเป็น ในการสนบั สนุนทรพั ยากรในภาวะฉุกเฉนิ มีหน้าที่ตอบสนอง การร้องขอรับการสนับสนุนในทุกๆ ด้านท่ีจาเป็น เพื่อให้การจัดการ ในภาวะฉุกเฉินดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ได้แก่ ด้านการส่ือสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ การพลังงาน ก า ร เ ก ษ ต ร ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม การสาธารณปู โภค นอกจากนยี้ ังประกอบด้วยส่วนสนบั สนุนในการบญั ชาการ ดังน้ี มีหน้าที่ประสานข้อมูลเหตุการณ์กับส่วนต่าง ๆ เพ่อื สอ่ื สารและประชาสมั พนั ธข์ อ้ มูลขา่ วสารให้กับประชาชนและส่ือมวลชน รวมท้งั ปฏบิ ัตกิ ารทางจิตวิทยามวลชน (กรมประชาสัมพนั ธเ์ ป็นหน่วยงานหลัก) มีหน้าท่ีให้ข้อเสนอแนะ คาแนะนา ข้อมูลทาง วิชาการ การสังเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์ และเทคนิคการปฏิบัติ ทีเ่ กีย่ วข้องกับเหตุการณ์สาธารณภยั ทเ่ี กดิ ขึน้ หน้าท่ีประสานงานกับหน่วยงานภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมด้านกฎหมาย ธรุ การและกาลงั พล

ดาเนินการภายใต้กรมปูองกันและ บรรเทาสาธารณภยั กาหนดแนวทางการแจ้งเตือนภยั 4 ขัน้ ตอน ได้แก่ เ ป็ น ก า ร ติ ด ต า ม ข้ อ มู ล ความเคล่ือนไหวของเหตุการณ์ท่ีอาจส่งผลให้เกิดสาธารณภัย รวมทั้ง ทาหน้าท่ีเฝูาระวัง ให้ข้อมูลและข่าวสารแก่ประชาชน โดยมีส่วนราชการ และหนว่ ยงานเก่ียวขอ้ งทมี่ คี วามรูแ้ ละเคร่อื งมือทางเทคนิค เป็นการแจ้งข้อมูล ขา่ วสารทีบ่ ง่ ชี้วา่ มีแนวโนม้ ท่ีจะเกิดสาธารณภัยข้ึน ในพ้ืนท่ีที่มีความเสี่ยงภัยไปยังส่วนราชการ หน่วยงาน กองอานวยการปูองกันและบรรเทา สาธารณภยั แตล่ ะระดับ และประชาชน เป็นการยืนยันข้อมูลว่า มโี อกาสเกดิ สาธารณภัยมากกว่าร้อยละ 60 และเป็นการแจ้งแนวทางปฏิบัติ ให้กับส่วนราชการ หน่วยงาน กองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย แต่ละระดบั และประชาชนในพ้ืนที่เสี่ยงภัย เพื่อให้เตรียมความพร้อมรับมือ กับสาธารณภัยที่จะเกิดข้ึน โดยให้มีการแจ้งเตือนภัยไม่ต่ากว่า 72 ชั่วโมง กอ่ นเกดิ ภยั ไดแ้ ก่ คาดการณ์ระยะเวลาและบริเวณพื้นท่ีท่ีจะเกิดสาธารณภัย ผลกระทบที่อาจเกดิ ขน้ึ และความยาวนานของการรับมือและการอพยพ กาหนดแนวทางและขั้นตอน การปฏิบัติสาหรับส่วนราชการ หน่วยงาน และองค์กรเอกชนในการรับมือ กบั สาธารณภยั ทีเ่ กิดข้ึน

ปภ. โดย ศภช. จะกดส่งสัญญาณเตือนภัยโดยผ่านดาวเทียม ไปยัง จุด ประกอบด้วย หอเตือนภัย เครื่องแม่ข่าย และ เครื่องรับสัญญานดาวเทียม โดยสามารถเลือกได้ว่าจะส่งสัญญานไป จุดไหน (สัญลกั ษณล์ กู ศรสีน้าเงิน) ปัจจุบันจานวนหอเตือนภัย (ติดต้ังในพ้ืนท่ีเสี่ยง 344 แห่ง ในพ้ืนท่ีเสี่ยง) เครื่องแม่ข่าย (ติดตั้งที่เทศบาล/อบต. 287 แห่ง) และ เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม แบ่งเป็น ติดตั้งท่ีศาลากลางจังหวัด 70 แห่ง (ยกเว้น 6 จว.ปริมณฑล) และสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย 109 แหง่ (สญั ลักษณ์ลกู ศรสแี ดง) ทั้งน้ี จุดที่ 2 เคร่ืองแม่ข่าย (ติดต้ังที่เทศบาล/อบต.) สัญญาณ จะผ่านจุดนี้ไปยังหอเตือนภัยขนาดเล็ก 694 แห่ง และเครื่องรับสัญญาณ เตือนภัยในท้องที่ ได้แก่ วิทยุตดิ ตามตวั ผู้นาชุมชน (สัญลกั ษณล์ กู ศรสีเขียว) หอเตอื นภยั 344 แห่งตดิ ตงั้ ในพ้ืนท่ีเสี่ยง หอเตือนภัยขนาดเลก็ 694 แหง่ ติดตั้งที่เทศบาล/อบต. สถานีถา่ ยทอดสญั ญาณ 306 แหง่ เครื่องรับสญั ญาณดาวเทียม 179 เคร่อื ง เครื่องรับสัญญาณเตอื นภัยในท้องท่ี 1,590 เคร่อื ง ทุ่นเตือนภัยสึนามิ ปัจจุบันประเทศไทย มีจานวน 2 ทุ่น โดยติดตั้งบริเวณทะเลอันดามัน (ห่างจากเกาะภูเก็ต 300 กิโลเมตร) และ บริเวณมหาสมทุ รอินเดีย (หา่ งจากเกาะภเู กต็ 1,000 กโิ ลเมตร)

ศภช. โดย ปภ. จะแจ้งข้อมูลการเตือนภัยไปยัง ศูนย์ ปภ. เขต และ ปภ. จังหวัด หลังจากน้ัน ศูนย์ ปภ. เขต และ ปภ. จังหวัดจะเป็นหน่วย กระจายข่าวการเตือนภัยสู่ประชาขน โดยผ่านหน่วยงานปกครองในพ้ืนท่ี (อาเภอ ตาบล หมูบ่ า้ น และ อปท.) และผู้นาชมุ ชนเพอ่ื แจ้งเตือนภัยได้อย่าง ครอบคลมุ ได้แก่ การจัดระบบโครงสร้าง ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัด อาเภอ และศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน อปท. และมอบหมายฝุายปกครอง กานัน ผู้ใหญ่บ้าน อส. เฝูาระวัง จัดชุดปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือ (ด้านดารงชีพ) โดยให้ ผอ.จังหวัด กาหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละพื้นที่ ก ร ณี เ กิ ด อุ ท ก ภั ย ใ น วงกว้ าง ตรวจสอบจุดปลอดภัย จุดเส่ียง เพื่อใช้ในการอพยพประชาชน พร้อมท้ังจัดเตรียมกาลังพล วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองจักร ยานพาหนะ ใหพ้ ร้อมใชง้ าน

ให้จังหวัดติดตามสถานการณ์ท้ังสภาพอากาศ ปริมาณน้าท่า อย่างใกล้ชิด โดยหากประเมินแล้วว่ามีแนวโน้มจะเกิดภัย ให้ปฏิบัติตาม แนวทางการเตรียมความพร้อมอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะการจัดเตรียม สถานที่พักพิงช่ัวคราวสาหรับประชาชนเมื่อมีการสั่งการให้อพยพ รวมถึง ประสานงานหน่วยงานในพื้นท่ีภาครัฐเอกชน มูลนิธิในการให้ความ ชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบภัยทนั ทเี มอ่ื เกดิ เหตุ เน้นยา้ ใหจ้ งั หวัดดาเนินการดงั น้ี ส ร้ า ง ก า ร รั บ รู้ ใ ห้ ประชาชนท่ีอยู่อาศัยบริเวณพื้นท่ี เส่ยี งภัย ประเมินสถานการณ์ ผ ล ก ร ะ ท บ ที่ อ า จ เ กิ ด ข้ึ น อ ย่ า ง ใ ก ล้ ชิ ด ห า ก มี แ น ว โ น้ ม สถานการณ์รุนแรงให้สั่งการอพยพ ประชาชนในทนั ที ใ ห้ ฝุ า ย ป ก ค ร อ ง ก า ชั บ ส ถ า น ประกอบการ โรงแรม ส่ือสารให้นักท่องเที่ยวระมัดระวังห้ามลงเล่นน้าในช่วง ท่ีมีคล่ืนลมแรง พร้อมทั้งประสานหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ในพ้ืนท่ีร่วม ดาเนนิ การ

 10 กันยายน 2562 ใหจ้ งั หวัดสารวจและจัดทาขอ้ มูลการให้ความ ช่วยเหลอื และความเสียหายอ่ืนๆ โดยรายงานทกุ ๆ วนั จนั ทร์  26 กันยายน2562 พื้นท่ีท่ีสถานการณ์คลี่คลายแล้ว ให้เร่งสารวจ ความเสียหาย และจัดทาข้อมูลและเร่งดาเนินการให้การช่วยเหลือ ก ร ณี ค ว า ม เ สี ย ห า ย ที่ อ ยู่ ใ น ศักยภาพของ อปท. อาเภอ จังหวัด ขอให้ใช้งบประมาณและชุดช่าง เข้าเร่งดาเนินการโดยเร็ว หากเกิน ศักยภาพ ขอให้รายงานการขอรับ การสนับสนุนมาท่ีกองอานวยการ ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย กลางเพอื่ ให้ความชว่ ยเหลือโดยด่วน  ให้จังหวัดน้อมนาพระราชกระแสรับสั่งพระบาทสมเด็จเจ้าอยู่หัว ได้แก่  ให้ติดตามสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง  คิดปรับแนวทางและ แผนเผชิญเหตุทั้งในภาพรวมและเฉพาะเหตุท่ีเกิดขึ้น และ  รวบรวม ความเสียหาย ประมาณการค่าใช้จ่าย เตรียมสิ่งใหม่ๆและส่ิงที่ยังไม่ได้ทา เพ่ือลดความเสี่ยงจากสาธารณภยั ทีเ่ กิดขนึ้  เตรียมความพร้อมรับอุทกภัย ให้จังหวัดเร่งให้ความช่วยเหลือ กรณีผู้เสียชีวิตโดยลงรายละเอียดถึงสถานภาพต่างๆ ได้แก่ เป็นหัวหน้า ครอบครัวหรือไม่ มีบุตรอยู่ระหว่างการศึกษากี่คน สมาชิกในครอบครัวมี ก่ีคน สาหรับจังหวัด ที่สถานการณ์เร่ิมคล่ีคลาย ให้เตรียมการสารวจ

ความเสียหาย ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะบ้านเรือนประชาชนที่ได้รับผลกระทบ เพอื่ ใช้เป็นข้อมลู เยียวยาและฟ้ืนฟูต่อไป  การเตรียมการปูองกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้ง ให้จังหวัดติดตาม สถานการณ์อย่างใกล้ชิด (สภาพอากาศ/ การบริหารจัดการน้า) และ ทาความเข้าใจกับประชาชนทราบถึง สถานการณ์น้าในปัจจุบัน กรณีประกาศเขตให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ขอให้ปฏิบัติตาม ระเบียบ หลักเกณฑแ์ ละแนวทางทีก่ าหนดอย่างเคร่งครดั  การปูองกันและแก้ไขปัญหาไฟปุาและหมอกควัน ให้จังหวัด ใช้แนวทางประชารัฐโดยบูรณาการทุกภาคส่วนกาหนดแนวทางเชิงรุก การสรา้ งกตกิ าชุมชน  มาตรการแกไ้ ขท่ีมีประสิทธิภาพ และกาชับให้ฝาุ ยปกครอง กานัน ผู้ใหญ่บ้าน อปท. คณะกรรมการหมู่บ้าน ร่วมสอดส่องตักเตือน และ ห้ามปรามผู้จุดไฟเผาเศษวัสดุในพื้นที่เกษตร พร้อมท้ังสร้างการรับรู้ ความเข้าใจกับประชาชนให้ตระหนักถงึ อนั ตรายจากไฟปุาและหมอกควนั การดาเนินการโครงการ ดังน้ี  ให้ ผวจ. แจ้งนายอาเภอ (หัวหน้าจิตอาสาฯ) กากับดูแล การปฏบิ ัติงานเรอ่ื งจิตอาสาพระราชทาน  แต่งกายด้วยเสื้อพระราชทาน /เส้ือสีสุภาพ สวมหมวก ผ้าพันคอ ตดิ บตั ร จิตอาสา กางเกงสเี ข้ม และต้องสารวมกิริยา  การจัดทาปูายไวนิลตามแบบ (ศูนย์อานวยการใหญ่โครงการจิต อาสา) และติดต้ังในที่ทเ่ี หมาะสมและเด่นชัด ทุกครง้ั เมอื่ ปฏบิ ตั งิ าน  ประชาสัมพันธก์ ารปฏิบัติงานให้ส่ือมวลชลในพื้นท่ีและรายงานผล ตอ่ กระทรวงมหาดไทยทราบทุกวันที่ 30 ของเดอื น

การดาเนินการ โครงการ ดังนี้ กรณีเกิดสาธารณภัยในพ้ืนที่ให้ศูนย์อานวยการใหญ่โครงการ จิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาริจังหวัด (ศอญ.จังหวัด) เตรียมพร้อมปฏิบัติงานสนับสนุนช่วยเหลือปูองกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย วาตภยั น้าปุาไหลหลากน้าท่วมฉับพลันและดินถลม่ มูลนิธิราชประชานุเคราะห์มีเงินสารองจ่ายท่ีมูลนิธิฯ ได้โอนเงินไปต้ัง จ่ายที่จังหวัด โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะประธานมูลนิธิราชประชา- นเุ คราะห์ประจาจังหวัด มอี านาจจา่ ยเงินสารองจา่ ย ดังนี้

ต้ังจ่ายท่ีสานักงาน ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด จานวน 300,000 บาท มีหลักเกณฑ์ ดังน้ี หากมีผู้ประสบภัยพิบัติ จานวนไม่เกิน 200 ครอบครัว ให้จัดซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคท่ีจาเป็น ชุดละไม่เกิน 1,000 บาท ได้รับความเสียหายให้จัดซ้ือ เคร่ืองครัว เครื่องนอน เช่น หม้อ กระทะ ฯลฯ ตามความเหมาะสม ไม่เกิน ครอบครวั ละ 3,000 บาท หากบ้านเรือนได้รับความเสียหายและ ผู้ประสบภัยไม่ได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานราชการใดให้ดาเนินการ ช่วยเหลือเรื่องที่อยู่อาศัย โดยอิงระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงิน ทดรองราชการเพอื่ ช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ัตกิ รณฉี ุกเฉิน มากกว่า 200 ครอบครัว ให้แจ้งมูลนิธิฯ สง่ หน่วยสงเคราะหผ์ ู้ประสบภยั ออกไปดาเนินการรว่ มกับจงั หวดั ท่ีรอรับส่ิงของ พระราชทาน ราคาไม่เกนิ คนละ 50 บาท ตอ่ ม้อื ในระยะฟ้ืนฟู ต้ังจ่ายที่ สานักงานพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์จังหวัด จานวน 200,000 บาท มีหลักเกณฑด์ ังน้ี 1. ผู้เสียชีวิตจากภัยพิบัติ ต่ า ง ๆ ร ว ม ท้ั ง ฟ้ า ผ่ า ใ ห้ จ่ า ย เ งิ น ชว่ ยเหลอื รายละ 10,000 บาท

2. กรณีผู้เสียชวี ติ มีบตุ ร ถ้ามีบุตรกาลังศึกษาอยู่ ให้ดาเนินการ ตามระเบยี บวา่ ดว้ ยทนุ พระราชทานเพื่อการศึกษาสงเคราะห์ของมูลนธิ ิฯ หมายเหตุ หากเงินที่มีสารองจ่ายไม่เพียงพอ ให้แจ้งข้อมูลและ เหตุผลความจาเป็นไปยังสานักงานมูลนิธิส่วนกลาง โดยเครื่องมือส่ือสาร ที่สะดวกและรวดเร็ว และเม่ือดาเนินการไปแล้ว ขอให้รายงานผลพร้อมส่ง เอกสารใบสาคัญการจ่ายเงินท่ีถูกต้องและลงนามรับรองแล้ว ไปให้ สานักงานมูลนิธิส่วนกลางโดยด่วน เพื่อจัดส่งเงินมาชดใช้เงินสารองจ่ายที่ จังหวัด ตั ว อ ย่ า ง ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง จ า ก ส า ธ า ร ณ ภั ย ใ น พื้ น ท่ี จ ะ มี การดาเนนิ การดังน้ี ได้แก่ การประเมิน ความเส่ียงจากสาธารณภัยในพ้ืนที่ การจัดทาแผน การจัดมาตรการ ลดความเสี่ยง ท้ังด้านโครงสร้างและไม่ใช่โครงสร้าง การเตรียมความพร้อม บคุ ลากร/ชมุ ชน การสรา้ งการรับรู้ การเตรียมฐานข้อมลู อุปกรณ์

ได้แก่ ติดตามและประเมินการ สถานการณ์ การจัดต้ังศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ การบรรเทาทุกข์ ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ได้แก่ การฟ้ืนสภาพจิตใจผู้ประสบภัยให้มีกาลังใจ กลับมาดาเนินชีวิตประจาวันเป็นปกติ การซ่อมสร้างบ้านเรือน ส่งิ สาธารณปู โภค สง่ิ สาธารณประโยชน์ให้กลับใช้งานไดด้ ังเดมิ เปน็ ต้น

การบริหารงานแบบประชารัฐ นายนสิ ิต จันทร์สมวงศ์ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน  กฎหมายของเราแยกอานาจหน้าที่  ส่วนราชการของเราทางานในระบบแบง่ แยกหน้าที่ต่างคนต่างทา  เรายึดโครงสรา้ งหน้าท่มี ากกวา่  ปัญหาการคา้ มนษุ ย์  ปญั หาภายใน  ปญั หายาเสพติด  ปญั หาฝุ่นละออง ถ้าให้ส่วนราชการลงไปแก้ไขปัญหาโดยไม่มีประสานงานกัน ก็จะลงไป แก้ไขกันคนละอย่าง แต่การทางานแบบประชารัฐ จะเป็นการทางาน แบบมีส่วนร่วม หลายหน่วยงานร่วมกันทางาน จึงจะทาให้งานประสบ ความสาเรจ็

 การบูรณาการภาครัฐ (MOU) กับปัญหาโครงสร้าง การบรหิ ารราชการแผ่นดินจะมีท้ังการบูรณาการ ต้ังแตส่ องหน่วยงานข้นึ ไป  ก า ร ส ร้ า ง เ ค รื อ ข่ า ย ภาคประชาชน ภาครัฐไม่สามารถดาเนินการเองได้ ทุกเรื่อง ดังน้ัน จึงต้องอาศัยความร่วมมือกับ ภาคประชาชนในรูปแบบกานัน ผู้ใหญ่บ้าน และ อาสาสมคั รต่างๆ เชน่ อส.สม., อสม.กส., อส.พช., อส.พม.  การสร้างเครือข่ายการบริหารภาคเอกชน ดาเนินการในรูปแบบการก่อตั้งวิสาหกิจเพื่อสังคม หรือบริษัท ประชารฐั รักสามัคคีประเทศไทย ส่ิงที่ภาครัฐต้องการ คือ อยากทา มีงบประมาณ มีความยืดหยุ่น และไม่ติดกฎหมาย แต่ติดปัญหา คือ ขาดงบประมาณ ขาดองค์ความรู้ ขาดความยืดหยนุ่ ติดขัดกฎหมาย เมื่อภาครัฐไม่สามารถดาเนินการเองได้ จึงทาให้เกิดประชารัฐสามัคคีประเทศไทยข้ึนในรูปแบบเกษตรแปรรูป หรือการท่องเทยี่ วข้นึ

 การบริหารงานแบบ ประชารัฐ เป็นการทางานกับเอกชนเต็ม รปู แบบ CHV ภาครัฐร่วมกับภาคเอกชน  การสร้างกระบอกเสียงโดยตรง เช่น การ ใช้ Facebook เป็นสื่อประชาสัมพันธ์ หรือ ส อ บ ถ า ม ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ป ร ะ ช า ช น โดยเฉพาะผู้ว่าราชการจังหวัดจะต้องใช้ นายอาเภอเปน็ Arms Range  การใหข้ ้อมูลขา่ วสาร  จังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดท่ีกินข้าวแต่ไม่ได้ปลูกข้าว ก็ไปนาข้าวหอมมะลิจากจังหวัด ยโสธรจานวน 40 ตัน มาบรรจุถุง โดยใช้โลโก้ “ชาวนนท์ช่วยชาวนา” แลว้ นาไปฝากหา้ งฯ เซ็นทรลั ขาย สมาคมและหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องได้แก่ หอการค้าจังหวัด สมาคมกานันผู้ใหญ่บ้าน เจ้าของโรงสีนนทบุรี กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ และกระทรวงพาณิชย์ นอกจาก นาไปฝากขายแล้วก็ส่งไปขายที่โรงพยาบาล และเรือนจาในจังหวัดอีก 3 แห่ง ใช้เวลา 15 วันกข็ ายหมด

 เป็นการสร้างแรงจูงใจ ให้ชาวสวนทุเรียนจังหวัดนนทบุรี เพ่ือไม่ให้เขาขายสวนทุเรียน โดยนา ทุเรียนท่ีเขาเอามามอบให้ไปจัดประมูลเพ่ือนาเงินรายได้ไปช่วยการกุศล ซึ่งก็ได้รับความร่วมมือจากห้างฯ เซ็นทรัล เป็นการจดั ประมลู แบบ English Three Time By Durian Nonthaburi (The King of Durian) จัดประมูล 10 โต๊ะๆ ละ 30,000 บาท รวมเป็น 300,000 บาท นาเงินมอบให้กาชาด การดาเนินการคร้ังนี้ทาให้ชาวสวนทุเรียน มาขึ้นทะเบยี นเป็นสวนสีเขียวกันทกุ สวน  เม่ือสวนทุเรียนในจังหวัดนนทบุรี เป็นสวน สีเขียว ทาให้เกิดการลดก๊าซเรือนกระจก จึงริเริ่มโครงการ ขี่จักรยาน เทย่ี วสวนทุเรียน ก็ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก และสร้างรายได้ให้กับ จังหวดั นนทบุรี  โดยใช้ช่ือว่า Government Center เป็นโครงการท่ีจะเปิดให้บริการแก่ประชาชนโดยใช้สถานที่ เอกชน โดยได้ขอความร่วมมือจากเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต ซ่ึงก็ได้รับ ความร่วมมือเป็นอย่างดี นอกจาก สถานท่ีแล้วยังให้ความอนุเคราะห์ เร่ืองค่าน้าค่าไฟด้วย ใช้งบประมาณในการตกแต่งสถานท่ี (ทาเป็น ศาลากลางจังหวัดนนทบุรีหลังเก่า) เป็นจานวนเงิน 2,500,000 บาท ซึ่งขณะน้ัน มีงบประมาณแค่ 1,000,000 บาท ก็ต้องขอสนับสนุนจาก หอการค้าจังหวัด ส่วนอุปกรณ์ท่ีใช้ดาเนินงานก็ขอความร่วมมือจาก หน่วยงานต่างๆ ขณะนี้มีหน่วยราชการจานวน 14 หน่วยเข้ามาให้บริการประชาชน โดยมี ประชาชนมาใชบ้ ริการวนั ละประมาณ 3,000 คน

 บริเวณถนนกาญจนาภิเษก ขาเข้ากรุงเทพมหานคร ก็ขอพ้ืนที่ของเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต มาทา Hub Station เพอ่ื ทาทจ่ี อดรถตู้ รถสองแถว โดยเขาขอแลกกับการสร้างอุโมงค์เข้าห้างฯ ห ลั ง จ า ก ด า เ นิ น ก า ร ไ ป แ ล้ ว ก็ พ บ ว่ า การจราจรดีขน้ึ มาก  โดยขอความร่วมมือจาก อส. กานัน ผู้ใหญบ่ ้าน คอยดแู ลและชว่ ยกนั เก็บป้ายทไ่ี มถ่ ูกกฎหมายออกไป  โดยการซ้ือตู้ขาว จานวน 500 ตู้เพื่อติดต้ังตาม ชุมชนท่ีผ้ใู หญ่วเิ คราะห์ว่ามีความเส่ียง แล้วให้กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ร่วมกับ ทหาร ตารวจ รว่ มกันออกตรวจตรา เป็นโครงการท่ไี ด้ผลดี  เป็นการขอความร่วมมือให้ใส่ ชุมชนเล็กๆ เข้าไปในแพค็ เกจทวั รด์ ้วย เพอ่ื ให้เกดิ รายได้ในชมุ ชนเล็กๆ

กรมการพัฒ นาชุมช นไ ด้ร่ว มมือกั บ กระทรว งการต่างประเทศ เพื่อนา ผู้ประกอบการสินค้า OTOP ไปเปิดตลาด สินค้ายังต่างประเทศ การไปดังกล่าว อาจจะขายสินค้าไม่ได้มากนัก แต่ว่ามี การเซ็นสัญญา การซ้ือสินค้าเป็นเวลา หลายปี เป็นเงินหลายร้อยล้านบาท หรือ บางประเภทก็ซ้ือแบรนด์ซ้ือลิขสิทธ์ิสินค้า และให้จัดส่งสินค้าเป็นเวลา หลายปี นับว่าเป็นการคุ้มค่ากั บการเดินทางไป Road Show ยังต่างประเทศ นอกจากน้ัน ยังทาให้คนไทยเร่ิมมารู้จักสินค้า OTOP ของไทยดว้ ย

 โดยอาศัยการทางานแบบ ประชารัฐ เอาส่วนราชการต่างๆ เข้ามาช่วยในการทางาน เพราะว่า ถา้ ทาเพียงหนว่ ยงานเดยี วกท็ าเสรจ็ แตไ่ ม่สาเรจ็  เชน่  โครงการช่วยเหลือ คนจนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ยกตัวอย่าง จังหวัดนนทบุรี มีคนจนท่ีตกเกณฑ์ จป ฐ . 1,400 คน แต่รัฐ ไม่สามารถตั้งงบประมาณซ้ือวัสดุอุปกรณ์เพื่อช่วยเหลือคนจนเหล่าน้ีได้ เนื่องจากความต้องการของแต่ละครัวเรือนไม่เหมือนกัน ก็ได้รับ ความร่วมมือจาก ป่อเต็กต้ึง มอบวัสดุอุปกรณ์ให้แต่ละครัวเรือนภายใน วงไมเ่ กนิ 30,000 บาท  การขอใช้พื้นที่ห้างสรรพสินค้าไอคอนสยามจัดวางจาหน่าย สินค้า OTOP โดยผู้ขายเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายหัวละ 500 บาท ถ้าผู้ขาย ต้ อ ง ก า ร ค ว า ม รู้ เ พิ่ ม เ ติ ม ทางห้างฯ ก็จะจัดวิทยากร เข้ามาอบรมให้โ ดยไม่เสีย ค่าใช้จ่าย แต่กรณีน้ีภาครัฐ จะเสีย ในเรื่ องการ บริหา ร จดั การ

การขับเคลอื่ นองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น สู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื นายสุทธพิ งษ์ จลุ เจรญิ อธบิ ดีกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น สถานการณ์ของประเทศไทยในปจั จบุ ัน การแกไ้ ขปญั หาขยะ ปริมาณขยะลน้ เมือง ขยะตกคา้ งเป็นจานวนมาก ไม่มรี ะบบกาจดั ขยะทีด่ ี จนนบั ได้ว่าเปน็ ปัญหาระดบั วาระแห่งชาติ ดงั แผนภาพ ตอ่ ไปน้ี

ดังนั้น จึงมีการจัดโครงการและกิจกรรมที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดาเนินการแก้ไข ปัญหา ไดแ้ ก่  แก้ไขปัญหาขยะในครัวเรือน  สร้างถงั ขยะเปยี กทุกครัวเรือน  มีจดุ รวมขยะอันตรายจากชุมชน  วางระบบจดั เกบ็ ขนและกาจดั ขยะมูลฝอย อบุ ตั ิเหตุบนท้องถนน ประชากรของประเทศไทยมีอัตราการเสยี ชีวติ จากอบุ ตั ิเหตุ ทางถนนมากท่สี ดุ ในโลก ดังแผนภาพ ต่อไปนี้ ดังนั้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงมีการพัฒนาเส้นทาง คมนาคม จัดระเบยี บจราจรและปอ้ งกนั อุบัติเหตุ

การศึกษา การศึกษาของไทยไม่ทั่วถึง คุณภาพต่าลง ในขณะท่ีใช้งบประมาณ ท่ีสูงขึ้นสะท้อนได้จาก ผลการสอบคะแนน O-NET ของนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาช้ันปีท่ี 6 ทุกวิชา คะแนนเฉลี่ยไม่ถึงคร่ึง เมื่อเทียบกับ ปที ผี่ ่านมาท่ีมีภาษาไทยเพียงวิชาเดียวที่ถึงครึ่งเท่านั้น ดังแผนภาพของจานวน และร้อยละของนักเรียนตามช่วงคะแนนผลการสอบ O-NET ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ประจาปีการศกึ ษา 2560 จาแนกตามรายวิชา ตอ่ ไปน้ี

ดังน้ัน การวางฐานรากให้เด็กได้เติบโตขึ้นอย่างสมวัยนั้น ควรเร่ิม ลงมือทาต้ังแต่ “ช่วงปฐมวัย” เพื่อร่วม สร้างเด็กและเยาวชนไทยให้เติบโต อย่างเข้มแข็งเป็นกาลังของประเทศ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จึงมี ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ต า ม น โ ย บ า ย สร้าง “สนามเด็กเล่นสร้างปัญญา” เพอ่ื ประโยชน์ในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั และการจัดทาอาหาร กลางวนั ใหม้ คี ุณภาพ

การวา่ งงาน ประชากรไทยมีอัตราการว่างงานหลายแสนคน สานักงานสถิติ แห่งชาติ รายงานตัวเลขการว่างงาน เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 มีคนว่างงาน 491,000 คน หรือคิดเป็น 1.3 % เพิ่มข้ึน 61,000 คน เม่อื เทียบกบั ช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนซ่ึงผ้วู า่ งงานสว่ นใหญ่จบปรญิ ญาตรี ดังนั้น จึงต้องมีการส่งเสริมการทางานของประชากรไทย ให้อัตราการว่างงานเปน็ ศนู ย์

ประชากรผสู้ งอายุ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คาดว่า อีกประมาณ 15 ปี ประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุ กล่าวคือ มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 20ของจานวนประชากร ท้ังหมด ซ่ึงปัจจุบันมีเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวัน การปรบั ตวั เรียนรสู้ ่ิงใหมๆ่ ของผสู้ งู อายุจึงเป็นประเด็นท่ีต้องให้ความสาคัญ เป็นอย่างมาก เพ่ือช่วยลดปัญหาช่องว่างระหว่างวัย และช่วยให้ผู้สูงวัย ได้อยูใ่ นสงั คมอย่างมศี กั ดิศ์ รแี ละเหน็ คุณค่าในตวั เอง นอกจากน้ี ‬เทคโนโลยี ยังชว่ ยให้ผสู้ ูงวัยไดส้ มั ผสั ประสบการณ์แปลกใหม่ในโลกท่ีไร้พรมแดน และ ยังชว่ ยลดปัญหาสุขภาพได้อกี ด้วย

บทบาท บทบาทขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินในการแกไ้ ขปญั หา  ไดม้ ีการกาหนดอานาจหน้าท่ีขององค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ไว้ในรัฐธรรมนูญ และพระราชบัญญัตกิ าหนดแผนและ ขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแล้วยังมี การกาหนดอานาจหน้าท่ีไว้ใน กฎหมายเฉพาะขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ินเองอีกด้วย ได้แก่ พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 พระราชบัญญัติ สภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 พระราชบัญญัติ ร ะ เ บี ย บ บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร พ.ศ. 2528 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542  เ พ่ื อ ใ ห้ การบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และยังเป็นการกาหนดระดับและทิศทางของ การทางานในปีงบประมาณนน้ั ๆ อีกดว้ ย  มีบคุ ลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพ่ือให้สามารถ ดาเนินกิจกรรมตา่ งๆ เปน็ ไปตามเปา้ หมายทีก่ าหนดไว้

 เพื่อทาให้ทราบว่า งบประมาณท่ีอนุมัติไปแล้ว ถูกนาไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถ สะทอ้ นการแก้ไขปัญหาของประชาชนในท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม รวมท้ัง มีการติดตามดูแลการใช้จ่ายงบประมาณเป็นไปด้วยความถูกต้อง ตามแผนการปฏิบัตงิ าน  องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ินจะต้องทราบถึงปัญหาและความต้องการของประชาชน ใ น ท้ อ ง ถ่ิ น ข อ ง ต น เ อ ง เ พื่ อ ท่ี จ ะ ส า ม า ร ถ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ได้อยา่ งตรงตามสภาพความเปน็ จรงิ ของปัญหานัน้ ๆ บทบาทของผู้วา่ ราชการจังหวัดต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่  ผู้ว่าราชการจังหวัดมีบทบาทหน้าท่ีตาม กฎหมายในการกากับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท้ังในการกากับดูแล โดยตรงโดยป็นอานาจหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและข้ันตอน การกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และ การกากับดูแลทางอ้อม เช่น การให้เงินอุดหนุน และการใช้สัญญา มาตรฐานควบคุมการทาสัญญาของท้องถิ่น โดยที่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นต้องขอความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัดในการขอ งบประมาณอุดหนนุ โครงการตา่ งๆ เปน็ ต้น

 ผู้ว่าราชการจะต้องมีความคิดริเร่ิม สรา้ งสรรค์ มวี ิสยั ทัศน์ท่กี ว้างไกล มองเห็นการพัฒนาท้องถิ่นได้อย่างยั่งยืน มีความรู้ในการบรหิ ารจัดการและเข้าใจสภาพความต้องการของประชาชน และบริบทในพื้นที่ไม่ว่าจะเป็นวิถีชีวิต วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ ภูมิประเทศ พร้อมท้ังสามารถถ่ายทอดความรู้ไปให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา รวมถึงประชาชนได้เป็นอยา่ งดี เพ่อื นาไปสู่การบริหารและพัฒนาทอ้ งถิน่  ผู้ว่าราชการจะต้องสนับสนุนงบประมาณ ในการพฒั นาท้องถนิ่ มีการนางบประมาณเพือ่ มาพัฒนาพน้ื ที่  ผู้ว่าราชการจังหวัด จะต้องกาหนดแนวทางเพื่อประสานงานและบูรณาการกับหน่วยงาน ภายในจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินให้เกิดความเช่ือมโยง ใหส้ อดคลอ้ งกับทศิ ทางในการพฒั นาท้องถนิ่

ภารกิจของผู้บรหิ ารกระทรวงมหาดไทย ตามประมวลกฎหมายที่ดนิ นายณรงค์ สบื ตระกลู รองอธบิ ดีกรมทด่ี นิ คือ ขับเคล่ือนการจัดการท่ีดินให้ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนและการพัฒนาประเทศ ด้วยมาตรฐานการจดั การและการบรกิ ารระดับสากล คอื  มีกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับผู้ว่าราชการจังหวัด ได้แก่ ประมวลกฎหมายท่ีดิน พระราชบัญญัติอาคารชุด พระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดสรรท่ีดิน และ พระราชบญั ญตั ิช่างรังวดั เอกชน  มีความเป็นเอกภาพเป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้งประเทศ ท้ังเชิงนโยบายและการปฏิบัติ ท่ีดินท้ังประเทศมี 320.7 ล้านไร่ เป็นท่ีดิน ของรฐั 60 % และเอกชน 40 % แต่ขณะนีย้ งั ไมส่ ามารถออกเอกสารสิทธิได้ ครอบคลุมทั้งประเทศ เน่ืองจากแนวเขตไม่ชัดเจนโดยเฉพาะท่ีดนิ ของรฐั  ที่มีระบบฐานข้อมูลท่ีดินของ ประเทศเป็นมาตรฐานเดียวกัน สามารถรองรับการใช้ประโยชน์จากท่ีดิน ในการพัฒนาประเทศ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และความม่ันคง มีการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการออกโฉนดท่ีดินฉบับแรกที่อาเภอ บางปะอิน เม่อื ปี พ.ศ. 2444

 ท่ีมีความทันสมัย บริการออนไลน์ท่ัวท้ังประเทศและเช่ือมโยงกับสากล พร้อมทั้งมีบุคลากร ด้ า น ท ะ เ บี ย น ท่ี ดิ น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ท่ี มี ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ สู ง ใ น ร ะ ดั บ ส า ก ล โดยสามารถค้นหาแปลงท่ีดินผ่านเว็บไซต์หรือ Application ของกรมที่ดิน ได้แลว้  ประเด็นยุทธศาสตร์คือ การป้องกันและแก้ไขปัญหาท่ีมีผลกระทบต่อความม่ันคง โดยมีแนวทาง ในการสร้างความปลอดภัยและสันติสุขอย่างถาวรในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ขณะนี้มีโครงการเดินสารวจใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ จังหวัดละ 10 ศูนย์ 10 สายเดินสารวจ ระยะเวลาในการดาเนินการต้ังแต่ พ.ศ. 2559 – พ.ศ.2564 สาเหตุที่ต้องดาเนินการคือ เพื่อให้ประชาชนมีเอกสารสิทธิ เขาจะได้รัก และหวงแหนแผ่นดิน และเมอ่ื มกี รรมสิทธิก์ ็จะเข้าสสู่ ถาบันการเงินหรือเข้าสู่ แหล่งทนุ ได้ ถา้ มที ุนเขากจ็ ะนาเงนิ มาพัฒนาท้องถ่นิ ให้เจรญิ กา้ วหน้า  ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ คือ การเสริมสร้างพลังทางสงั คม แตเ่ ดิมมีปัญหาเร่ือง การขาดแคลนที่ดินทากินทาให้ประชาชนบุกรุกที่ แล้วก็เรียกร้องให้ ออกเอกสารสิทธิ ถ้าเป็นที่ดินรกร้างว่างเปล่าก็สามารถออกเอกสารสิทธิได้ แต่ถ้าเป็นที่สาธารณประโยชน์ ก็ต้องมา พิจารณาว่าเข้ากฎเกณฑ์ที่จะสามารถออก เอกสารสิทธิหรอื ไม่ ซึ่งทาให้รัฐบาลปัจจุบันเห็นว่า ควรจะ นารูปแบบการจัดการท่ีดินโดยไม่ให้เป็น แปลงรวม แต่อนุญาตให้เข้าทาประโยชน์ ในที่ดินของรัฐเป็นกลุ่มหรือชุมชนตาม

หลักเกณฑ์และเงื่อนไขท่ีคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการตาม นโยบายท่ีดินแห่งชาติกาหนดในรูปแบบสหกรณ์หรือรูปแบบท่ีเหมาะสม โดยออกเปน็ พระราชบญั ญตั ิคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ พ.ศ. 2562  โครงการสนับสนุน คทช. จังหวัด ในการจัดที่ดินทากินให้ชุมชน ตามนโยบายรัฐบาล  โ ค ร ง ก า ร จั ด ท า ข้ อ มู ล ที่ ดิ น เ พื่ อ ก า ร จั ด ท่ี ดิ น ต า ม น โ ย บ า ย คณะกรรมการนโยบายที่ดนิ แห่งชาติ (คทช.)  โครงการที่ดนิ ของรัฐทจ่ี ดั ใหแ้ ก่ประชาชนท่ียากจน  ประเด็นยุทธศาสตร์คือ การสร้างการเติบโตอย่าง ย่ังยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว แนวทางการดาเนินงานคือ การรักษาและ เพิ่มพน้ื ทีส่ เี ขียวที่เป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม  โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรังวัดด้วยระบบดาวเทียม (RTK GNSS Network)  โครงการพัฒนาฐานข้อมูลที่ดิน แ ล ะ แ ผ น ที่ รู ป แ ป ล ง ที่ ดิ น ใ ห้ เ ป็ น ระบบมาตรฐานเดยี วกนั  โครงการจัดทาฐานข้อมูลแนวเขต ทางสาธารณประโยชน์ มาตราส่วน 1 : 4,000

 มี 2 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ คือ  ภาครัฐท่ียึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และ ให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส แนวทางคือ ภาครัฐมีความเชื่อมโยง ในการให้บริการสาธารณะต่างๆ ผ่านการนาเทคโนโลยดี ิจิทลั มาประยกุ ต์ใช้  ภาครัฐมีความทันสมัย แนวทางคือ พัฒนาและปรับระบบวิธีการ ปฏบิ ัตริ าชการใหท้ นั สมยั โครงการตามยทุ ธศาสตร์ ดังน้ี  โครงการส่งช่างรังวัดเฉพาะกิจไปช่วยเร่งรัดงานรังวัดของ สานักงานที่ดิน  โครงการค้นหาตาแหน่งรูปแปลงท่ีดินด้วยระบบภูมิสารสนเทศ ทางอนิ เทอรเ์ นต็ (LandsMap)  โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศท่ีดินระยะท่ี 2  ผลผลิตงานดา้ นทะเบียนและรงั วดั ท่ดี ินให้บริการแก่ประชาชน  โครงการสนบั สนนุ การพัฒนาประสิทธิภาพการบรหิ ารราชการ  โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และป้องกันปราบปราม การทจุ รติ กรมทด่ี ิน

 ที่ดินรกร้างวา่ งเปลา่  ส า ธ า ร ณ ส ม บั ติ ข อ ง แ ผ่ น ที่ ดิ น ท่ี พลเมืองใช้ร่วมกัน ได้แก่ ทางน้า ทางเดิน ท่งุ เลย้ี งสตั ว์  ที่สงวนท่ีหวงห้ามไว้สาหรับแผ่นดิน โดยเฉพาะ ได้แก่ สถานทร่ี าชการตา่ งๆ ไม่เกิน 5 ปี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมอบอานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดปฏิบัติ ราชการแทนแต่ถ้าขอต่ออายุการใช้งาน ไม่เกิน 5 ปีเช่นกัน ตรงนี้เป็น อานาจของผู้ว่าราชการจังหวัดส่วนนายอาเภอร่วมกับองค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถิ่นมีอานาจในการดูแลรักษา ตลอดจนการฟ้องคดีในกรณีมีการบุก รกุ ทด่ี นิ สาธารณประโยชน์ การใช้ที่สาธารณประโยชน์ชั่วคราว 5 ปี กรณีมีการเข้าไปใช้ ประโยชน์ก่อน โดยเฉพาะหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจส่วนใหญ่เข้าใจว่า ตนเองมีสิทธิเข้าไปใช้ทาประโยชน์ แม้ว่าจะมีสิ่งก่อสร้าง อาคารของทาง ราชการอยู่ ก็ต้องกลับมาดาเนินการขอใช้ให้ถูกต้อง โดยจะต้องทาเร่ือง มายังกระทรวงมหาดไทย ซึ่งขณะนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายว่า ให้ไปตรวจสอบว่า การที่เข้าไปใช้ประโยชน์ก่อนได้มี การดาเนนิ คดีหรือไม่ ถา้ ไมม่ ตี ้องมกี ารแจ้งความดาเนินคดี

ก า ร เ ป ลี่ ย น ส ภ า พ ท่ี ส า ธ า ร ณ ป ร ะ โ ย ช น์ ที่ พ ล เ มื อ ง ใ ช้ ร่ ว ม กั น จากประโยชน์อย่างหนึ่งเป็นประโยชน์อีกอย่างหนึ่ง เช่น กรณีลาราง สาธารณะต่อมาจะเป็นทางสาธารณะ แบบน้ีต้องขออนุญาตต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย โดยยื่นเร่ืองผ่านจังหวัด ซ่ึงจังหวัดจะมี คณะกรรมการพิจารณาก่อนเสนอผู้ว่าราชการจังหวัด เมื่อผู้ว่าราชการ จั ง ห วั ด เ ห็ น ช อ บ แ ล้ ว ก็ จ ะ ส่ ง เ ร่ื อ ง ไ ป ที่ ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย กระทรวงมหาดไทยก็จะมีคณะกรรมการ ซึ่งมีปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานพิจารณาควรหรือไม่ควรเปล่ียนสภาพ แล้วจึงเสนอนาเรียน รฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยพิจารณาอนญุ าต  ย่นื คาขอ พร้อมหลักฐาน  รงั วดั และชันสตู รสอบสวนในท่ีดิน  ประกาศมกี าหนด 30 วัน  สภา อปท. ให้ความเหน็ ชอบ  คณะอนุกรรมการพิจารณาอนญุ าตใหด้ ูดทรายประจาจังหวดั พิจารณาอนุญาต กรณีเป็นแม่น้าในประเทศผู้ว่าราชการจังหวัดสามารถอนุญาตได้เลย แตถ่ า้ เปน็ แม่น้าระหว่างประเทศต้องผ่านคณะกรรมการพิจารณาอนุญาตให้ ดูดทราย (กพด.) พิจารณาแจ้งผลก่อน หากพิจารณาอนุญาตผู้ว่าราชการ จงั หวัดจึงสามารถลงนามอนุญาตได้

มี 3 ประเภท คือ  สามารถดาเนินการยื่นคาขอได้ที่สานักงาน ที่ดิน ที่ที่ดินต้ังอยู่ จะใช้บังคับสาหรับผู้ท่ีถือครองท่ีดินก่อนประมวล กฎหมายที่ดิน จะมหี ลักฐานหรือไมม่ ีก็ได้  จะออกโฉนดท่ีดินหรือเอกสารสิทธิให้แก่ ผู้ถือครองท่ีดินภายหลังประมวลกฎหมาย ท่ีดิน ใช้บังคับสาหรับผู้ท่ีไม่มีหลักฐาน การครอบครอง  (ปัจจบุ ันกรมท่ีดินไม่ได้ทาแลว้ ) เดินสารวจท้งั ตาบลตามมาตรา 58, 58 ทวิ แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี ิน  โดยใชร้ ะวางแผนท่ีรปู ถ่ายทางอากาศ (ระวาง UTM)  โดยใชร้ ะวางแผนทภี่ าคพ้นื ดิน ออกโฉนดที่ดินโดยการเปลี่ยน น.ส. 3 ก. เป็นโฉนดท่ีดิน ตามมาตรา 58 ตรี แหง่ ประมวลกฎหมายท่ีดิน

 การสารวจข้อมูลเสนอรัฐมนตรี กรม ท่ีดิ น ส า ร ว จ ข้อ มู ล ร่ ว ม กั บ ผ อ . ศู น ย์ ฯ ตรวจสอบข้อมูลพ้ืนที่และความต้องการของ ประชาชน โดยการใช้ระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) ในการวางแผนในเบ้ืองต้น  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศกาหนดจังหวัดท่ีจะทา การเดินสารวจออกโฉนดท่ีดิน สาหรับแต่ละปี (ปีงบประมาณ) แต่ไม่รวม พืน้ ท่ที จี่ าแนกให้เป็นเขตป่าไม้ถาวร  ผู้วา่ ราชการจังหวัดประกาศกาหนดท้องท่ีและวันเร่ิมต้นการเดินสารวจ โดยปิดประกาศก่อนวนั เริม่ ตน้ สารวจไม่นอ้ ยกว่า 30 วนั  พนักงานเจ้าหน้าท่ีจะทาการนัดหมายวัน เวลา ให้ผู้ครอบครอง ทาประโยชน์ในท่ีดนิ นาท่ีดินทาการสารวจรังวัดทาแผนที่  ผู้ครอบครองทาประโยชน์ในที่ดิน จะต้องนาหรือส่งตัวแทนมานา พนักงานเจ้าหน้าที่ทาการสารวจรังวัด สอบสวนสิทธิในที่ดิน ตามวันเวลาท่ี พนักงานเจ้าหนา้ ทกี่ าหนด

หมายเลขระวาง เลขท่ดี ิน เลขโฉนดทีด่ นิ หน้าสารวจ ตาบล อาเภอ จงั หวดั เนือ้ ที่ สานักงานทีด่ ิน เบอรโ์ ทร ค่าพกิ ัดสานกั งาน ราคาประเมินรายแปลงกรมธนารกั ษ์ ค่าพกิ ดั แปลง ค่าใชจ้ า่ ยในการรงั วดั คา่ ธรรมเนยี มภาษีอากร คิวรังวดั พน้ื ทีป่ ระโยชน์




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook