คำนำ เอกสารรายละเอียดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ฉบับนี้ ประกอบไปด้วย เน้อื หาทเ่ี ก่ยี วข้องกับการประเมิน ITA ทั้งข้อมูลพนื้ ฐานของการประเมิน ระเบียบวิธีในการประเมิน หลักเกณฑ์ การประเมินผล ประเด็นในการประเมิน และวิธีการประเมินผ่านระบบ ITAS โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ หน่วยงานภาครฐั ทรี่ ับการประเมินได้ใช้ในการศกึ ษารายละเอียดและเตรียมความพรอ้ มสาหรบั การประเมิน การประเมิน ITA ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นไปภายใต้แนวคิด “Open to Transparency” ซง่ึ เปน็ หลกั การพืน้ ฐานสาคญั ของการประเมิน ITA ที่มาจากการ “เปิด” 2 ประการ คือ “เปิดเผยข้อมูล” ของ หน่วยงานภาครัฐเพือ่ ให้สาธารณชนไดร้ ับทราบและสามารถตรวจสอบการดาเนินงานได้ และ “เปิดโอกาส” ให้ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงานภาครัฐ ทั้งเจ้าหน้าท่ีภายในหน่วยงาน และประชาชนผู้รับบริการหรือติดต่อ กับหนว่ ยงานภาครัฐไดเ้ ข้ามามีส่วนร่วมประเมินหรือแสดงความเห็นต่อหน่วยงานภาครัฐผ่านการประเมิน ITA ซึ่งการ “เปิด” ท้ัง 2 ประการข้างต้นนั้นจะช่วยส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีความโปร่งใสและนาไปสู่การ ต่อต้านการทจุ ริตและประพฤติมิชอบของทุกภาคส่วน ท้ังน้ี การประเมิน ITA ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ไม่ได้มุ่งเน้นให้หน่วยงานท่ีเข้ารับการ ประเมินปฏิบัติเพียงเพ่ือให้ได้รับผลการประเมินท่ีสูงขึ้นเพียงเท่าน้ัน แต่มุ่งหวังให้หน่วยงานภาครัฐได้มีการ ปรับปรุงพัฒนาตนเองในด้านคุณธรรมและความโปร่งใสเพื่อให้เกิดธรรมาภิบาลในหน่วยงานภาครัฐ มีการ ดาเนินงานท่ีมุ่งให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและส่วนรวมเป็นสาคัญ และลดโอกาสที่จะเกิดการทุจริตและ ประพฤติมิชอบในหน่วยงานภาครัฐ ส่งผลให้หน่วยงานภาครัฐสามารถบรรลุตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ในแผน แม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นท่ี 21 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 – 2580) ต่อไป สานกั ประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใส สานกั งานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ รายละเอียดการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
สำรบัญ เรือ่ ง หนำ้ 1. ขอ้ มลู พื้นฐำนของกำรประเมิน 1 1.1 ความเปน็ มา 1 1.2 หน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ งในการประเมนิ 2 2. ระเบยี บวธิ ีกำรประเมนิ 4 2.1 แหล่งข้อมลู ในการประเมนิ 4 2.2 เครอื่ งมือในการประเมนิ 4 2.3 กลุ่มตัวอยา่ งในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 5 2.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 5 3. หลกั เกณฑ์กำรประเมนิ ผล 9 3.1 การประมวลผลคะแนน 9 3.2 คะแนนและระดบั ผลคะแนน 9 3.2 ผลการประเมินตามเป้าหมาย 9 4. กรอบระยะเวลำกำรประเมนิ 10 5. ประเดน็ กำรประเมนิ 11 ตวั ชว้ี ดั ท่ี 1 การปฏิบตั ิหนา้ ที่ 11 ตวั ชว้ี ัดท่ี 2 การใชง้ บประมาณ 12 ตัวช้วี ดั ท่ี 3 การใช้อานาจ 14 ตัวชี้วดั ท่ี 4 การใช้ทรัพย์สินของราชการ 15 ตัวชี้วัดที่ 5 การแก้ไขปญั หาการทจุ รติ 17 ตวั ชี้วัดท่ี 6 คณุ ภาพการดาเนนิ งาน 18 ตวั ชี้วัดท่ี 7 ประสทิ ธิภาพการส่อื สาร 20 ตัวชี้วัดที่ 8 การปรับปรุงระบบการทางาน 21 ตวั ชี้วดั ที่ 9 การเปดิ เผยข้อมูล 24 ตัวชว้ี ดั ท่ี 10 การปอ้ งกันการทุจรติ 30 6. วิธกี ำรดำเนินกำรประเมนิ ผ่ำนระบบ ITAS 33 ภำคผนวก 42 42 รายช่อื หนว่ ยงานภาครฐั ท่เี ขา้ รว่ มประเมิน 51 รายชอ่ื คณะกรรมการ ITA และคณะอนกุ รรมการกากับและพัฒนา ITA รายละเอยี ดการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
1 1. ข้อมลู พนื้ ฐำนของกำรประเมนิ 1.1 ควำมเปน็ มำ สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สานักงาน ป.ป.ช.) ได้พัฒนา เครอ่ื งมือการประเมินเชิงบวกเพ่ือเป็นมาตรการป้องกันการทุจริต และเป็นกลไกในการสร้างความตระหนักให้ หน่วยงานภาครัฐมีการดาเนินงานอย่างโปร่งใสและมีคุณธรรม โดยใช้ช่ือว่า “การประเมินคุณธรรมและความ โปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั (Integrity and Transparency Assessment: ITA)” การประเมิน ITA ได้เริ่มดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน และมีการ ขยายขอบเขตและพฒั นาใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งขึ้นตามลาดับ ทั้งน้ี คณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันท่ี 23 มกราคม 2561 เหน็ ชอบใหห้ นว่ ยงานภาครัฐทุกหน่วยงานให้ความร่วมมือและเข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความ โปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 – 2564 โดยใช้แนวทางและ เคร่ืองมือการประเมินตามท่ีสานกั งาน ป.ป.ช. กาหนด ต่อมาในปี พ.ศ. 2561 สานกั งาน ป.ป.ช. ไดศ้ กึ ษาทบทวนรายละเอยี ดแนวทางการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการออกแบบการขับเคล่ือนการประเมิน อย่างเป็นระบบ ลดภาระของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ลดการใช้จ่ายงบประมาณ และเพิ่มประสิทธิภาพของการ ป้องกันการทุจริตเชิงรุก ประกอบกับได้พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศรองรับการประเมินคุณธรรมและ ความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment System: ITAS) ซึ่งเป็นศูนย์กลางในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ทันสมัย สามารถบริหารจัดการข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และ ทาให้การดาเนินการประเมินสามารถทาได้อย่างรวดเร็วและเป็นมาตรฐานเดียวกันท่ัวประเทศ การประเมิน รปู แบบใหม่นีไ้ ด้เร่ิมทดลองใช้นาร่องในการประเมินสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 และใช้ในการประเมินหน่วยงานภาครัฐทั่วประเทศอย่างเป็นมาตรฐานเดียวกัน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา และประสบความสาเร็จเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการมีส่วนทาให้หน่วยงานภาครัฐหันมาให้ ความสาคัญกับการกากับดูแลการดาเนินงานให้มีคุณธรรม ท้ังการบริหารงานภายในหน่วยงาน และการ ดาเนินงานตามภารกิจของหน่วยงานให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้มารับบริการ ประชาชน และสังคม รวมไปถึง กระต้นุ ใหห้ นว่ ยงานภาครฐั ให้ความสาคัญต่อขอ้ มูลตา่ ง ๆ ที่จะตอ้ งมีการเปิดเผยต่อสาธารณชนอกี ดว้ ย จากความสาคญั ของการประเมิน ITA ข้างตน้ ทาให้แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 21 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 – 2580) ได้นาผลการประเมิน ITA ไปกาหนดตัวช้ีวัด และค่าเป้าหมายของแผนแม่บทฯ โดยในระยะแรก (พ.ศ. 2561 – 2565) กาหนดค่าเป้าหมายให้หน่วยงาน ภาครฐั ทม่ี ีผลการประเมินผา่ นเกณฑ์ (85 คะแนนขน้ึ ไป) ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 สาหรับการประเมิน ITA 2563 ยังคงใช้กรอบแนวทางการประเมินเช่นเดียวกับการประเมิน ITA 2562 ที่ผ่านมา เพ่ือให้หน่วยงานภาครัฐท่ีเข้ารับการประเมินได้มีการปรับปรุงพัฒนาอย่างเชื่อมโยงและ ต่อเนื่อง และทาให้เห็นพัฒนาการในด้านคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐได้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม การประเมิน ITA 2563 มีการปรับปรุงในรายละเอียดของระเบียบวิธีการประเมินและประเด็น การประเมินเล็กน้อย เพ่ือแก้ไขปรับปรุงข้อจากัดของการประเมินให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน ส่งเสริมให้ ประชาชนมีส่วนร่วมในการประเมินมากยิ่งข้ึน ซึ่งจะส่งผลให้การประเมิน ITA เป็นเคร่ืองมือให้ประชาชนได้มี ส่วนร่วมในการปรับปรุงแก้ไขระบบการบริหารราชการของหน่วยงานภาครัฐ และมีผลการประเมินที่มาจาก มุมมองของประชาชนอย่างรอบด้านท้ังด้านการรับรู้และความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลสาธารณะได้อย่าง ชัดเจนมากยิง่ ขึน้ รวมไปถงึ การปรับปรุงเนอื้ หาในค่มู ือฉบบั นีใ้ หม้ ีความชดั เจนมากยงิ่ ขึน้ อกี ด้วย รายละเอียดการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
2 1.2 หน่วยงำนท่ีเกย่ี วขอ้ งในกำรประเมนิ ในการขับเคลื่อนการประเมิน ITA จาเป็นท่ีจะต้องมีหลายหน่วยงานร่วมกันขับเคล่ือนการประเมิน ITA เพอ่ื ให้สามารถดาเนินการได้อย่างเรียบร้อยและเปน็ ไปตามกรอบระยะเวลาท่ีกาหนด ประกอบด้วย สานักงาน ป.ป.ช. จะเป็นหน่วยงานศูนย์กลางในการดาเนินการประเมินในภาพรวม โดยมีหน้าที่ใน การกาหนดกลไกและกระบวนการในการขับเคลื่อนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ รวมไปถึงหลักการและหลักเกณฑ์ต่างๆ ในการประเมิน การกากับติดตามการประเมิน และการดาเนินการต่อผลการประเมนิ เพอื่ นาเสนอตอ่ คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการทเ่ี ก่ียวขอ้ ง หนว่ ยงานกากับตดิ ตามการประเมิน ประกอบด้วย สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในภาครัฐ สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม และกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น ท้ังในระดับส่วนกลางและในระดับพ้ืนที่ จะมีบทบาทในการร่วมกาหนดแนวทางและร่วมกากับติดตามการประเมิน รวมไปถึงการประสานงานใน ระหว่างกระบวนการตา่ งๆ ในการประเมนิ แก่หนว่ ยงานภายใตก้ ารกากับดแู ลของตนเอง คณะทป่ี รกึ ษาการประเมนิ จะเปน็ กลุ่มคณะที่มีบทบาทหน้าท่ีในการให้คาปรึกษาแก่หน่วยงานท่ีเข้า รับการประเมินอย่างใกล้ชิด ทั้งในด้านการดาเนินการประเมินและในด้านเนื้อหาในการประเมิน รวมไปถึงทา หน้าท่ใี นการดาเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การตรวจสอบและให้คะแนนตามแบบสารวจทกี่ าหนด หน่วยงานภาครัฐที่เข้ารบั การประเมนิ มีจานวน รวมท้ังสิ้น 8,302 หนว่ ยงาน ดังน้ี ๑) องค์กรอสิ ระตามรฐั ธรรมนูญ (หน่วยงานธรุ การ) จานวน 5 หนว่ ยงาน ๒) องค์กรศาล (หนว่ ยงานธรุ การ) จานวน 3 หนว่ ยงาน ๓) องค์กรอัยการ (หนว่ ยงานธรุ การ) จานวน 1 หน่วยงาน ๔) หน่วยงานในสังกัดรฐั สภา จานวน 3 หน่วยงาน ๕) สว่ นราชการระดบั กรม จานวน 146 หน่วยงาน ๖) องค์การมหาชน กระทรวง จานวน 56 หน่วยงาน ๗) รฐั วสิ าหกจิ จานวน 54 หน่วยงาน ๘) หนว่ ยงานของรัฐอน่ื ๆ จานวน 16 หน่วยงาน ๙) กองทุน (นติ บิ ุคคล) จานวน 7 หนว่ ยงาน ๑๐) สถาบนั อุดมศกึ ษา จานวน 83 หนว่ ยงาน ๑๑) จังหวดั จานวน 76 หนว่ ยงาน ๑๒) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั จานวน 76 หน่วยงาน ๑๓) เทศบาลนคร พื้นท่ีจังหวัด จานวน 30 หน่วยงาน ๑๔) เทศบาลเมือง จานวน 183 หนว่ ยงาน ๑๕) เทศบาลตาบล จานวน 2,236 หนว่ ยงาน ๑๖) องคก์ ารบริหารส่วนตาบล จานวน 5,325 หนว่ ยงาน ๑๗) องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ รปู แบบพิเศษ จานวน 2 หน่วยงาน (องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ รวมท้ังสนิ้ 7,852 หน่วยงาน) รายละเอยี ดหนว่ ยงานปรากฏตามภาคผนวก รายละเอียดการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
3 ขอบเขตของหน่วยงำนภำครฐั องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ องค์กรศาล หน่วยงานในสังกัดรัฐสภา กรมหรือเทียบเท่า องค์การ มหาชน รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐอ่ืน ๆ กองทุน สถาบันอุดมศึกษา โดยเป็นการประเมินในภาพรวมของ หนว่ ยงาน ซงึ่ มขี อบเขตการประเมินครอบคลุมการบริหารราชการของหน่วยงาน ประกอบด้วย ส่วนกลางของ หนว่ ยงาน และสว่ นราชการในระดับพื้นท่ีทขี่ ้ึนตรงตอ่ ส่วนกลาง จังหวัด มขี อบเขตของหน่วยงานโดยเป็นการประเมินในภาพรวมของการบริหารราชการส่วนภูมิภาค ซ่ึงมีขอบเขตการประเมินครอบคลุมเฉพาะกลไกการบริหารราชการระดับจังหวัด ประกอบด้วย สานักงาน จงั หวดั และส่วนราชการส่วนภูมิภาคทีอ่ ยู่ในการควบคุมดูแลของผู้ว่าราชการจังหวัด (ไม่รวมราชการในจังหวัด ท่ขี ้นึ ตรงต่อส่วนกลาง และราชการระดบั อาเภอ สังกดั กระทรวงมหาดไทย) องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ มขี อบเขตของหนว่ ยงานโดยเป็นการประเมินในภาพรวมของการบริหาร ราชการส่วนทอ้ งถิ่น ซ่งึ มขี อบเขตการประเมนิ ครอบคลุมการบริหารราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน ส่วนขา้ ราชการการเมืองฝา่ ยบริหารและข้าราชการฝา่ ยประจาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ กลมุ่ กำรประเมนิ ในการขับเคล่ือนการประเมิน ITA ได้จาแนกการประเมินออกเป็น 10 กลุ่ม เพ่ือให้สามารถ ดาเนินการประเมินได้พร้อมกันทั่วประเทศ และกากับติดตามการประเมินให้เป็นไปตามกรอบระยะเวลาและ เปน็ มาตรฐานเดยี วกันไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ดงั นี้ กลุ่ม 1 ประกอบด้วยจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท้ังหมดในจังหวัดชัยนาท นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สมุทรปราการ สระบุรี สิงห์บุรี และอ่างทอง รวม 9 จังหวัด รวมทั้งส้ิน 729 หน่วยงาน กลุ่ม 2 ประกอบด้วยจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัดจันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี (รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบพิเศษ (เมืองพัทยา)) ตราด นครนายก ปราจีนบุรี ระยอง และสระแกว้ รวม 8 จังหวดั รวมทั้งส้ิน 592 หน่วยงาน กลุ่ม 3 ประกอบด้วยจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัดชัยภูมิ นครราชสีมา บรุ รี ัมย์ ยโสธร ศรีสะเกษ สรุ ินทร์ อุบลราชธานี และอานาจเจริญ รวม 8 จังหวัด รวมท้ังสน้ิ 1,475 หน่วยงาน กลุ่ม 4 ประกอบด้วยจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น นครพนม บงึ กาฬ มหาสารคาม มุกดาหาร ร้อยเอด็ เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลาภู และอุดรธานี รวม 12 จังหวัด รวมท้ังสนิ้ 1,512 หนว่ ยงาน กลุ่ม 5 ประกอบด้วยจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท้ังหมดในจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ นา่ น แพร่ พะเยา แมฮ่ ่องสอน ลาปาง และลาพนู รวม 8 จังหวัด รวมทั้งส้ิน 830 หนว่ ยงาน กลุ่ม 6 ประกอบด้วยจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท้ังหมดในจังหวัดกาแพงเพชร ตาก นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ และอุทัยธานี รวม 9 จังหวัด รวมท้ังส้ิน 879 หน่วยงาน กลุ่ม 7 ประกอบด้วยจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท้ังหมดในจังหวัดกาญจนบุรี นครปฐม ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร และสุพรรณบุรี รวม 8 จังหวัด รวมท้ังสิ้น 706 หน่วยงาน กลุ่ม 8 ประกอบด้วยจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท้ังหมดในจังหวัดกระบี่ ชุมพร นครศรธี รรมราช พงั งา ภูเก็ต ระนอง และสุราษฎร์ธานี รวม 7 จังหวดั รวมท้ังสนิ้ 573 หน่วยงาน รายละเอยี ดการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
4 กลุ่ม 9 ประกอบด้วยจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัดตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลงุ ยะลา สงขลา และสตูล รวม 7 จังหวดั รวมทง้ั สิน้ 631 หนว่ ยงาน กลุ่ม 10 ประกอบด้วยหน่วยงานประเภท องค์กรอิสระ องค์กรศาล องค์กรอัยการ หน่วยงานใน สังกดั รัฐสภา กรมหรอื เทียบเท่า รฐั วิสาหกิจ องค์การมหาชน กองทนุ หนว่ ยงานของรฐั อื่นๆ สถาบันอุดมศึกษา และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ รปู แบบพเิ ศษ (กรุงเทพมหานคร) รวมทงั้ ส้ิน 375 หน่วยงาน 2. ระเบียบวิธีกำรประเมนิ 2.1 แหล่งขอ้ มลู ในกำรประเมิน แหล่งขอ้ มูลท่ีใช้ในการประเมนิ หนว่ ยงานภาครฐั แต่ละหน่วยงาน ประกอบไปดว้ ย 3 แหลง่ ดังนี้ 1) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน หมายถึง บุคลากรของหน่วยงานภาครัฐ ตั้งแต่ระดับผู้บริหาร ผู้อานวยการ/หัวหน้า ข้าราชการ/พนักงาน ไปจนถึงลูกจ้าง/พนักงานจ้าง ที่ทางานให้กับหน่วยงานภาครัฐมา เป็นระยะเวลาไมน่ ้อยกวา่ 1 ปี 2) ผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสียภายนอก หมายถงึ บุคคล นิตบิ คุ คล บริษัทเอกชน หรือหน่วยงานของรัฐอื่น ทเี่ คยมารบั บริการหรือมาติดตอ่ ตามภารกจิ ของหน่วยงานภาครัฐ นบั ตง้ั แต่ในปี พ.ศ. 2563 เป็นตน้ มา 3) เวบ็ ไซต์ หมายถึง เวบ็ ไซต์หลกั ของหนว่ ยงานภาครฐั ทีใ่ ช้ในการส่ือสารต่อสาธารณะ 2.2 เครอื่ งมือในกำรประเมิน เครื่องมอื ในการประเมนิ จะประกอบไปดว้ ย 3 เคร่ืองมอื เพื่อเก็บข้อมูลจากแตล่ ะแหลง่ ข้อมลู ดงั น้ี 1) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment: IIT) เป็นแบบวดั ท่ใี หผ้ ้ตู อบเลือกตัวเลือกคาตอบตามการรับรู้ของตนเอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ เกบ็ ขอ้ มูลจากผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ภายใน โดยเปน็ การประเมินระดับการรับรูข้ องผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสียภายในท่ีมีต่อ หนว่ ยงานตนเอง ใน 5 ตวั ชีว้ ดั ไดแ้ ก่ ตวั ชว้ี ดั การปฏิบตั หิ นา้ ที่ ตัวชีว้ ดั การใช้งบประมาณ ตัวชี้วัดการใช้อานาจ ตวั ช้ีวัดการใชท้ รพั ยส์ ินของราชการ และตวั ชวี้ ัดการแกไ้ ขปญั หาการทุจริต 2) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment: EIT) เป็นแบบวดั ท่ใี ห้ผู้ตอบเลือกตวั เลือกคาตอบตามการรับรขู้ องตนเอง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ เก็บขอ้ มูลจากผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสียภายนอก โดยเป็นการประเมินระดับการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกที่ มตี อ่ หน่วยงานท่ีประเมิน ใน 3 ตัวชี้วัด ได้แก่ ตัวช้ีวัดคุณภาพการดาเนินงาน ตัวชี้วัดประสิทธิภาพการสื่อสาร และตวั ชว้ี ัดการปรบั ปรงุ ระบบการทางาน 3) แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) เป็นแบบวัดท่ีให้ผู้ตอบเลือกตอบมีหรือไม่มีการเปิดเผยข้อมูล พร้อมทั้งระบุ URL เพ่ือ เช่อื มโยงไปสู่แหล่งที่อยู่ของการเปิดเผยข้อมูล และระบุคาอธิบายเพิ่มเติมประกอบคาตอบ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลจากเว็บไซต์ของหน่วยงาน โดยเป็นการประเมินระดับการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะของ หน่วยงานเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลในเว็บไซต์หลักของหน่วยงานได้ ใน 2 ตัวช้ีวัด ได้แก่ ตัวชี้วัด การเปิดเผยข้อมูล (ประกอบด้วย 5 ตัวช้ีวัดย่อย ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐาน การบริหารงาน การบริหารเงิน งบประมาณ การบรหิ ารและพัฒนาทรัพยากรบคุ คล และการส่งเสริมความโปรง่ ใส) และตัวช้ีวัดการป้องกันการ ทุจริต (ประกอบด้วย 2 ตัวช้ีวัดย่อย ได้แก่ การดาเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต และมาตรการภายในเพื่อ ปอ้ งกนั การทจุ ริต) รายละเอยี ดการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
5 2.3 กลมุ่ ตวั อยำ่ งในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล กลมุ่ ตัวอยา่ งสาหรับการเกบ็ ขอ้ มลู จากแตล่ ะเครื่องมือในการประเมนิ ดงั นี้ 1) ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียภายใน การกาหนดขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ งขัน้ ต่า จานวนรอ้ ยละ 10 ของจานวน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน แต่จะต้องมีจานวนไม่น้อยกว่า 30 ตัวอย่าง กรณีหน่วยงานมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายในจานวนน้อยกว่า 30 คน ให้เก็บข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในทั้งหมด กรณีหน่วยงานมีผู้มีส่วนได้ สว่ นเสียภายในจานวนมากกวา่ 4,000 คน ให้เกบ็ ข้อมลู จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในไมน่ อ้ ยกวา่ 400 ตวั อยา่ ง 2) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก การกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างข้ันต่า จานวนร้อยละ 10 ของ จานวนผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี ภายนอก แตจ่ ะตอ้ งมีจานวนไมน่ ้อยกว่า 30 ตวั อยา่ ง กรณีหน่วยงานมีผู้มีส่วนได้ส่วน เสยี ภายในจานวนน้อยกว่า 30 คน ให้เกบ็ ข้อมลู จากผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสียภายในท้ังหมด กรณีหน่วยงานมีผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียภายในจานวนมากกว่า 4,000 คน ให้เก็บข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในไม่น้อยกว่า 400 ตัวอยา่ ง 3) เว็บไซต์ของหนว่ ยงาน เกบ็ ข้อมูลจากเว็บไซตห์ ลกั ของหน่วยงานทุกหนว่ ยงาน 2.4 กำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล สาหรับแต่ละเครื่องมือการประเมิน จะดาเนินการผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศรองรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment System: ITAS) ซึ่งเป็นศูนย์กลางในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่สามารถ บริหารจัดการข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และทาให้การดาเนินการประเมินสามารถทาได้อย่างรวดเร็วและเป็น มาตรฐานเดยี วกนั ทว่ั ประเทศ ดงั น้ี กำรเก็บรวบรวมข้อมลู แบบ IIT เกบ็ รวบรวมข้อมูลดาเนินการ ดังนี้ นาเข้าข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน โดยให้หน่วยงานระบุจานวนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายในลงในระบบ ITAS ท่ีทางานให้กับหน่วยงานภาครัฐมาเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี นับถึงวันที่นาเข้า ขอ้ มูลลงในระบบ ITAS (ผดู้ ูแลระบบของหน่วยงานเป็นผู้กรอกข้อมูลและผู้บริหารจะต้องตรวจสอบและอนุมัติ ข้อมลู ในระบบ ITAS) เก็บรวบรวมข้อมูลแบบ IIT โดยให้หน่วยงานนา URL หรือ QR code ช่องทางการเข้าตอบ แบบสารวจ IIT ของหน่วยงาน ไปเผยแพร่และประชาสัมพันธ์แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในของหน่วยงาน โดย หน่วยงานควรคานึงถึงช่องทางการเผยแพร่ที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในจะสามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวกและ การเผยแพร่ครอบคลุมทั่วถึงทุกส่วนงานและทุกระดับของหน่วยงาน จากน้ัน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในจะเข้า มาตอบแบบสารวจ IIT ดว้ ยตนเองผ่านทาง URL หรอื QR code ซง่ึ จะเป็นการตอบเข้าสูร่ ะบบ ITAS โดยตรง ทัง้ นี้ หากหนว่ ยงานมขี ้อสงสยั เก่ียวกบั แนวทางการปฏบิ ตั ิ สามารถสอบถามและขอรับคาแนะนาจาก คณะที่ปรึกษาการประเมินเพ่ือให้ดาเนินการให้ถูกต้อง รวมไปถึงคณะที่ปรึกษาการประเมินอาจมีการสอบทาน หรือสุ่มตรวจสอบการดาเนินการของหน่วยงานให้เป็นไปตามแนวทางที่กาหนด เพ่ือให้การเก็บรวบรวมข้อมูล แบบ IIT ได้ขอ้ มลู ที่มคี ณุ ภาพและสามารถสะท้อนผลของหนว่ ยงานได้ตามหลักทางวิชาการมากท่สี ุด ขอ้ ควรระวัง#1 การเก็บรวบรวมข้อมูลแบบ IIT หน่วยงานจะต้องกากับติดตามและส่งเสริมให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในเข้า มาตอบตามระยะเวลาท่กี าหนดให้ไดม้ ากที่สดุ และไมน่ ้อยกวา่ จานวนกลุม่ ตวั อย่างข้นั ตา่ ตามทีก่ าหนด รายละเอยี ดการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
6 IIT หน่วย คณะที่ งำน ปรกึ ษำ ระบจุ านวนผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี ภายใน ใหค้ าปรึกษาหรอื ข้อแนะนา (กรอกข้อมลู พรอ้ มตรวจสอบและอนมุ ตั )ิ แนวทางการปฏบิ ตั ิ ระบบ ITAS จะแสดงช่องทางการเขา้ สอบทานการดาเนนิ การ ตอบแบบสารวจ IIT ของหน่วยงานให้ถูกต้อง หนว่ ยงานนา URL หรอื QR code เผยแพร่และประชาสมั พนั ธ์ในชอ่ งทาง ประชาสมั พนั ธภ์ ายในหนว่ ยงาน ผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสียภายใน ผมู้ สี ว่ นได้ เขา้ ตอบผา่ น URL หรอื QR code สว่ นเสีย ภำยใน กำรเก็บรวบรวมขอ้ มูลแบบ EIT เกบ็ รวบรวมข้อมูลดาเนินการ ดงั นี้ นาเขา้ ข้อมูลผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียภายนอก โดยให้หน่วยงานระบุจานวนประมาณการจานวนผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียภายนอก และกรอกรายช่ือตัวอย่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกของหน่วยงานตามแบบฟอร์ม และตามที่สานักงาน ป.ป.ช. หรือคณะที่ปรึกษาแนะนา (ผู้ดูแลระบบของหน่วยงานเป็นผู้กรอกข้อมูลและ ผบู้ รหิ ารจะตอ้ งตรวจสอบและอนมุ ตั ขิ ้อมลู ) เก็บรวบรวมข้อมูลแบบ EIT ดาเนนิ การ 3 วธิ ีการ ดังนี้ (1) ให้หน่วยงานนา URL หรือ QR code ไปเผยแพร่และประชาสัมพันธ์แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายนอกของหน่วยงานท่ีมารับบริการหรือมาติดต่อกับหน่วยงาน โดยหน่วยงานควรคานึงถึงช่องทางการ เผยแพร่ท่ีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกจะสามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกจะเข้ามา ตอบแบบสารวจ EIT ด้วยตนเองผ่านทาง URL หรอื QR code ซ่งึ จะเปน็ การตอบเขา้ สูร่ ะบบ ITAS โดยตรง (2) คณะท่ีปรึกษาการประเมินจะวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกท่ีสาคัญของหน่วยงาน เพ่ือให้สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีมีคุณภาพสอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงาน จากนั้นจะกาหนดแนวทาง และดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามหลักทางวิชาการ ทั้งนี้ อาจเก็บข้อมูลจากรายช่ือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายนอกตามทห่ี น่วยงานจดั ส่งข้อมลู ในระบบ ITAS หรือ อาจขอรบั ขอ้ มูลเพ่ิมเติม หรืออาจขอเข้าเก็บรวบรวม ข้อมลู ภาคสนามท่ีหน่วยงาน หรอื แหล่งข้อมูลตามทีส่ านักงาน ป.ป.ช. กาหนด รายละเอยี ดการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
7 (3) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก สามารถเข้ามาตอบแบบสารวจ EIT ของหน่วยงานได้ โดยการ คน้ หาช่องทางการเข้าตอบจากระบบ ITAS เพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกท่ีเคยมารับบริการหรือมาติดต่อ กับหน่วยงานในปี พ.ศ. 2563 ได้มีโอกาสไดเ้ ขา้ มาตอบแบบสารวจ EIT ไดด้ ้วยตนเองในระบบ ITAS โดยตรง ทั้งน้ี หากหน่วยงานมีข้อสงสัยเก่ียวกับแนวทางการปฏิบัติ สามารถสอบถามและขอรับคาแนะนา จากคณะท่ปี รึกษาการประเมินเพื่อให้ดาเนินการให้ถูกต้อง รวมไปถึงคณะท่ีปรึกษาการประเมินอาจมีการสอบ ทานหรือสุ่มตรวจสอบการดาเนินการของหน่วยงานให้เป็นไปตามแนวทางที่กาหนด เพื่อให้การเก็บรวบรวม ขอ้ มูลแบบ EIT ไดข้ อ้ มูลท่มี ีคุณภาพและสามารถสะทอ้ นผลของหน่วยงานไดต้ ามหลักทางวชิ าการมากทีส่ ดุ EIT หน่วย คณะท่ี งำน ปรึกษำ ระบุจานวนประมาณการจานวนผู้มสี ว่ น ใหค้ าปรกึ ษาหรอื ขอ้ แนะนา ไดส้ ว่ นเสียภายนอก และตัวอยา่ งรายชอ่ื แนวทางการปฏบิ ตั ิ ผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสียภายนอก (กรอกขอ้ มลู พรอ้ มตรวจสอบและอนุมัต)ิ คน้ หาช่องทางการเข้าตอบ สอบทานการดาเนินการของ ได้จากระบบ ITAS โดยตรง หนว่ ยงานใหถ้ ูกต้อง ระบบ ITAS จะแสดงชอ่ งทางการเขา้ ตอบ แบบสารวจ EIT วิเคราะห์ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี ภายนอกทีส่ าคัญ หนว่ ยงานนา URL หรือ QR code เผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธ์ในช่องทาง ประชาสมั พนั ธภ์ ายนอก ผ้มู สี ว่ นได้ส่วนเสยี ภายนอก ผูม้ สี ่วนได้ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผมู้ สี ่วนได้ เขา้ ตอบผา่ น URL หรอื QR code สว่ นเสียภายนอก ส่วนเสีย ภำยใน กำรเก็บรวบรวมข้อมูลแบบ OIT ดาเนินการโดยให้หน่วยงานตอบลงในระบบ ITAS โดยการตอบ คาถามมี/ไม่มี พร้อมท้ังระบุ URL เพ่ือเชื่อมโยงไปสู่แหล่งท่ีอยู่ของข้อมูล และระบุคาอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คาตอบ (ผดู้ ูแลระบบของหน่วยงานเป็นผู้กรอกข้อมูลและผู้บริหารจะต้องตรวจสอบและอนุมัติข้อมูล) จากนั้น คณะท่ีปรึกษาการประเมินจะตรวจสอบการเปิดเผยข้อมูลตามแบบ OIT โดยตรวจสอบจากคาตอบและ URL ของหนว่ ยงาน และพิจารณาให้คะแนนโดยอ้างอิงตามความครบถว้ นขององค์ประกอบตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนด ในแต่ละประเดน็ การประเมนิ หากหนว่ ยงานมีขอ้ สงสยั เกยี่ วกบั แนวทางการปฏบิ ัติ สามารถสอบถามและขอรับคาแนะนาจากคณะ ท่ีปรกึ ษาการประเมนิ เพื่อให้ดาเนนิ การให้ถกู ต้อง รายละเอยี ดการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
8 คณะท่ี ปรกึ ษำ OIT ให้คาปรกึ ษาหรอื หน่วย ข้อแนะนาแนวทางการ งำน ปฏิบตั ิ ตอบแบบสารวจ OIT โดยการตอบ ตรวจสอบการเปดิ เผย คาถามมี/ไมม่ ี พร้อมทั้งระบุ URL เพอื่ ข้อมูลและพิจารณาให้ เชือ่ มโยงไปสูแ่ หล่งท่ีอย่ขู องข้อมลู และ คะแนน ระบคุ าอธิบายเพม่ิ เติมประกอบคาตอบ (กรอกข้อมลู พรอ้ มตรวจสอบและอนุมตั ิ) ข้อควรระวัง#2 หนว่ ยงานจะตอ้ งทาความเข้าใจในรายละเอียดของแต่ละข้อคาถาม สอบทานข้อมูลและการเปิดเผยข้อมูลในการ ตอบคาถามใหช้ ัดเจนมากท่สี ดุ โดยสามารถขอรบั คาแนะนาจากคณะท่ปี รกึ ษาการประเมินได้ภายในระยะเวลาที่ กาหนดในขั้นตอนการตอบคาถาม ทงั้ นี้ หลังจากสน้ิ สดุ ระยะเวลาในขน้ั ตอนการตอบคาถามแล้ว หน่วยงานจะไม่ สามารถแกไ้ ขข้อมูลหรือสง่ ขอ้ มลู เพ่ิมเติมได้ ข้อควรระวงั #3 หน่วยงานจะต้องรักษาและคงสภาพเว็บไซต์หลักของหน่วยงานให้สาธารณชนสามารถเข้าถึงได้ทุกช่วงเวลา อย่างไรก็ตาม ในกรณีเกิดเหตุจาเป็นทางเทคนิคทาให้เว็บไซต์หลักของหน่วยงานไม่สามารถเข้าถึงได้ช่ัวคราว หน่วยงานจะต้องแก้ไขให้สามารถเข้าถึงได้โดยเร็วและภายในระยะเวลาที่กาหนดในข้ันตอนการตรวจสอบการ เปิดเผยขอ้ มูล ขอ้ ควรระวงั #4 กรณีที่หน่วยงานท่ีไม่สามารถเปิดเผยข้อมูลใดได้ เน่ืองจากมีข้อจากัดหรือเหตุผลความจาเป็นทาให้ไม่สามารถ เผยแพรข่ ้อมูลตามรายละเอยี ดท่กี าหนดได้ ใหห้ นว่ ยงานอธิบายเหตุผลความจาเป็นมาอย่างละเอียด โดยจะต้อง มีสาเหตุด้านกฎหมายหรอื ขอ้ จากัดอนั สดุ วสิ ัยประกอบการตอบ รายละเอยี ดการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
9 3. หลกั เกณฑ์กำรประเมนิ ผล 3.1 กำรประมวลผลคะแนน การประมวลผลคะแนน มขี นั้ ตอนการประมวลผลคะแนนตามลาดบั ดังน้ี คะแนน แบบ IIT แบบ EIT แบบ OIT คะแนนขอ้ คาถาม คะแนนเฉล่ยี ของ คะแนนเฉลี่ยของ คะแนนของขอ้ คาถาม ข้อคาถามจากผ้ตู อบทกุ คน ข้อคาถามจากผตู้ อบทกุ คน คะแนนเฉลยี่ ของ คะแนนตวั ชว้ี ัดย่อย – – ทุกข้อคาถาม ในตวั ชว้ี ดั ยอ่ ย คะแนนตัวชว้ี ดั คะแนนเฉล่ยี ของ คะแนนเฉล่ยี ของ คะแนนเฉลีย่ ของ ทกุ ข้อคาถามในตวั ชวี้ ดั ทกุ ข้อคาถามในตวั ชี้วดั ทกุ ตวั ชี้วดั ยอ่ ยในตัวชว้ี ัด คะแนนแบบสารวจ คะแนนเฉล่ยี ของ คะแนนเฉลยี่ ของ คะแนนเฉลยี่ ของ ทกุ ตัวชว้ี ดั ในแบบสารวจ ทุกตวั ชีว้ ัดในแบบสารวจ ทกุ ตวั ชีว้ ดั ในแบบสารวจ นา้ หนักแบบสารวจ ร้อยละ 30 ร้อยละ 30 รอ้ ยละ 40 คะแนนรวม ผลรวมของคะแนนแบบสารวจท่ีถ่วงนา้ หนัก 3.2 คะแนนและระดบั ผลกำรประเมิน ผลการประเมินจะมี 2 ลักษณะ คือค่าคะแนน โดยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน และระดับผลการ ประเมนิ (Rating Score) โดยจาแนกออกเปน็ 7 ระดบั ดงั น้ี คะแนน ระดบั 95.00 – 100 AA 85.00 – 94.99 A 75.00 – 84.99 B 65.00 – 74.99 C 55.00 – 64.99 D 50.00 – 54.99 E 0 – 49.99 F 3.3 ผลกำรประเมนิ ตำมเปำ้ หมำยฯ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 21 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 – 2580) ในระยะแรกของแผนแม่บทฯ (พ.ศ. 2561 – 2565) ได้กาหนดค่าเป้าหมายของตัวช้ีวัดให้ หน่วยงานภาครัฐท่ีมีผลการประเมิน ITA ผ่านเกณฑ์ (85 คะแนน) มีสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และ แผนงานบูรณาการตอ่ ต้านการทุจรติ และประพฤติมิชอบก็ได้กาหนดค่าเป้าหมายในปี พ.ศ. 2563 ให้หน่วยงาน ภาครัฐมผี ลการประเมนิ ITA ผา่ นเกณฑม์ ีสัดส่วนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ท้ังน้ี เมื่อประมวลผลเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะมีการสอบทานและกลั่นกรองผลการประเมินและ นาเสนอผลการประเมินต่อคณะกรรมการทีเ่ กีย่ วข้องก่อนประกาศผลและเผยแพร่รายงานผลการประเมินต่อไป รายละเอียดการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
10 ข้อควรระวัง#5 หน่วยงานจะตอ้ งปฏิบัติตามวิธีการประเมนิ และระยะเวลาที่กาหนด ซง่ึ เป็นมาตรฐานเดยี วกนั ทุกหน่วยงาน โดยหากหนว่ ยงานไมไ่ ด้ปฏบิ ัติในขนั้ ตอนใดขนั้ ตอนหนึง่ หรอื หลายข้ันตอน จะสง่ ผลให้ไม่ได้รับการประกาศ ผลการประเมนิ อยา่ งเป็นทางการ (ผลการประเมนิ จะแสดงสัญลักษณ์ “*”) กรณที หี่ นว่ ยงานดาเนนิ การไมค่ รบถว้ นตามข้นั ตอนที่กาหนดมดี ังนี้ กรณหี น่วยงานไมไ่ ดล้ งทะเบยี นเข้าระบบการประเมิน กรณีหน่วยงานไม่ได้นาเข้าข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในครบขั้นตอน (โดยผู้ดูแลระบบ ของหน่วยงานเป็นผกู้ รอกขอ้ มลู และผู้บรหิ ารจะตอ้ งตรวจสอบและอนุมตั ิข้อมลู ) กรณีหน่วยงานไม่ได้นาเข้าข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกครบข้ันตอน (โดยผู้ดูแลระบบ ของหนว่ ยงานเป็นผู้กรอกข้อมลู และผู้บรหิ ารจะตอ้ งตรวจสอบและอนมุ ัติขอ้ มูล) กรณีหนว่ ยงานไม่ไดต้ อบแบบ OIT ครบขัน้ ตอน (โดยผู้ดูแลระบบของหน่วยงานเป็นผู้กรอก ข้อมลู และผูบ้ ริหารจะต้องตรวจสอบและอนมุ ตั ขิ ้อมูล) กรณีหน่วยงานมจี านวนผตู้ อบแบบ IIT นอ้ ยกว่าจานวนคา่ ข้นั ตา่ ที่กาหนด (และกรณีนี้จะไม่ สามารถประมวลผลคะแนนขอ้ คาถามและตัวช้ีวดั ท่ี 1 – 5 ได)้ 4. กรอบระยะเวลำกำรประเมิน การประเมิน ITA จะดาเนนิ การประเมนิ ในช่วงเดอื นเมษายน – เดอื นสงิ หาคม พ.ศ. 2563 ดงั นี้ กิจกรรม เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 1 ลงทะเบียนเข้าใชง้ านระบบ 2 นาเขา้ ขอ้ มลู ในการประเมิน 3 เก็บข้อมูลแบบสารวจ IIT 4 เก็บข้อมูลแบบสารวจ EIT 5 ตอบแบบสารวจ OIT 6 ตรวจและให้คะแนนแบบ OIT 7 ประมวลผลคะแนน 8 วเิ คราะหผ์ ลและใหข้ ้อเสนอแนะ 9 กล่ันกรองและนาเสนอผลการประเมินต่อ คณะกรรมการที่เก่ยี วขอ้ ง 10 ประกาศผลและเผยแพรร่ ายงานผลการประเมนิ หมายเหตุ : กรอบระยะเวลาอาจมกี ารเปลย่ี นแปลงไดต้ ามท่สี านกั งาน ป.ป.ช. กาหนด โดยจะแจง้ ให้ไดร้ บั ทราบก่อนลว่ งหน้า รายละเอยี ดการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
11 5. ประเด็นกำรประเมนิ ประเดน็ ในการประเมนิ จาแนกออกเป็น 10 ตัวชวี้ ดั ดังนี้ แบบวัดกำรรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภำยใน (Internal Integrity and Transparency Assessment: IIT) ใชเ้ ก็บรวบรวมข้อมูลในตัวชี้วดั ที่ 1 – ตัวชวี้ ดั ที่ 5 ประกอบดว้ ย ตัวช้ีวัดท่ี 1 กำรปฏิบัติหน้ำที่ เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากร ภายในหน่วยงานต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรอื่นในหน่วยงานของตนเอง ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติงานโดยยึดหลักตามมาตรฐาน มีความโปร่งใส ปฏิบัติงานหรือดาเนินการตามข้ันตอนและระยะเวลาท่ี กาหนดไว้อย่างเคร่งครัด และจะต้องเป็นไปอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็นผู้มาติดต่อทั่วไปหรือผู้มาติดต่อที่ รู้จกั กันเป็นการส่วนตัว รวมไปถึงการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งมุง่ มน่ั เต็มความสามารถ และมีความรบั ผิดชอบต่องานใน หน้าท่ีที่รับผิดชอบ ซ่ึงล้วนถือเป็นลักษณะการปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะเจ้าหน้าท่ีของรัฐอย่างมีคุณธรรม นอกจากนี้ ยังประเมินการรบั รใู้ นประเด็นที่เกย่ี วข้องกบั พฤติกรรมการเรียกรับเงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืน ๆ ของบุคลากรอ่ืนในหน่วยงานทั้งในกรณีที่แลกกับการปฏิบัติหน้าท่ี และในกรณีช่วงเทศกาลหรือวาระสาคัญ ต่าง ๆ ตามขนบธรรมเนียม ประเพณี หรือแม้แต่กรณีการให้เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่น ๆ ต่อ บคุ คลภายนอก ซงึ่ ถือเป็นความเสี่ยงท่อี าจจะกอ่ ให้เกดิ การรบั สินบนไดใ้ นอนาคต ตัวช้ีวัดที่ 1 การปฏิบัติหน้าที่ ประกอบดว้ ยขอ้ คาถามจานวน 6 ขอ้ ดงั น้ี ประเด็นการประเมิน นอ้ ยทส่ี ุด ระดบั มากทสี่ ดุ หรอื ไม่มีเลย นอ้ ย มาก i1 บุคลากรในหนว่ ยงานของทา่ น ปฏบิ ัตงิ าน/ใหบ้ รกิ าร แก่ผมู้ าติดต่อ ตามประเด็นดังต่อไปน้ี มากน้อยเพียงใด เปน็ ไปตามข้นั ตอนทก่ี าหนด เป็นไปตามระยะเวลาที่กาหนด ประเดน็ การประเมิน น้อยทส่ี ุด ระดับ มากทส่ี ุด หรือไม่มีเลย นอ้ ย มาก i2 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน ปฏิบตั ิงาน/ใหบ้ รกิ าร แก่ผมู้ าติดต่อท่ัว ๆ ไป กบั ผมู้ าติดตอ่ ทรี่ ูจ้ ักเป็นการ ส่วนตัว อย่างเทา่ เทยี มกนั มากน้อยเพยี งใด ประเดน็ การประเมนิ นอ้ ยทสี่ ุด ระดับ มากทีส่ ดุ หรือไม่มีเลย น้อย มาก i3 บคุ ลากรในหนว่ ยงานของท่าน มีพฤติกรรมในการ ปฏบิ ัติงาน ตามประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี อยา่ งไร มงุ่ ผลสาเรจ็ ของงาน ให้ความสาคัญกบั งานมากกวา่ ธรุ ะส่วนตวั พร้อมรบั ผิดชอบ หากความผิดพลาดเกิดจากตนเอง รายละเอียดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
12 ประเดน็ การประเมนิ ระดับ i4 บคุ ลากรในหน่วยงานของท่าน มีการเรยี กรบั ส่ิงดงั ต่อไปนี้ จากผมู้ าตดิ ต่อ มี ไม่มี เพ่อื แลกกบั การปฏบิ ัตงิ าน การอนมุ ัติ อนุญาต หรือให้บริการ หรือไม่ เงนิ ทรพั ย์สนิ ประโยชน์อื่น ๆ ทอ่ี าจคานวณเปน็ เงนิ ได้ เชน่ การลดราคา การรบั ความบนั เทงิ เปน็ ตน้ หมายเหตุ: เปน็ การเรยี กรบั ทีน่ อกเหนือจากที่กฎหมายกาหนดให้รบั ได้ เชน่ คา่ ธรรมเนียม ค่าบริการ คา่ ปรับ เปน็ ตน้ ประเดน็ การประเมนิ ระดบั มี ไมม่ ี i5 นอกเหนือจากการรับจากญาติหรือจากบคุ คล ที่ใหก้ นั ในโอกาสต่าง ๆ โดยปกติ ตามขนบธรรมเนียม ประเพณี หรอื วฒั นธรรม หรือให้กันตามมารยาททีป่ ฏิบตั ิกนั ใน สงั คมแล้ว บคุ ลากรในหนว่ ยงานของท่าน มกี ารรบั ส่งิ ดังต่อไปน้ี หรอื ไม่ เงิน ทรพั ย์สนิ ประโยชน์อนื่ ๆ ท่ีอาจคานวณเป็นเงนิ ได้ เชน่ การลดราคา การรับความบันเทิง เป็นต้น ประเด็นการประเมิน ระดบั มี ไมม่ ี i6 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีการใหส้ ง่ิ ดังต่อไปน้ี แก่บุคคลภายนอกหรือ ภาคเอกชน เพ่ือสรา้ งความสัมพันธ์ท่ดี แี ละคาดหวังใหม้ กี ารตอบแทนในอนาคต หรือไม่ เงนิ ทรพั ย์สิน ประโยชนอ์ ื่น ๆ เช่น การยกเว้นคา่ บริการ การอานวยความสะดวกเป็นกรณีพเิ ศษ เปน็ ตน้ ตัวชี้วัดที่ 2 กำรใช้งบประมำณ เป็นตัวชี้วัดท่ีมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากร ภายในหน่วยงานต่อการดาเนินการต่าง ๆ ของหน่วยงานของตนเอง ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายเงิน งบประมาณ นับต้ังแต่การจัดทาแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจาปีและเผยแพร่อย่างโปร่งใส ไปจนถึง ลักษณะการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานอย่างคุ้มค่า เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และไม่เอื้อประโยชน์แก่ ตนเองหรือพวกพอ้ ง การเบิกจ่ายเงินของบุคลากรภายในในเรอื่ งตา่ ง ๆ เช่น คา่ ทางานลว่ งเวลา ค่าวัสดุอุปกรณ์ หรือค่าเดินทาง ฯลฯ ตลอดจนกระบวนการจัดซ้ือจัดจ้างและการตรวจรับพัสดุด้วย นอกจากน้ี ยังให้ ความสาคัญกับการเปิดโอกาสให้บุคลากรภายในมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณของ หน่วยงานตนเองได้ ตวั ชี้วดั ท่ี 2 การใช้งบประมาณ ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 6 ข้อ ดงั น้ี รายละเอียดการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
13 ประเดน็ การประเมิน น้อยท่สี ดุ ระดบั มากที่สดุ หรือไม่มเี ลย นอ้ ย มาก i7 ท่านรเู้ กย่ี วกบั แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณประจาปี ของหน่วยงานของท่าน มากน้อยเพียงใด ประเดน็ การประเมิน น้อยที่สดุ ระดบั มากที่สุด หรอื ไม่มเี ลย น้อย มาก i8 หน่วยงานของทา่ น ใช้จา่ ยงบประมาณ โดยคานงึ ถึง ประเด็นดงั ต่อไปนี้ มากน้อยเพยี งใด คุม้ คา่ ไม่บดิ เบือนวตั ถุประสงค์ของงบประมาณทตี่ ้ังไว้ ประเด็นการประเมนิ น้อยท่สี ดุ ระดบั มากทีส่ ดุ หรือไม่มีเลย น้อย มาก i9 หน่วยงานของทา่ น ใช้จ่ายงบประมาณเพ่ือประโยชน์ สว่ นตวั กลุม่ หรือพวกพ้อง มากน้อยเพียงใด ประเดน็ การประเมนิ นอ้ ยที่สุด ระดับ มากท่สี ุด หรือไม่มเี ลย นอ้ ย มาก i10 บคุ ลากรในหน่วยงานของทา่ น มกี ารเบิกจา่ ยเงนิ ท่ีเปน็ เทจ็ เชน่ ค่าทางานลว่ งเวลา คา่ วัสดุอุปกรณ์ หรือค่าเดนิ ทาง ฯลฯ มากนอ้ ยเพียงใด ประเด็นการประเมิน น้อยทส่ี ดุ ระดบั มากทส่ี ุด หรอื ไม่มีเลย น้อย มาก i11 หน่วยงานของทา่ น มีการจดั ซื้อจัดจ้าง/การจดั หา พัสดุ และการตรวจรับพัสดใุ นลกั ษณะดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ เออ้ื ประโยชนใ์ ห้ผู้ประกอบการรายใดรายหนงึ่ รายละเอยี ดการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
14 ประเด็นการประเมนิ นอ้ ยท่สี ุด ระดับ มากทสี่ ดุ หรือไม่มีเลย นอ้ ย มาก i12 หนว่ ยงานของทา่ น เปดิ โอกาสให้ทา่ น มีสว่ นรว่ ม ในการตรวจสอบการใชจ้ ่ายงบประมาณ ตามประเด็น ดังต่อไปน้ี มากน้อยเพยี งใด สอบถาม ทกั ทว้ ง ร้องเรยี น ตัวช้ีวดั ที่ 3 กำรใชอ้ ำนำจ เป็นตวั ช้ีวัดท่ีมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากรภายใน หน่วยงานต่อการใช้อานาจของผู้บังคับบัญชาของตนเอง ในประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับการมอบหมายงาน การ ประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน การคัดเลือกบุคลากรเพ่ือให้สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ซ่ึงจะต้องเป็นไปอย่างเป็นธรรมและไม่ เลือกปฏิบัติ รวมไปถงึ การใชอ้ านาจสง่ั การใหผ้ ้ใู ตบ้ งั คบั บัญชาทาในธรุ ะสว่ นตัวของผ้บู ังคับบัญชาหรือทาในสิ่งที่ ไมถ่ ูกตอ้ ง นอกจากนี้ ยังประเมินเกี่ยวกับกระบวนการบริหารงานบุคคลที่อาจเกิดการแทรกแซงจากผู้มีอานาจ การ ซื้อขายตาแหน่ง หรือการเอื้อผลประโยชน์ให้กลุ่มหรือพวกพ้อง ตัวชี้วัดท่ี 3 การใช้อานาจ ประกอบด้วยข้อ คาถามจานวน 6 ขอ้ ดังนี้ ประเดน็ การประเมิน นอ้ ยที่สดุ ระดับ มากทส่ี ุด นอ้ ย มาก หรือไม่มีเลย i13 ทา่ นไดร้ ับมอบหมายงานจากผบู้ ังคับบัญชาอย่าง เปน็ ธรรม มากน้อยเพียงใด หมายเหตุ: การมอบหมาย หมายถึง การมอบหมายงานตามตาแหน่งหน้าที่ ประเดน็ การประเมนิ น้อยที่สุด ระดบั มากที่สดุ หรือไม่มีเลย น้อย มาก i14 ท่านได้รับการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามระดับ คุณภาพของผลงานอยา่ งถูกต้อง มากนอ้ ยเพียงใด ประเด็นการประเมิน น้อยท่ีสดุ ระดับ มากทีส่ ดุ หรอื ไม่มเี ลย นอ้ ย มาก i15 ผบู้ งั คบั บัญชาของท่าน มีการคัดเลือกผู้เขา้ รบั การ ฝึกอบรม การศึกษาดูงาน หรือการให้ทนุ การศกึ ษา อย่างเป็นธรรม มากนอ้ ยเพียงใด รายละเอยี ดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
15 ประเด็นการประเมนิ น้อยทส่ี ดุ ระดับ มากทส่ี ุด หรอื ไม่มีเลย น้อย มาก i16 ท่านเคยถกู ผู้บงั คบั บัญชาส่งั การให้ทาธรุ ะสว่ นตัว ของผบู้ ังคับบัญชา มากน้อยเพียงใด ประเดน็ การประเมนิ น้อยทสี่ ดุ ระดบั มากที่สดุ หรอื ไม่มีเลย น้อย มาก i17 ท่านเคยถูกผบู้ ังคับบัญชาสงั่ การให้ทาในส่งิ ทไี่ ม่ ถกู ต้อง หรือมีความเสี่ยงต่อการทจุ ริต มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมนิ นอ้ ยทีส่ ุด ระดบั มากทส่ี ุด i18 การบริหารงานบุคคลของหนว่ ยงานของท่าน หรือไม่มีเลย น้อย มาก มลี ักษณะดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด ถกู แทรกแซงจากผ้มู ีอานาจ มีการซื้อขายตาแหนง่ เออื้ ประโยชน์ให้กลุม่ หรอื พวกพ้อง ตัวช้ีวัดท่ี 4 กำรใช้ทรัพย์สินของรำชกำร เป็นตัวช้ีวัดที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินการรับรู้ของ บุคลากรภายในหน่วยงานต่อการใช้ทรัพย์สินของราชการ ในประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับพฤติกรรมของบุคลากร ภายใน ในการนาทรัพย์สนิ ของราชการของหน่วยงานไปเป็นของตนเองหรือนาไปให้ผู้อ่ืน และพฤติกรรมในการ ขอยืมทรพั ยส์ ินของราชการ ทั้งการยืมโดยบุคลากรภายในหน่วยงานและการยืมโดยบุคคลภายนอกหน่วยงาน ซึ่งหน่วยงานจะต้องมีกระบวนการในการขออนุญาตที่ชัดเจนและสะดวก นอกจากนี้ หน่วยงานจะต้องมีการ จดั ทาแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ทรัพย์สินของราชการท่ีถูกต้อง เพ่ือเผยแพร่ให้บุคลากรภายในได้รับทราบ และนาไปปฏิบัติ รวมไปถึงหน่วยงานจะต้องมีการกากับดูแลและตรวจสอบการใช้ทรัพย์สินของราชการของ หน่วยงานด้วย ตัวชว้ี ัดที่ 4 การใชท้ รพั ย์สนิ ของราชการ ประกอบดว้ ยขอ้ คาถามจานวน 6 ขอ้ ดงั น้ี ประเดน็ การประเมนิ น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไม่มเี ลย นอ้ ย มาก i19 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีการเอาทรัพย์สนิ ของราชการ ไปเป็นของส่วนตัว หรอื นาไปให้กลุ่มหรือ พวกพ้อง มากนอ้ ยเพยี งใด รายละเอยี ดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
16 ประเด็นการประเมนิ น้อยทีส่ ุด ระดบั มากทส่ี ดุ หรอื ไม่มีเลย นอ้ ย มาก i20 ขน้ั ตอนการขออนุญาตเพ่ือยืมทรัพยส์ ินของราชการ ไปใช้ปฏบิ ัตงิ านในหนว่ ยงานของทา่ น มีความสะดวก มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมนิ น้อยทีส่ ุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไม่มีเลย นอ้ ย มาก i21 ถา้ ต้องมีการขอยืมทรัพย์สินของราชการ ไปใช้ปฏิบตั ิงาน บุคลากรในหนว่ ยงานของท่าน มีการขออนุญาตอยา่ งถูกต้อง มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน นอ้ ยที่สดุ ระดบั มากที่สดุ หรอื ไม่มเี ลย นอ้ ย มาก i22 บุคคลภายนอกหรอื ภาคเอกชน มีการนาทรพั ย์สิน ของราชการไปใช้ โดยไม่ได้ขออนญุ าตอยา่ งถูกต้อง จาก หน่วยงานของท่าน มากน้อยเพียงใด ประเดน็ การประเมิน น้อยที่สดุ ระดบั มากท่ีสุด หรือไม่มีเลย นอ้ ย มาก i23 ท่านรูแ้ นวปฏบิ ัติของหนว่ ยงานของท่าน เกี่ยวกบั การใชท้ รพั ย์สนิ ของราชการท่ีถูกต้อง มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมนิ น้อยทสี่ ุด ระดบั มากทสี่ ดุ หรอื ไม่มเี ลย น้อย มาก i24 หนว่ ยงานของท่าน มีการกากบั ดูแลและตรวจสอบ การใชท้ รัพยส์ นิ ของราชการ เพือ่ ป้องกันไม่ให้มีการ นาไปใช้ประโยชน์ส่วนตวั กล่มุ หรือพวกพ้อง มากนอ้ ย เพยี งใด รายละเอยี ดการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
17 ตัวชี้วัดที่ 5 กำรแก้ไขปัญหำกำรทุจริต เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของ บุคลากรภายในหน่วยงานต่อการแก้ไขปัญหาการทุจริตของหน่วยงาน ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการให้ ความสาคัญของผู้บริหารสูงสุดในการต่อต้านการทุจริตอย่างจริงจัง โดยหน่วยงานจะต้องทบทวนนโยบายท่ี เกี่ยวข้องกับการป้องกันการทุจริตในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ และจัดทาแผนงานด้านการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตของหน่วยงาน เพ่ือให้เกิดการแก้ไขปัญหาการทุจริตได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมไปถึงการ ประเมินเก่ียวกับประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาการทุจริตของหน่วยงาน ท่ีจะต้องทาให้การทุจริตในหน่วยงา น ลดลงหรือไม่มีเลย และจะต้องสร้างความเช่ือม่ันให้บุคลากรภายใน ในการร้องเรียนเมื่อพบเห็นการทุจริต ภายในหน่วยงานด้วย นอกจากนี้ หน่วยงานจะต้องมีกระบวนการเฝ้าระวัง ตรวจสอบการทุจริตภายใน หน่วยงาน รวมถึงการนาผลการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบ จากท้ังภายในและภายนอกหน่วยงาน ไป ปรับปรุงการทางาน เพ่ือป้องกันการทุจริต ตัวชี้วัดที่ 5 การแก้ไขปัญหาการทุจริต ประกอบด้วยข้อคาถาม จานวน 6 ขอ้ ดังนี้ ระดับ ประเด็นการประเมิน นอ้ ยทส่ี ุด น้อย มาก มากที่สดุ หรือไม่มเี ลย i25 ผบู้ รหิ ารสูงสดุ ของหนว่ ยงานของท่าน ให้ ความสาคญั กับการต่อตา้ นการทุจรติ มากน้อยเพียงใด ประเดน็ การประเมิน ระดบั มี ไม่มี i26 หนว่ ยงานของทา่ น มีการดาเนินการ ดงั ต่อไปนี้ หรือไม่ ทบทวนนโยบายหรอื มาตรการปอ้ งกนั การทจุ ริตในหนว่ ยงานให้มีประสิทธิภาพ จัดทาแผนงานด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ ของหนว่ ยงาน ระดบั ประเดน็ การประเมนิ น้อยที่สดุ น้อย มาก มากท่สี ดุ หรือไม่มีเลย i27 ปัญหาการทจุ ริตในหนว่ ยงานของทา่ น ไดร้ ับการ แกไ้ ข มากน้อยเพยี งใด หมายเหตุ: หากท่านเหน็ วา่ หนว่ ยงานของทา่ นไม่มีปัญหาการทจุ ริตให้ตอบ “มากทีส่ ดุ ” ประเด็นการประเมนิ ระดับ i28 หนว่ ยงานของทา่ น มีการดาเนนิ การดังต่อไปน้ี นอ้ ยที่สุด น้อย มาก มากทส่ี ุด ตอ่ การทุจริตในหนว่ ยงาน มากน้อยเพียงใด หรอื ไม่มเี ลย เผา้ ระวังการทุจริต ตรวจสอบการทุจรติ ลงโทษทางวินยั เมือ่ มีการทุจรติ หมายเหต:ุ หากหนว่ ยงานของทา่ นไม่มกี ารทจุ รติ จึงทาใหไ้ ม่มีการลงโทษทางวินัย ให้ตอบ \"มากที่สดุ \" รายละเอยี ดการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
18 ระดับ ประเด็นการประเมนิ น้อยท่ีสดุ นอ้ ย มาก มากทส่ี ดุ หรือไม่มเี ลย i29 หนว่ ยงานของท่าน มีการนาผลการตรวจสอบของ ฝา่ ยตรวจสอบ ทงั้ ภายในและภายนอกหนว่ ยงานไป ปรบั ปรุงการทางาน เพ่ือปอ้ งกันการทจุ ริตในหน่วยงาน มากน้อยเพียงใด หมายเหตุ: ฝ่ายตรวจสอบภายใน หมายถึง ส่วนงานตรวจสอบภายในของหน่วยงาน ฝ่ายตรวจสอบภายนอก หมายถึง หนว่ ยงานทม่ี อี านาจหนา้ ท่ตี รวจสอบการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ เชน่ สานกั งานการตรวจเงนิ แผ่นดิน (สตง.) เป็นตน้ ประเด็นการประเมนิ นอ้ ยทสี่ ดุ ระดับ มากทส่ี ดุ หรอื ไม่มเี ลย น้อย มาก i30 หากท่านพบเหน็ แนวโนม้ การทจุ ริตทจี่ ะเกดิ ขึ้นใน หน่วยงานของท่าน ทา่ นมีความคิดเหน็ ต่อประเด็น ดงั ตอ่ ไปน้ี อย่างไร สามารถร้องเรยี นและสง่ หลักฐานได้อย่างสะดวก สามารถติดตามผลการร้องเรียนได้ ม่นั ใจวา่ จะมีการดาเนินการอย่างตรงไปตรงมา มั่นใจว่าจะปลอดภัยและไม่มีผลกระทบต่อตนเอง แบบวัดกำรรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภำยนอก (External Integrity and Transparency Assessment: EIT) ใช้เก็บรวบรวมข้อมลู ในตวั ชว้ี ัดท่ี 6 – ตัวชว้ี ดั ท่ี 8 ประกอบด้วย ตัวชี้วัดที่ 6 คุณภำพกำรดำเนินงำน เป็นตัวช้ีวัดที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินการรับรู้ของ ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงานต่อการคุณภาพการดาเนินงาน ในประเด็นท่ี เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ โดยยึดหลักตามมาตรฐาน ขั้นตอน และระยะเวลาที่กาหนดไว้ อย่างเคร่งครัด และจะต้องเป็นไปอย่างเท่าเทียมกันไม่เลือกปฏิบัติ รวมถึงจะต้องให้ข้อมูลเก่ียวกับการ ดาเนินการ/ให้บริการของหน่วยงานแก่รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างตรงไปตรงมา ไม่ ปิดบังหรือบิดเบือนข้อมูล ซ่ึงสะท้อนถึงการปฏิบัติหน้าท่ีอย่างมีคุณธรรม และยังประเมินการรับรู้เก่ียวกับ ประสบการณ์ตรงในการถูกเจ้าหน้าที่เรียกรับเงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่น ๆ เพ่ือแลกกับการปฏิบัติหน้าท่ี ด้วย นอกจากน้ี ยังประเมินการรับรู้เกี่ยวกับการบริหารงานและการดาเนินงานในภาพรวมของหน่วยงาน ที่ จะต้องคานึงถงึ ประโยชนข์ องประชาชนและส่วนรวมเป็นหลัก ไม่มีการเอื้อประโยชน์ให้กับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือกล่มุ ใดกลุม่ หนึง่ ตัวชว้ี ดั ที่ 6 คุณภาพการดาเนินงาน ประกอบดว้ ยขอ้ คาถามจานวน 5 ขอ้ ดงั น้ี ประเดน็ การประเมิน ระดบั e1 เจ้าหน้าทขี่ องหนว่ ยงานที่ทา่ นติดตอ่ ปฏบิ ตั งิ าน/ น้อยทีส่ ุด น้อย มาก มากทสี่ ุด ใหบ้ รกิ ารแก่ทา่ น ตามประเด็นดงั ตอ่ ไปนี้ มากน้อย หรอื ไม่มเี ลย เพียงใด เปน็ ไปตามขัน้ ตอนทกี่ าหนด เป็นไปตามระยะเวลาท่ีกาหนด รายละเอียดการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
19 ประเด็นการประเมิน น้อยท่สี ุด ระดับ มากที่สุด หรือไม่มีเลย น้อย มาก e2 เจ้าหนา้ ที่ของหนว่ ยงานท่ีท่านติดตอ่ ปฏิบัตงิ าน/ ใหบ้ ริการแก่ท่าน กบั ผู้มาตดิ ต่อคนอ่ืน ๆ อย่างเท่าเทียม กนั มากน้อยเพยี งใด ประเดน็ การประเมิน น้อยท่ีสดุ ระดับ มากที่สดุ หรือไม่มเี ลย น้อย มาก e3 เจา้ หน้าที่ของหนว่ ยงานที่ทา่ นติดตอ่ ให้ขอ้ มูล เกี่ยวกบั การดาเนนิ การ/ให้บริการแก่ท่าน อยา่ งตรงไปตรงมา ไม่ปดิ บังหรอื บดิ เบือนขอ้ มูล มากน้อยเพียงใด ประเดน็ การประเมิน ระดบั e4 ในระยะเวลา 1 ปที ผ่ี ่านมา ทา่ นเคยถูกเจา้ หน้าท่ีของหน่วยงานท่ที า่ นติดต่อ รอ้ งขอใหจ้ ่ายหรือให้สง่ิ ดังต่อไปน้ี เพื่อแลกกับการปฏบิ ัตงิ าน การอนุมตั ิ อนญุ าต มี ไมม่ ี หรอื ใหบ้ รกิ าร หรือไม่ เงนิ ทรัพยส์ นิ ประโยชนอ์ ่ืน ๆ ทอี่ าจคานวณเป็นเงินได้ เช่น การลดราคา การใหค้ วามบันเทงิ เปน็ ต้น หมายเหตุ: เปน็ การใหท้ ีน่ อกเหนือจากทีก่ ฎหมายกาหนด เชน่ คา่ ธรรมเนยี ม คา่ บรกิ าร ค่าปรบั เปน็ ต้น ประเดน็ การประเมิน น้อยทส่ี ุด ระดบั มากท่สี ดุ หรือไม่มีเลย น้อย มาก e5 หน่วยงานที่ทา่ นตดิ ต่อ มีการดาเนินงาน โดย คานึงถึงประโยชน์ของประชาชนและส่วนรวมเป็นหลกั มากน้อยเพียงใด รายละเอียดการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
20 ตัวชี้วัดท่ี 7 ประสิทธิภำพกำรสื่อสำร เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินการรับรู้ของ ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงานต่อประสิทธิภาพการสื่อสาร ในประเด็นท่ี เกี่ยวข้องกบั การเผยแพรข่ อ้ มลู ของหน่วยงานในเร่ืองต่างๆ ต่อสาธารณชน ผ่านช่องทางที่หลากหลาย สามารถ เข้าถึงได้ง่าย และไม่ซับซ้อน โดยข้อมูลที่เผยแพร่จะต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลการ ดาเนินงานของหน่วยงานและข้อมูลที่สาธารณชนควรรับทราบ รวมถึงการจัดให้มีช่องทางให้ผู้รับบริการ ผู้มา ตดิ ต่อ หรือผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสีย สามารถส่งคาติชมหรือความคิดเห็นเก่ียวกับการดาเนินงาน/การให้บริการ และ มกี ารชีแ้ จงในกรณีท่มี ขี อ้ กงั วลสงสัยได้อย่างชดั เจน นอกจากน้ี ยังประเมินการรับรู้เก่ียวกับการจัดให้มีช่องทาง ให้ผู้มาติดต่อสามารถร้องเรียนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานด้วย ซึ่งสะท้อนถึงการสื่อสารกับ ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดท่ี 7 ประสิทธิภาพการส่ือสาร ประเด็นสารวจ ประกอบดว้ ยข้อคาถามจานวน 5 ข้อ ดงั น้ี ประเด็นการประเมนิ น้อยทีส่ ดุ ระดับ มากที่สุด หรอื ไม่มเี ลย น้อย มาก e6 การเผยแพร่ขอ้ มูลของหน่วยงานทีท่ ่านติดต่อ มีลักษณะดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด เข้าถงึ ง่าย ไมซ่ ับซอ้ น มีช่องทางหลากหลาย ประเด็นการประเมิน น้อยทีส่ ดุ ระดับ มากท่สี ุด หรอื ไม่มเี ลย น้อย มาก e7 หน่วยงานทที่ า่ นติดต่อ มีการเผยแพร่ผลงานหรือ ขอ้ มลู ทีส่ าธารณชนควรรับทราบอยา่ งชัดเจน มากนอ้ ย เพยี งใด ประเด็นการประเมิน ระดับ มี ไมม่ ี e8 หนว่ ยงานที่ทา่ นตดิ ต่อ มีช่องทางรบั ฟังคาตชิ มหรือความคิดเห็นเก่ยี วกับ การดาเนินงาน/การให้บริการ หรอื ไม่ ประเด็นการประเมิน นอ้ ยที่สดุ ระดบั มากท่ีสดุ หรอื ไม่มีเลย น้อย มาก e9 หน่วยงานท่ีทา่ นติดต่อ มีการชแี้ จงและตอบคาถาม เม่ือมีข้อกังวลสงสยั เก่ียวกบั การดาเนนิ งานได้อยา่ ง ชัดเจน มากน้อยเพียงใด หมายเหตุ: หากทา่ นไมม่ ขี อ้ กังวลสงสัยใหต้ อบ “มากท่สี ุด” รายละเอียดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
21 ประเด็นการประเมิน ระดับ มี ไมม่ ี e10 หนว่ ยงานท่ีท่านติดต่อ มีชอ่ งทางใหผ้ ้มู าตดิ ต่อร้องเรยี นการทุจรติ ของ เจ้าหนา้ ทใ่ี นหน่วยงาน หรือไม่ ตวั ชว้ี ดั ที่ 8 กำรปรบั ปรงุ ระบบกำรทำงำน เปน็ ตัวชวี้ ดั ท่ีมีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื ประเมินการรับรู้ของ ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงานต่อการปรับปรุงระบบการทางาน ในประเด็นที่ เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงพัฒนาหน่วยงาน ท้ังการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และกระบวนการทางานของ หน่วยงานให้ดีย่ิงขึ้น รวมไปถึงการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการดาเนินงานเพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วมาก ยิ่งข้ึน โดยควรมีกระบวนการเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุง พัฒนาการดาเนินงานเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการด้วย ท้ังน้ี นอกจากหน่วยงานจะต้องปรับปรุง พัฒนาการดาเนินงานให้ดีข้ึนแล้ว ยังควรให้ความสาคัญกับการปรับปรุงการดาเนินงานให้มีความโปร่งใสมาก ขึ้นอีกด้วย ตัวช้ีวดั ท่ี 8 การปรบั ปรงุ ระบบการทางาน ประกอบด้วยขอ้ คาถามจานวน 5 ขอ้ ดงั นี้ ระดบั ประเด็นการประเมิน น้อยทสี่ ดุ นอ้ ย มาก มากท่สี ุด หรือไม่มีเลย e11 เจา้ หน้าที่ของหนว่ ยงานทที่ า่ นตดิ ต่อ มีการ ปรบั ปรุงคณุ ภาพการปฏิบัตงิ าน/การให้บรกิ ารให้ดีข้ึน มากน้อยเพยี งใด หมายเหต:ุ หากท่านติดต่อคร้งั แรก ใหเ้ ปรยี บเทยี บกบั คุณภาพการปฏบิ ัติงาน/การใหบ้ รกิ ารท่ีทา่ นคาดหวงั ไวก้ อ่ นมาตดิ ตอ่ ระดับ ประเด็นการประเมิน น้อยทสี่ ุด น้อย มาก มากทส่ี ุด หรือไม่มเี ลย e12 หน่วยงานทที่ ่านติดต่อ มีการปรบั ปรุงวิธีการและ ข้ันตอนการดาเนนิ งาน/การให้บริการใหด้ ีข้นึ มากน้อย เพียงใด หมายเหต:ุ หากทา่ นตดิ ต่อครงั้ แรก ใหเ้ ปรียบเทียบกับวิธีการและขั้นตอนการดาเนินงาน/การให้บริการท่ีท่านคาดหวังไว้ก่อน มาติดต่อ ประเดน็ การประเมิน ระดับ มี ไม่มี e13 หนว่ ยงานทีท่ า่ นติดต่อ มีการนาเทคโนโลยมี าใช้ในการดาเนินงาน/การ ใหบ้ รกิ าร ให้เกิดความสะดวกรวดเร็วมากข้นึ หรอื ไม่ รายละเอยี ดการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
22 ระดบั ประเด็นการประเมนิ นอ้ ยที่สดุ นอ้ ย มาก มากที่สดุ หรือไม่มีเลย e14 หนว่ ยงานทีท่ า่ นตดิ ต่อ เปดิ โอกาสให้ผรู้ ับบริการ ผู้ มาติดต่อ หรือผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสีย เข้าไปมสี ่วนรว่ มในการ ปรบั ปรุงพฒั นาการดาเนนิ งาน/การให้บริการของ หน่วยงานใหด้ ขี ้นึ มากน้อยเพียงใด หมายเหตุ: การมีส่วนรว่ ม เชน่ ร่วมวางแผน รว่ มดาเนนิ การ ร่วมแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และรว่ มติดตามประเมินผล เป็นต้น ประเด็นการประเมิน นอ้ ยทสี่ ดุ ระดบั มากทส่ี ดุ หรอื ไม่มเี ลย นอ้ ย มาก e15 หนว่ ยงานทท่ี ่านติดต่อ มีการปรับปรงุ การ ดาเนนิ งาน/การให้บริการ ให้มคี วามโปร่งใสมากขนึ้ มากน้อยเพียงใด รายละเอยี ดการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
23 แบบตรวจกำรเปิดเผยข้อมูลสำธำรณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) ใช้เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลในตัวช้วี ัดท่ี 9 – ตัวช้ีวดั ท่ี 10 ประกอบดว้ ย ขอ้ ควรระวงั #6 “ปี พ.ศ. 2563” หมายถงึ รอบปที หี่ น่วยงานบรหิ ารราชการ โดย หากหนว่ ยงานบริหารราชการโดยใช้ปีงบประมาณ – ใหใ้ ช้ข้อมลู ของ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หากหนว่ ยงานบรหิ ารราชการโดยใชป้ ปี ฏิทิน – ใหใ้ ช้ขอ้ มูลของปี พ.ศ. 2563 และหากหน่วยงานบริหารราชการโดยใช้รอบปีอย่างอื่นนอกเหนือจากปีงบประมาณหรือปีปฏิทิน – ใหใ้ ช้ขอ้ มลู ของรอบปีท่ีหนว่ ยงานใช้ ประจาปี พ.ศ. 2563 กรณที ี่หนว่ ยงานบรหิ ารราชการโดยใชป้ ีปฏิทินหรือรอบปีอ่นื ซึ่งทาให้ไม่สามารถตอบข้อคาถามที่เกี่ยวข้อง กบั การกากับตดิ ตามรอบ 6 เดอื น หรือขอ้ คาถามใดได้ ให้ใชข้ ้อมลู ในรอบ 3 เดือนในการตอบขอ้ คาถาม ข้อควรระวงั #7 ในกรณขี องจงั หวดั กาหนดคาอธิบายเบือ้ งต้น ดังนี้ “หน่วยงาน” หมายถึง จังหวัด ซ่ึงมีขอบเขตของการประเมินในภาพรวมของการบริหารราชการส่วน ภูมิภาคซึ่งมีขอบเขตการประเมินครอบคลุมเฉพาะกลไกการบริหารราชการระดับจังหวัด ประกอบด้วย สานักงานจังหวัด และส่วนราชการส่วนภูมิภาคท่ีอยู่ในการควบคุมดูแลของผู้ว่าราชการจังหวัด (ไม่รวม ราชการในจังหวดั ทีข่ ึ้นตรงตอ่ สว่ นกลาง และราชการระดบั อาเภอ สังกัดกระทรวงมหาดไทย) “ผู้บริหาร” หมายถึง ผ้วู ่าราชการจงั หวัด ดังน้ัน การเปิดเผยข้อมูลจึงจะต้องเป็นข้อมูลในภาพรวมของจังหวัด (เว้นแต่ข้อ o13 – o17 ท่ีอาจเป็น ข้อมลู ของสว่ นราชการระดบั จงั หวดั ภายในจังหวดั เน่ืองจากไม่ใช่การดาเนนิ งานในภาพรวมของจงั หวดั ) ขอ้ ควรระวัง#8 การเปิดเผยข้อมูล พิจารณาจาก 2 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบของการเปิดเผย และองค์ประกอบของ ข้อมลู โดยจะต้องสอดคล้องตามเงื่อนไขครบถ้วนทั้ง 2 องค์ประกอบ จึงจะถือว่าเป็นการเปิดเผยข้อมูลตาม หลักเกณฑ์การประเมนท่กี าหนด องคป์ ระกอบของการเปดิ เผย พิจารณาตามเง่อื นไข ดงั น้ี o สามารถเข้าถงึ ข้อมลู ได้ผา่ น URL o ข้อมูลเผยแพร่ทเ่ี ว็บไซตห์ ลักของหนว่ ยงาน o ขอ้ มูลเผยแพร่ในหวั ข้อหรือตาแหนง่ ทปี่ ระชาชนทวั่ ไปสามารถเข้าใจและเข้าถึงได้ องค์ประกอบของข้อมลู จะแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะขอ้ ตามที่ปรากฏในรายละเอียดต่อไป รายละเอยี ดการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
24 ตวั ช้วี ัดที่ 9 กำรเปิดเผยข้อมูล เป็นตัวชว้ี ดั ทมี่ วี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือประเมินการเผยแพร่ข้อมูลท่ีเป็น ปัจจุบันบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพื่อเปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ ของหน่วยงานให้สาธารณชนได้รับทราบ ใน 5 ประเด็น คือ (1) ข้อมูลพื้นฐาน ได้แก่ ข้อมูลพ้ืนฐาน ข่าวประชาสัมพันธ์ และการปฏิสัมพันธ์ข้อมูล (2) การ บริหารงาน ได้แก่ แผนดาเนินงาน การปฏิบัติงาน และการให้บริการ (3) การบริหารเงินงบประมาณ ได้แก่ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจาปี และการจัดซ้ือจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ (4) การบริหารและพัฒนา ทรัพยากรบุคคล ได้แก่ นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล การดาเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากร บุคคล และหลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล และ (5) การส่งเสริมความโปร่งใสในหน่วยงาน ไดแ้ ก่ การจดั การเร่ืองร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ และการเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม ซ่ึงการ เผยแพรข่ ้อมลู ในประเด็นข้างต้นแสดงถึงความโปรง่ ใสในการบรหิ ารงานและการดาเนินงานของหน่วยงาน ตัวช้ีวัด ที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล ประกอบดว้ ย 5 ตัวชว้ี ัดยอ่ ย (33 ขอ้ มูล) ดังน้ี ตัวชีว้ ดั ย่อยที่ 9.1 ข้อมลู พนื้ ฐำน ข้อมูลพ้นื ฐำน ข้อ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบดา้ นขอ้ มลู o1 โครงสรา้ ง o แสดงแผนผังแสดงโครงสรา้ งการแบ่งสว่ นราชการของหนว่ ยงาน o ประกอบด้วยตาแหน่งที่สาคัญ และการแบ่งส่วนงานภายใน เช่น สานัก กอง ศนู ย์ ฝ่าย ส่วน กลุ่ม เปน็ ตน้ o2 ขอ้ มลู ผู้บรหิ าร o แสดงรายนามของผู้บริหารของหน่วยงาน o ประกอบด้วยชื่อ-นามสกุล ตาแหน่ง รูปถ่าย ช่องทางการติดต่อ ผู้บริหารสูงสุดหรือหัวหน้าหน่วยงาน และผู้ดารงตาแหน่งทางการ บริหารของหนว่ ยงาน o3 อานาจหนา้ ที่ o แสดงขอ้ มูลหน้าที่และอานาจของหนว่ ยงานตามท่ีกฎหมายกาหนด o4 แผนยุทธศาสตร์หรอื o แสดงแผนการดาเนินภารกจิ ของหน่วยงานท่มี รี ะยะมากกว่า 1 ปี แผนพัฒนาหน่วยงาน o มีข้อมูลรายละเอียดของแผนฯ เช่น ยุทธศาสตร์หรือแนวทาง เปา้ หมาย ตวั ช้วี ัด เปน็ ตน้ o เป็นแผนทมี่ ีระยะเวลาบงั คับใช้ครอบคลุมปี พ.ศ. 2563 o5 ขอ้ มูลการตดิ ต่อ แสดงข้อมลู การติดตอ่ ดงั นี้ o ทีอ่ ยู่หน่วยงาน o หมายเลขโทรศัพท์ o หมายเลขโทรสาร o ท่ีอยู่ไปรษณียอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ o แผนที่ต้งั หนว่ ยงาน o6 กฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง o แสดงกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการดาเนินงานหรือการปฏิบัติงานของ หนว่ ยงาน รายละเอยี ดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
25 กำรประชำสัมพนั ธ์ องค์ประกอบดา้ นขอ้ มูล ข้อ ขอ้ มูล o7 ขา่ วประชาสมั พนั ธ์ o แสดงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการดาเนินงานตามอานาจ หน้าทหี่ รอื ภารกจิ ของหนว่ ยงาน o เป็นข้อมลู ข่าวสารที่เกิดขึน้ ในปี พ.ศ. 2563 กำรปฏิสัมพนั ธ์ข้อมูล องค์ประกอบดา้ นขอ้ มูล ขอ้ ข้อมลู o8 Q&A o แสดงช่องทางท่ีบุคคลภายนอกสามารถสอบถามข้อมูลต่าง ๆ ได้ และหนว่ ยงานสามารถสือ่ สารให้คาตอบกับผู้สอบถามได้ โดยมีลักษณะ o9 Social Network เปน็ การสื่อสารได้สองทาง เช่น Web broad, กล่องข้อความถาม-ตอบ เป็นตน้ o สามารถเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลักของ หน่วยงาน o แสดงเครือข่ายสังคมออนไลน์ของหน่วยงาน เช่น Facebook, Twitter, Instagram เป็นต้น o สามารถเช่ือมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลักของ หนว่ ยงาน ตวั ชีว้ ดั ยอ่ ยท่ี 9.2 กำรบรหิ ำรงำน กำรดำเนินงำน ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมลู o10 แผนดาเนินงานประจาปี o แสดงแผนการดาเนนิ ภารกจิ ของหน่วยงานท่ีมรี ะยะ 1 ปี o มีข้อมูลรายละเอียดของแผนฯ เช่น โครงการหรือกิจกรรม งบประมาณทใ่ี ช้ ระยะเวลาในการดาเนนิ การ เปน็ ตน้ o เปน็ แผนทีม่ ีระยะเวลาบังคบั ใชใ้ นปี พ.ศ. 2563 o11 รายงานการกากับ o แสดงความกา้ วหน้าในการดาเนินงานตามแผนดาเนินงานประจาปี ติดตามการดาเนนิ งาน o มีเนื้อหาหรือรายละเอียดความก้าวหน้า เช่น ความก้าวหน้าการ ประจาปี รอบ 6 เดือน ดาเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม รายละเอียดงบประมาณท่ีใช้ ดาเนินงาน เป็นต้น o เป็นขอ้ มูลในระยะเวลา 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2563 o12 รายงานผลการ o แสดงผลการดาเนินงานตามแผนดาเนินงานประจาปี ดาเนินงานประจาปี o มีข้อมูลรายละเอียดสรุปผลการดาเนินงาน เช่น ผลการดาเนินการ โครงการหรือกิจกรรม ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ผลสัมฤทธต์ิ ามเปา้ หมาย เป็นตน้ o เปน็ รายงานผลของปี พ.ศ. 2562 รายละเอยี ดการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
26 กำรปฏบิ ตั ิงำน ข้อ ขอ้ มลู องค์ประกอบดา้ นข้อมูล o13 ค่มู ือหรือมาตรฐานการ o แสดงคู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานที่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานใช้ ปฏิบัติงาน ยดึ ถือปฏิบตั ิใหเ้ ปน็ มาตรฐานเดียวกัน o มีข้อมูลรายละเอียดของการปฏิบัติงาน เช่น เป็นคู่มือปฏิบัติภารกิจ ใด สาหรับเจ้าหน้าท่ีหรือพนักงานตาแหน่งใด กาหนดวิธีการขั้นตอน การปฏบิ ัติอยา่ งไร เปน็ ตน้ กำรให้บริกำร หมายเหตุ: การให้บรกิ าร หมายถงึ การให้บริการตามอานาจหน้าทหี่ รอื ภารกจิ ตามกฎหมายของหนว่ ยงาน สาหรบั หนว่ ยงานท่ี มีการปฏิบัติงานหรือการให้บริการเป็นจานวนมาก อาจมุ่งเน้นเผยแพร่การปฏิบัติงานหรือการให้บริการท่ีมีความสาคัญต่อ ภารกจิ ของหนว่ ยงาน ขอ้ ข้อมูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o14 คูม่ ือหรือมาตรฐานการ o แสดงคู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติท่ีผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อกับ ให้บริการ หนว่ ยงานใช้เปน็ ข้อมลู ในการขอรบั บริการหรอื ติดต่อกบั หน่วยงาน o มีขอ้ มลู รายละเอียดของการปฏิบัติ เช่น เป็นคู่มือสาหรับบริการหรือ ภารกิจใด กาหนดวิธีการข้ันตอนการให้บริการหรือการติดต่ออย่างไร เปน็ ตน้ o15 ข้อมลู เชงิ สถติ ิการ o แสดงข้อมูลสถติ กิ ารใหบ้ ริการตามภารกิจของหน่วยงาน ใหบ้ ริการ o เป็นข้อมูลการใหบ้ ริการที่เกดิ ขึ้นในปี พ.ศ. 2563 o16 รายงานผลการสารวจ o แสดงผลสารวจความพึงพอใจการให้บริการตามอานาจหน้าที่หรือ ความพงึ พอใจการ ภารกจิ ของหนว่ ยงาน ใหบ้ ริการ o เปน็ รายงานผลของปี พ.ศ. 2562 o17 E–Service o แสดงช่องทางที่บุคคลภายนอกสามารถขอรับบริการตามอานาจ หนา้ ที่ภารกิจของหน่วยงานผ่านชอ่ งทางออนไลน์ เพือ่ ชว่ ยอานวยความ สะดวกแก่ผู้ขอรบั บริการ o สามารถเข้าถึงหรือเช่ือมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลัก ของหน่วยงาน รายละเอียดการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
27 ตวั ชีว้ ดั ยอ่ ยที่ 9.3 กำรบริหำรเงินงบประมำณ แผนกำรใช้จ่ำยงบประมำณประจำปี ขอ้ ข้อมูล องค์ประกอบดา้ นข้อมลู o18 แผนการใชจ้ า่ ย o แสดงแผนการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานทีม่ รี ะยะ 1 ปี งบประมาณประจาปี o มีข้อมูลรายละเอียดของแผนฯ เช่น งบประมาณตามแหล่งที่ได้รับ การจัดสรร งบประมาณตามประเภทรายการใชจ้ า่ ย เป็นต้น o เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคบั ใช้ในปี พ.ศ. 2563 o19 รายงานการกากบั o แสดงความก้าวหน้าในการดาเนินงานตามแผนการใช้จ่าย ตดิ ตามการใชจ้ ่าย งบประมาณประจาปี งบประมาณประจาปี o มีข้อมูลรายละเอียดความก้าวหน้า เช่น ความก้าวหน้าการใช้จ่าย รอบ 6 เดือน งบประมาณ เปน็ ตน้ o เป็นข้อมูลในระยะเวลา 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2563 o20 รายงานผลการใชจ้ ่าย o แสดงผลการดาเนินงานตามแผนการใช้จา่ ยงบประมาณประจาปี งบประมาณประจาปี o มีข้อมูลรายละเอียดสรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณ เช่น ผลการใช้ จ่ายงบประมาณ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ผลสัมฤทธิ์ตาม เปา้ หมาย เปน็ ต้น o เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2562 กำรจัดซื้อจัดจำ้ งหรือกำรจัดหำพสั ดุ ขอ้ ข้อมูล องคป์ ระกอบดา้ นข้อมูล o21 แผนการจดั ซอ้ื จัดจ้าง o แสดงแผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุตามท่ีหน่วยงาน หรอื แผนการจัดหาพัสดุ จะตอ้ งดาเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร พสั ดภุ าครฐั พ.ศ. 2560 o เปน็ ขอ้ มลู การจัดซอื้ จัดจา้ งในปี พ.ศ. 2563 o22 ประกาศต่าง ๆ เก่ียวกบั o แสดงประกาศตามท่ีหน่วยงานจะตอ้ งดาเนินการตามพระราชบัญญัติ การจดั ซื้อจัดจ้างหรอื การจดั ซอ้ื จัดจา้ งและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 เช่น ประกาศ การจดั หาพสั ดุ เชญิ ชวน ประกาศผลการจัดซือ้ จดั จ้าง เป็นตน้ o เป็นข้อมูลการจัดซอ้ื จดั จ้างในปี พ.ศ. 2563 o23 สรปุ ผลการจัดซ้อื จัดจ้าง o แสดงสรุปผลการจดั ซอ้ื จัดจ้างของหนว่ ยงาน หรือการจดั หาพสั ดุราย o มีข้อมูลรายละเอียดผลการจัดซื้อจัดจ้าง เช่น งานท่ีซื้อหรือจ้าง เดอื น วงเงินที่ซื้อหรือจ้าง ราคากลาง วิธีการซ้ือหรือจ้าง รายชื่อผู้เสนอราคา และราคาที่เสนอ ผู้ได้รับการคัดเลือกและราคาท่ีตกลง เหตุผลที่ คัดเลอื กโดยสรุป เลขท่ีและวันที่ของสัญญาหรือข้อตกลงในการซ้ือหรือ จา้ ง เป็นต้น o จาแนกข้อมูลเป็นรายเดือน (กรณีไม่มีการจัดซ้ือจัดจ้างในรอบเดือน ใดให้ระบุวา่ ไมม่ ีการจัดซ้ือจัดจา้ ง) o เป็นขอ้ มลู การจัดซอื้ จัดจ้างในปี พ.ศ. 2563 รายละเอียดการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
28 ขอ้ ขอ้ มูล องค์ประกอบดา้ นข้อมูล o24 รายงานผลการจัดซอ้ื จัด o แสดงผลการจัดซื้อจัดจา้ งของหน่วยงาน จา้ งหรอื การจัดหาพัสดุ o มขี อ้ มูลรายละเอียด เชน่ งบประมาณที่ใชใ้ นการจัดซอื้ จดั จ้าง ปัญหา ประจาปี อปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะ เปน็ ต้น o เปน็ รายงานผลของปี พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.4 กำรบริหำรและพัฒนำทรพั ยำกรบุคคล กำรบริหำรและพฒั นำทรพั ยำกรบคุ คล ขอ้ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมลู o25 นโยบายการบริหาร o แสดงนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล ที่มีจุดมุ่งหมายหรือ ทรัพยากรบุคคล วัตถุประสงค์ เพ่ือก่อให้เกิดการบริหารทรัพยากรบุคคลท่ีมีความ โปรง่ ใสและมีคุณธรรม o เป็นนโยบายของผู้บริหารสูงสุดหรือผู้บริหารท่ีได้รับมอบหมาย หรือ นโยบายท่ีกาหนดในนามของหน่วยงาน o เปน็ นโยบายท่ียงั ใช้บงั คบั ในหนว่ ยงานในปี พ.ศ. 2563 o26 การดาเนินการตาม o แสดงการดาเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล เช่น นโยบายการบริหาร การวางแผนกาลงั คน การสรรหาคนดคี นเก่งเพื่อปฏบิ ัติงานตามภารกจิ ทรัพยากรบุคคล ของหน่วยงาน การพฒั นาบุคลากร การสรา้ งทางก้าวหน้าในสายอาชพี การพัฒนาคณุ ภาพชีวิต การบรรจแุ ละแตง่ ตั้งบคุ ลากร การประเมนิ ผล การปฏบิ ตั งิ าน การส่งเสรมิ จริยธรรมและรกั ษาวนิ ยั ของบุคลากรใน หนว่ ยงาน เปน็ ต้น o เปน็ การดาเนินการท่มี คี วามสอดรบั กับนโยบายการบริหารทรัพยากร บุคคล ตามข้อ O25 หรือเป็นไปตามกิจกรรมท่ีอยู่ภายใต้นโยบายการ บริหารทรัพยากรบคุ คล ตามขอ้ O25 o เป็นการดาเนนิ การในปี พ.ศ. 2563 o27 หลักเกณฑก์ ารบริหาร แสดงหลักเกณฑก์ ารบริหารและพัฒนาทรพั ยากรบุคคล ดังนี้ และพฒั นาทรัพยากร o หลักเกณฑ์การสรรหาและคดั เลือกบุคลากร บุคคล o หลักเกณฑก์ ารบรรจแุ ละแตง่ ต้งั บุคลากร o หลักเกณฑ์การพัฒนาบคุ ลากร o หลกั เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากร o หลกั เกณฑ์การให้คุณใหโ้ ทษและการสร้างขวัญกาลังใจ o เป็นหลกั เกณฑ์ทยี่ ังใชบ้ งั คับในหนว่ ยงานในปี พ.ศ. 2563 o28 รายงานผลการบริหาร o แสดงผลการบรหิ ารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล และพฒั นาทรพั ยากร o มีขอ้ มูลรายละเอียดของการดาเนินการ เช่น ผลการดาเนินการตาม บุคคลประจาปี นโยบายการบริหารทรพั ยากรบคุ คล ผลการวิเคราะห์การบรหิ ารและ พัฒนาทรัพยากรบุคคล เปน็ ต้น o เป็นรายงานผลของปีทผี่ า่ นมา พ.ศ. 2562 รายละเอียดการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
29 ตัวช้ีวดั ยอ่ ยที่ 9.5 กำรส่งเสริมควำมโปรง่ ใส กำรจัดกำรเร่ืองร้องเรยี นกำรทจุ ริตและประพฤติมิชอบ ข้อ ขอ้ มลู องค์ประกอบดา้ นข้อมูล o29 แนวปฏิบัตกิ ารจัดการ o แสดงคู่มือหรือแนวทางการดาเนินการต่อเร่ืองร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง เรือ่ งร้องเรียนการทุจรติ กบั การทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน และประพฤติมชิ อบ o มีข้อมูลรายละเอียดของการปฏิบัติงาน เช่น รายละเอียดวิธีการที่ บุคคลภายนอกจะทาการร้องเรียน รายละเอียดข้ันตอนหรือวิธีการใน การจัดการต่อเรื่องร้องเรียน ส่วนงานที่รับผิดชอบ ระยะเวลา ดาเนนิ การ เป็นตน้ o30 ช่องทางแจ้งเรื่อง o แสดงช่องทางที่บุคคลภายนอกสามารถแจ้งเร่ืองร้องเรียนเกี่ยวกับ รอ้ งเรยี นการทจุ ริตและ การทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานผ่านทาง ประพฤติมิชอบ ช่องทางออนไลน์ o สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลัก ของหน่วยงาน o31 ข้อมูลเชิงสถติ ิเร่ือง o แสดงข้อมูลสถิติเร่ืองร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของ รอ้ งเรยี นการทจุ ริตและ เจา้ หนา้ ทขี่ องหน่วยงาน ประพฤตมิ ิชอบประจาปี o มีข้อมูลความก้าวหน้าการจัดการเร่ืองร้องเรียน เช่น จานวนเร่ือง เรือ่ งที่ดาเนินการแล้วเสรจ็ เร่อื งทีอ่ ยู่ระหวา่ งดาเนนิ การ เปน็ ตน้ (กรณไี ม่มีเรอื่ งรอ้ งเรียนใหร้ ะบไุ ม่มเี รือ่ งรอ้ งเรียน) o เปน็ ข้อมลู ในปี พ.ศ. 2563 กำรเปดิ โอกำสให้เกิดกำรมสี ่วนร่วม ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบดา้ นขอ้ มลู o32 ช่องทางการรบั ฟังความ o แสดงช่องทางท่ีบุคคลภายนอกสามารถแสดงความคิดเห็นต่อการ คดิ เหน็ ดาเนนิ งานตามอานาจหน้าทห่ี รอื ภารกจิ ของหน่วยงานผ่านทางช่องทาง ออนไลน์ o สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลัก ของหนว่ ยงาน o33 การเปิดโอกาสใหเ้ กิด o แสดงการดาเนินการหรอื กิจกรรมที่แสดงถงึ การเปดิ โอกาสให้ผู้มีส่วน การมีส่วนร่วม ได้ส่วนเสียได้มีส่วนร่วมในการดาเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน เช่น ร่วมวางแผน ร่วมดาเนินการ ร่วมแลกเปล่ียนความคิดเห็น หรือ ร่วมติดตามประเมินผล เป็นต้น o เปน็ การดาเนินการในปี พ.ศ. 2563 รายละเอียดการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
30 ตัวช้ีวัดท่ี 10 กำรป้องกันกำรทุจริต เป็นตัวช้ีวัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเผยแพร่ข้อมูลที่ เป็นปัจจุบันบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพื่อเปิดเผยการดาเนินการต่าง ๆ ของหน่วยงานให้สาธารณชนได้รับ ทราบ ใน 2 ประเด็น คือ (1) การดาเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต ได้แก่ เจตจานงสุจริตของผู้บริหาร การ ประเมนิ ความเสยี่ งเพ่ือการป้องกันการทุจริต การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร และแผนปฏิบัติการป้องกันการ ทุจริต และ (2) มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต ได้แก่ มาตรการภายในเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสและ ป้องกันการทุจริต ซึ่งการเผยแพร่ข้อมูลในประเด็นข้างต้นแสดงถึงการให้ความสาคัญต่อผลการประเมินเพ่ือ นาไปสู่การจดั ทามาตรการสง่ เสริมความโปรง่ ใสภายในหน่วยงาน และมีการกากบั ตดิ ตามการนาไปสู่การปฏิบัติ อยา่ งเป็นรูปธรรม ตัวช้ีวดั ที่ 10 การป้องกนั การทจุ ริต ประกอบด้วย 2 ตัวชีว้ ดั ยอ่ ย (10 ข้อมูล) ดังนี้ ตวั ช้ีวัดย่อยที่ 10.1 กำรดำเนนิ กำรเพ่ือปอ้ งกันกำรทุจริต เจตจำนงสุจรติ ของผ้บู รหิ ำร ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o34 เจตจานงสุจรติ ของ o แสดงเนื้อหาเจตนารมณ์หรือคามั่นว่าจะปฏิบัติหน้าที่และบริหาร ผบู้ ริหาร หนว่ ยงานอย่างซอื่ สัตยส์ ุจริต โปรง่ ใสและเปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภิบาล o ดาเนินการโดยผู้บรหิ ารสูงสดุ คนปัจจุบนั ของหนว่ ยงาน o35 การมีสว่ นรว่ มของ o แสดงการดาเนินการหรือกิจกรรมที่แสดงถึงการมีส่วนร่วมของ ผู้บรหิ าร ผบู้ ริหารสงู สดุ คนปจั จบุ นั o เป็นการดาเนินการหรือกิจกรรมที่แสดงให้เห็นถึงการให้ความสาคัญ กับการปรับปรุง พัฒนา และส่งเสริมหน่วยงานด้านคุณธรรมและ โปร่งใส o เป็นการดาเนนิ การในปี พ.ศ. 2563 กำรประเมนิ ควำมเสีย่ งเพ่อื ป้องกันกำรทุจรติ ข้อ ข้อมลู องค์ประกอบดา้ นขอ้ มูล o36 การประเมนิ ความเสย่ี ง o แสดงผลการประเมินความเสี่ยงของการดาเนินงานหรือการปฏิบัติ การทุจริตประจาปี หน้าที่ท่ีอาจก่อให้เกิดการทุจริตหรือก่อให้เกิดการขัดกันระหว่าง ผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวมของหนว่ ยงาน o มีข้อมูลรายละเอียดของผลการประเมิน เช่น เหตุการณ์ความเสี่ยง และระดับของความเสี่ยง มาตรการและการดาเนินการในการบริหาร จัดการความเส่ยี ง เปน็ ตน้ o เป็นการดาเนินการในปี พ.ศ. 2563 o37 การดาเนนิ การเพ่ือ o แสดงการดาเนนิ การหรือกิจกรรมที่แสดงถึงการจัดการความเส่ียงใน จัดการความเสย่ี งการ กรณีที่อาจก่อให้เกิดการทุจริตหรือก่อให้เกิดการขัดกันระหว่าง ทุจรติ ผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์สว่ นรวมของหน่วยงาน o เป็นกิจกรรมหรือการดาเนินการที่สอดคล้องกับมาตรการหรือการ ดาเนนิ การเพือ่ บริหารจดั การความเส่ยี งตามขอ้ O36 o เป็นการดาเนนิ การในปี พ.ศ. 2563 รายละเอยี ดการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
31 กำรเสริมสรำ้ งวฒั นธรรมองค์กร ข้อ ขอ้ มูล องค์ประกอบด้านขอ้ มูล o38 การเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรม o แสดงการดาเนินการหรอื กิจกรรมท่ีแสดงถึงการเสริมสร้างวัฒนธรรม องค์กร องค์กรให้เจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานมีทัศนคติ ค่านิยม ในการปฏิบัติงาน อย่างซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ อย่างชัดเจน o เป็นการดาเนินการในปี พ.ศ. 2563 แผนป้องกนั กำรทจุ ริต ข้อ ขอ้ มลู องค์ประกอบด้านข้อมลู o39 แผนปฏบิ ัตกิ ารป้องกนั o แสดงแผนปฏิบัติการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการทุจริตหรือ การทจุ รติ พัฒนาด้านคุณธรรมและความโปรง่ ใสของหนว่ ยงาน o มีข้อมูลรายละเอียดของแผนฯ เช่น โครงการ กิจกรรม งบประมาณ ชว่ งเวลาดาเนินการ เปน็ ตน้ o เปน็ แผนที่มีระยะเวลาบงั คบั ใช้ครอบคลุมปี พ.ศ. 2563 o40 รายงานการกากับ o แสดงความก้าวหน้าในการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการ ตดิ ตามการดาเนนิ การ ทุจริต ป้องกันการทจุ ริต o มีข้อมูลรายละเอียดความก้าวหน้า เช่น ความก้าวหน้าการ ประจาปี รอบ 6 เดอื น ดาเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม รายละเอียดงบประมาณท่ีใช้ ดาเนนิ งาน เปน็ ตน้ o เปน็ ข้อมูลในระยะเวลา 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2563 o41 รายงานผลการ o แสดงผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ ารป้องกันการทจุ รติ ดาเนินการป้องกันการ o มีข้อมูลรายละเอียดสรุปผลการดาเนินการ เช่น ผลการดาเนินการ ทุจริตประจาปี โครงการหรือกิจกรรม ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ผลสัมฤทธติ์ ามเป้าหมาย เป็นต้น o ใชร้ ายงานผลของปี พ.ศ. 2562 รายละเอยี ดการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
32 ตัวชี้วดั ย่อย 10.2 มำตรกำรภำยในเพือ่ ป้องกันกำรทจุ ริต มำตรกำรส่งเสริมควำมโปรง่ ใสและป้องกนั กำรทุจรติ ภำยในหน่วยงำน ขอ้ ข้อมูล องคป์ ระกอบดา้ นขอ้ มูล o42 มาตรการสง่ เสริม o แสดงการวิเคราะห์ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ คุณธรรมและความ ดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั ในปี พ.ศ. 2562 โปรง่ ใสภายในหน่วยงาน o มีข้อมูลรายละเอียดการวิเคราะห์ เช่น ประเด็นที่เป็นข้อบกพร่อง หรือจุดอ่อนท่ีจะต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน ประเด็นที่จะต้องพัฒนาให้ดีขึ้น แนวทางการนาผลการวเิ คราะห์ไปส่กู ารปฏบิ ตั ิของหน่วยงาน เป็นตน้ o มีมาตรการเพื่อขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส ภายในหน่วยงานให้ดีขึ้น ซ่ึงสอดคล้องตามผลการวิเคราะห์ฯ โดยมี รายละเอียดต่างๆ เช่น การกาหนดผู้รับผิดชอบหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง การ กาหนดขั้นตอนหรือวิธีการปฏิบัติ การกาหนดแนวทางการกากับ ตดิ ตามใหน้ าไปส่กู ารปฏบิ ตั ิและการรายงานผล เป็นต้น o43 การดาเนนิ การตาม o แสดงผลการดาเนนิ การตามมาตรการเพอื่ สง่ เสริมคณุ ธรรมและความ มาตรการสง่ เสริม โปรง่ ใสภายในหน่วยงาน คณุ ธรรมและความ o มีข้อมูลรายละเอียดการนามาตรการเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความ โปร่งใสภายในหน่วยงาน โปร่งใสภายในหน่วยงานในขอ้ O42 ไปสู่การปฏิบัติอยา่ งเป็นรูปธรรม o เปน็ การดาเนนิ การในปี พ.ศ. 2563 ตารางแสดงสรปุ จานวนข้อคาถามแต่ละตวั ช้วี ัด แบบ นา้ หนกั ตวั ช้วี ัด ตัวชีว้ ดั ย่อย ข้อคาถาม การปฏิบัตหิ น้าท่ี –6 การใช้งบประมาณ – 6 IIT 30 การใช้อานาจ –6 การใช้ทรพั ย์สนิ ของราชการ – 6 การแก้ไขปญั หาการทุจรติ – 6 คณุ ภาพการดาเนนิ งาน – 5 EIT 30 ประสิทธิภาพการส่ือสาร – 5 การปรับปรุงการทางาน – 5 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน 9 การบริหารงาน 8 การเปิดเผยข้อมูล การบริหารเงินงบประมาณ 7 OIT 40 การบรหิ ารและพฒั นาทรัพยากรบุคคล 4 การส่งเสริมความโปร่งใส 5 การปอ้ งกันการทจุ รติ การดาเนนิ การเพื่อปอ้ งกันการทจุ ริต 8 มาตรการภายในเพื่อป้องกนั การทุจรติ 2 รายละเอยี ดการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
33 6. วธิ ีกำรดำเนินกำรประเมินผำ่ นระบบ ITAS ในการดาเนินการประเมนิ ของแตล่ ะหน่วยงาน จะต้องมีผู้ดาเนนิ การ 2 คน ประกอบด้วย ผ้ดู ูแลระบบของหน่วยงาน หมายถึง เจ้าหน้าที่หรือพนักงานของหน่วยงาน ที่ได้รับมอบหมายให้ ทาหน้าท่ีดาเนินการในข้ันตอนต่างๆ ของการประเมินที่กาหนด รวมไปถึง การประสานงานกับผู้บริหารและ สว่ นงานภายในตา่ งๆ เพื่อใหก้ ารประเมินเป็นไปอย่างถูกต้องตามที่กาหนด ผู้บริหาร หมายถึง ผู้บริหารของหน่วยงานท่ีได้รับมอบหมายให้กากับดูแลและตรวจสอบข้อมูล และการดาเนินการต่างๆ ของผู้ดูแลระบบของหน่วยงาน รวมไปถึง ประสานงานในระดับนโยบายของ หนว่ ยงาน เพ่ือให้การดาเนินการประเมินของหนว่ ยงานเป็นไปตามข้อเทจ็ จรงิ และถูกต้องตามท่กี าหนด การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดย ผา่ นระบบ ITAS นัน้ สามารถจาแนกการใช้งานระบบได้ ดงั น้ี 1) การลงทะเบยี นใช้งาน 2) การนาเขา้ ข้อมลู ในการประเมนิ 3) แบบสารวจ IIT 4) แบบสารวจ EIT 5) แบบสารวจ OIT 6) การตดิ ตามสถานะ 7) การรายงานผลการประเมนิ ท้งั นี้ แตล่ ะการใช้งานจะตอ้ งมผี ู้ดูแลระบบและผบู้ รหิ ารของหน่วยงานเป็นผูด้ าเนินการ ดงั น้ี การใช้งานระบบ ผูด้ แู ลระบบ ผู้บรหิ าร ลงทะเบยี นใชง้ าน* การลงทะเบียนใช้งาน ลงทะเบียนใชง้ าน* ตรวจสอบและอนุมัติ* การนาเข้าข้อมูลในการ นาเข้าข้อมูล* ประเมิน เผยแพร่ช่องทางการตอบ และกากับติดตามให้ได้ตามท่ี เผยแพร่ชอ่ งทางการตอบ กาหนด* แบบสารวจ IIT และกากบั ติดตามให้ได้ตามท่ี เผยแพร่ชอ่ งทางการตอบ ตรวจสอบและอนุมัติ OIT* กาหนด* ติดตามสถานะการประเมนิ ตดิ ตามรายงานผลการประเมิน แบบสารวจ EIT เผยแพร่ชอ่ งทางการตอบ แบบสารวจ OIT ตอบแบบ OIT* การติดตามสถานะ ติดตามสถานะการประเมนิ การรายงานผลการประเมิน ติดตามรายงานผลการประเมิน หมายเหตุ: * เป็นขนั้ ตอนท่ีหนว่ ยงานจะตอ้ งดาเนนิ การให้ครบถว้ น รายละเอยี ดการดาเนินการแตล่ ะขน้ั ตอน ดังนี้ รายละเอยี ดการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
34 1) กำรลงทะเบียนใช้งำน หน่วยงานจะได้รับช่ือผู้ใช้งานและรหัสผ่าน 2 ชุดต่อหน่วยงาน คือ “ผู้ดูแลระบบ” (ชื่อผู้ใช้งานจะข้ึนต้นด้วย “a”) และ “ผู้บริหาร” (ช่ือผู้ใช้งานจะขึ้นต้นด้วย “t”) จากนั้น ให้ลงทะเบียนใช้งานทีเ่ ว็บไซต์ https://itas.nacc.go.th โดยมขี น้ั ตอน ดังนี้ นาชือ่ ผ้ใู ชง้ าน (username) และรหัสผ่าน (password) ทไี่ ด้รบั กรอกในชอ่ งทก่ี าหนด เปลย่ี นรหัสผ่าน (password) เพอื่ ให้เป็นรหัสผ่านของตนเองได้ตามท่ีต้องการ กรอกข้อมูลสว่ นตวั รวมถงึ ข้อมลู ทัว่ ไปของหน่วยงานตามท่ีระบบกาหนดให้ครบถ้วน โดยการดาเนนิ การในระบบ ITAS ดงั น้ี ผบู้ ริหาร ผู้ดูแลระบบ >กรอกช่ือผูใ้ ช้งาน (username) และรหัสผา่ น (password) >กรอกช่ือผ้ใู ช้งาน (username) และรหสั ผา่ น >เปลยี่ นรหัสผ่าน (password) >ระบุข้อมลู ส่วนบุคคล เช่น ชื่อ นามสกุล ตาแหนง่ >เปลยี่ นรหัสผา่ น เบอรโ์ ทรศัพท์ e-mail และตราสัญลกั ษณ์ของ >ระบขุ ้อมลู ส่วนบุคคล เชน่ ชอื่ นามสกุล ตาแหน่ง หน่วยงาน เบอรโ์ ทรศัพท์ e-mail และตราสัญลกั ษณ์ หน่วยงาน รายละเอยี ดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
35 2) กำรนำเข้ำขอ้ มูลพ้ืนฐำน หนว่ ยงานจะตอ้ งนาเข้าข้อมูลพนื้ ฐานในการประเมนิ 2 ขอ้ มูล ดงั น้ี 1. ข้อมูลผูม้ สี ว่ นได้ส่วนเสียภำยใน การนาเข้าข้อมลู ผู้ดูแลระบบของหนว่ ยงานมีหนา้ ท่ใี นการนาเข้าข้อมูล การอนมุ ตั ิ ผู้บริหารมีหน้าท่ีในการตรวจสอบข้อมูลและอนุมัติข้อมูลเพ่ือส่งในระบบ โดยหากผู้บริหาร ตรวจสอบแล้วเห็นว่าควรมีการแก้ไข ก็สามารถส่งกลับให้ผู้ดูแลระบบของหน่วยงานแก้ไขข้อมูลและส่งขอ อนุมัติใหม่จนกว่าจะถูกต้องครบถ้วน โดยให้กด “ตีกลับ” หรือหากผู้บริหารได้ตรวจสอบแล้วพบว่าถูกต้อง ครบถ้วนแลว้ ให้กด “อนุมตั ”ิ โดยการดาเนนิ การในระบบ ITAS ดงั น้ี ผูด้ แู ลระบบ ผูบ้ ริหาร >ตงั้ ค่าระบบ >ต้งั คา่ ระบบ >ข้อมูลหนว่ ยงาน >การอนุมตั ิ >จานวนผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสียภายใน กรอกตัวเลขเพ่ือ >จานวนผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ภายในตรวจสอบข้อมลู ระบุจานวนผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ภายใน >ตกี ลบั /อนมุ ตั ิ >ยน่ื ขออนมุ ตั ิ รายละเอียดการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
36 2. ขอ้ มลู ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียภำยนอก การนาเข้าขอ้ มูล ผดู้ ูแลระบบของหนว่ ยงานมหี น้าท่ีในการนาเขา้ ขอ้ มูล สามารถทาได้ 2 วธิ ีการ คือ การเพ่มิ ในระบบทีละชื่อโดยไปที่ “เพ่มิ ข้อมูล” การเพิ่มไฟล์ข้อมูล โดยให้ไปท่ี “ดาวน์โหลด Template” และกรอกข้อมูลลงในไฟล์แล้ว บันทึกไว้ จากน้ันไปที่ “นาเข้าข้อมลู ” เพื่อนาไฟล์ท่บี นั ทกึ ไว้ดงั กลา่ วนาเข้าข้อมูลไปในระบบ ข้อมูลที่ถูกนาเข้า ระบบแล้ว สามารถลบได้ โดยไปที่ “ลบขอ้ มลู ” หรอื สามารถแก้ไขขอ้ มลู ได้ โดยไปที่ “จัดการ” *ข้อควรระวัง การเพ่ิมไฟล์ข้อมูล จะต้องใช้ไฟล์ Template ที่ดาวน์โหลดมาจากระบบเท่านั้น โดยไฟล์ Template จะตอ้ งไม่มีการปรับปรุงแก้ไข เช่น การเพ่ิมแถวต้ัง และจะต้องไม่มีรายช่ือท่ีซ้ากับรายช่ือ ท่เี คยนาเขา้ ไปแลว้ การอนุมัติ ผู้บริหารมีหน้าท่ีในการตรวจสอบข้อมูลและอนุมัติข้อมูลเพ่ือส่งในระบบ โดยหากผู้บริหาร ตรวจสอบแล้วเห็นว่าควรมีการแก้ไข ก็สามารถส่งกลับให้ผู้ดูแลระบบของหน่วยงานแก้ไขข้อมูลและส่งขอ อนุมัติใหม่จนกว่าจะถูกต้องครบถ้วน โดยให้กด “ตีกลับ” หรือหากผู้บริหารได้ตรวจสอบแล้วพบว่าถูกต้อง ครบถ้วนแล้ว ให้กด “อนุมัต”ิ โดยการดาเนินการในระบบ ITAS ดงั น้ี ผดู้ แู ลระบบ ผู้บริหาร >ตง้ั คา่ ระบบ >ต้ังคา่ ระบบ >ข้อมูลหนว่ ยงาน >การอนมุ ตั ิ >ข้อมลู ผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ภายนอก กรอกตัวเลข >ขอ้ มลู ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียภายในตรวจสอบข้อมูล เพ่อื ระบจุ านวนผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี ภายนอก และ >ตีกลับ/อนุมตั ิ นาเขา้ ข้อมูลผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียภายนอก >ย่ืนขออนุมตั ิ รายละเอียดการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
37 3) กำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล IIT ผู้ดูแลระบบ มีหน้าที่ในการนาช่องทางการตอบแบบสารวจ IIT ซ่ึงอยู่ในรูปแบบ URL หรือ QR code ไปเผยแพรแ่ ละประชาสมั พันธเ์ พอื่ เปิดโอกาสใหผ้ ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสียภายในเขา้ มาตอบในระบบ ITAS ผู้ท่ีเข้ามาตอบแบบสารวจ IIT เมื่อเข้าระบบมาทาง URL หรือ QR code แล้ว ให้กรอกเลขบัตร ประชาชนของตนเอง (เพือ่ ปอ้ งกนั การตอบซ้าเท่าน้ัน ไม่มีการนาไปเช่ือมโยงกับข้อมูลส่วนตัว และการตอบจะ ถกู เก็บไวเ้ ปน็ ความลบั โดยจะนาไปวเิ คราะหผ์ ลในภาพรวมเทา่ นั้น ไมม่ ีการแสดงผลการตอบรายบุคคล) โดยการดาเนนิ การในระบบ ITAS ดงั น้ี ผู้ดแู ลระบบ ผบู้ ริหาร >สัญลักษณ์ซองจดหมาย - >ชอ่ งทางการตอบแบบวดั ของผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี ภายใน เผยแพร่และประชาสัมพนั ธเ์ พ่ือเปดิ โอกาสให้ ผู้มสี ่วนได้สว่ นเสยี ภายในเขา้ มาตอบในระบบ ITAS รายละเอยี ดการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
38 4) กำรเก็บรวบรวมข้อมลู EIT ผู้ดูแลระบบ มีหน้าที่ในการนาช่องทางการตอบแบบสารวจ EIT ซึ่งอยู่ในรูปแบบ URL หรือ QR code ไปเผยแพร่และประชาสัมพันธ์เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกเข้ามาตอบในระบบ ITAS ทั้งนี้ ผู้ที่เข้ามาตอบแบบสารวจ EIT เมื่อเข้าระบบมาทาง URL หรือ QR code แล้ว ให้กรอกเลขบัตร ประชาชนของตนเอง (เพื่อป้องกันการตอบซ้าเท่าน้ัน ไม่มีการนาไปเช่ือมโยงกับข้อมูลส่วนตัว และการตอบจะ ถกู เก็บไว้เปน็ ความลับ โดยจะนาไปวเิ คราะหผ์ ลในภาพรวมเทา่ นัน้ ไมม่ ีการแสดงผลการตอบรายบคุ คล) โดยการดาเนินการในระบบ ITAS ดงั นี้ ผู้ดูแลระบบ ผูบ้ ริหาร >สญั ลกั ษณ์ซองจดหมาย - >ชอ่ งทางการตอบแบบวดั ของผ้มู ีส่วนไดส้ ่วนเสีย ภายนอก เผยแพร่และประชาสมั พนั ธเ์ พื่อเปิดโอกาส ให้ผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสียภายนอกเข้ามาตอบในระบบ ITAS ไดอ้ ีกช่องทางหน่งึ ดว้ ย รายละเอยี ดการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
39 5) กำรเก็บรวบรวมข้อมูล OIT การตอบแบบสารวจ OIT ผู้ดแู ลระบบของหน่วยงานมีหน้าท่ีในการตอบแบบสารวจ OIT โดยเลือก “มี” หรือ “ไม่มี” โดย หากเลือก “มี” ให้ระบุ URL ของหน้าใดหน้าหนึ่งบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน ซึ่งแสดงข้อมูล เน้ือหาข้อความ หรือลิงก์สาหรับเชื่อมโยงไปยังข้อมูลตามท่ีแต่ละข้อคาถามกาหนด ส่วนช่อง “คาอธิบาย” สามารถกรอก คาอธบิ ายเพิ่มเติมหรอื ไม่ก็ได้ การอนุมัตแิ บบสารวจ OIT ผู้บริหารมีหน้าท่ีในการตรวจสอบคาตอบและอนุมัติคาตอบเพ่ือส่งในระบบ โดยผู้บริหารจะต้อง ตรวจสอบคาตอบทีละข้อ หากเห็นว่าคาตอบในข้อใดถูกต้อง ให้กด “ผ่าน” และหากเห็นว่าข้อใดควรมีการ แก้ไข ให้กด “ไม่ผ่าน” และกด “ไม่อนุมัติ” เพื่อส่งกลับให้ผู้ดูแลระบบของหน่วยงานแก้ไขข้อมูล และส่งขอ อนมุ ัตใิ หมจ่ นกว่าจะถูกตอ้ งครบถว้ น ท้ังนี้ ผู้บริหารจะต้องตรวจสอบคาตอบและกด “ผ่าน” ในทุกข้อ จึงจะสามารส่งมายังสานักงาน ป.ป.ช. ได้ โดยใหก้ ด “ยืนยันการตรวจ” เพอ่ื เปน็ การอนุมัติการตอบแบบสารวจ OIT โดยการดาเนินการในระบบ ITAS ดังน้ี ผดู้ แู ลระบบ ผู้บริหาร >แบบสารวจ >แบบสารวจ >ทาแบบสารวจ >การอนุมัติ >แบบตรวจการเปิดเผยข้อมลู สาธารณะ (OIT) >แบบตรวจการเปิดเผยขอ้ มูลสาธารณะ (OIT) ตอบแบบสารวจ OIT ในแต่ละขอ้ คาถาม ตรวจทานคาตอบแบบสารวจ OIT ในแต่ละข้อคาถาม >ย่ืนขออนุมัติ (ส่งผลการสารวจ) >ผ่าน/ไมผ่ า่ น >ไม่อนุมตั /ิ ยนื ยนั การตรวจ รายละเอียดการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
40 6) กำรติดตำมสถำนะ การติดตามสถานะ โดยผู้ดูแลระบบสามารถติดตามสถานะของการเก็บข้อมูลแบบสารวจ IIT และ แบบสารวจ EIT และแบบสารวจ OIT ไดท้ ันทแี ละทกุ เวลา โดยการดาเนนิ การในระบบ ITAS ดงั นี้ ผ้ดู แู ลระบบ ผู้บรหิ าร >ตดิ ตามสถานะ >ตดิ ตามสถานะ >รายหนว่ ยงาน >รายหน่วยงาน >รายละเอียดสถานะของการตอบแบบวัดการรบั รู้ >รายละเอียดสถานะของการตอบแบบวดั การรับรู้ แบบสารวจ IIT “ตอบไมค่ รบตามจานวนข้ันต่า” หมายถึง จานวนของผู้ที่เข้ามาตอบแบบสารวจ IIT ยังน้อยกว่า จานวนกลมุ่ ตัวอยา่ งข้นั ตา่ ทก่ี าหนดไว้ “ตอบครบตามจานวนขั้นต่า” หมายถึง จานวนของผู้ท่ีเข้ามาตอบแบบสารวจ IIT เท่ากับหรือ มากกวา่ จานวนกลุม่ ตัวอย่างข้ันตา่ ท่กี าหนดไว้ แบบสารวจ EIT “ตอบไม่ครบตามจานวนขั้นตา่ ” หมายถึง จานวนของผทู้ ่ีเข้ามาตอบแบบสารวจ EIT ยังน้อยกว่า จานวนกลมุ่ ตวั อย่างขัน้ ต่าท่กี าหนดไว้ “ตอบครบตามจานวนขั้นต่า” หมายถึง จานวนของผู้ท่ีเข้ามาตอบแบบสารวจ EIT เท่ากับหรือ มากกว่าจานวนกลุ่มตวั อย่างขน้ั ต่าท่กี าหนดไว้ แบบสารวจ OIT “แบบร่าง” หมายถึง ผู้ดูแลระบบของหน่วยงานยังไม่ส่งแบบสารวจ OIT ให้ผู้บริหารได้ ตรวจสอบและอนุมตั ิแบบสารวจ OIT “ส่งแบบแล้ว” หมายถึง ผู้ดูแลระบบของหน่วยงานได้ส่งแบบสารวจ OIT ให้ผู้บริหารแล้ว แตผ่ บู้ รหิ ารยงั ไมไ่ ด้ตรวจสอบและอนุมตั แิ บบสารวจ OIT “อนุมัติแล้ว” หมายถึง ผู้ดูแลระบบของหน่วยงานได้ส่งแบบสารวจ OIT ให้ผู้บริหารแล้ว และ ผูบ้ รหิ ารไดต้ รวจสอบและอนุมัติแบบสารวจ OIT เรยี บร้อยแล้ว รายละเอียดการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
41 7) กำรประมวลผลและรำยงำนผล การประมวลผลคะแนน ระบบ ITAS จะนาคาตอบของแต่ละชุดแบบสารวจ IIT และแบบสารวจ EIT รวมไปถงึ ผลคะแนนจากแบบสารวจ OIT มาประมวลผลคะแนนตามวธิ กี ารท่ีกาหนด จากน้ัน สานักงาน ป.ป.ช. จะมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและกาหนดให้ระบบ ITAS แสดงรายงานผลการประเมนิ ของแต่ละหนว่ ยงาน รวมท้ังผลการประเมินในภาพรวม ตามระยะเวลาทก่ี าหนด ผู้ดูแลระบบ ผ้บู รหิ าร >ผลการประเมิน >ผลการประเมิน >รายละเอียดผลการประเมิน >รายละเอยี ดผลการประเมนิ รายละเอียดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
42 ภำคผนวก รำยหน่วยงำนภำครฐั ทเ่ี ขำ้ ร่วมกำรประเมิน หนว่ ยงานภาครฐั ท่ีเขา้ รว่ มการประเมนิ จานวนท้งั สิน้ 8,302 หน่วยงาน จาแนก ได้ดงั นี้ หน่วยงำนภำครฐั สว่ นกลำง องค์กรอสิ ระตามรัฐธรรมนญู (หนว่ ยงานธรุ การ) จานวน 5 หน่วยงาน องค์กรศาล (หน่วยงานธรุ การ) จานวน 3 หนว่ ยงาน องค์กรอยั การ (หน่วยงานธุรการ) จานวน 1 หนว่ ยงาน หน่วยงานในสังกัดรัฐสภา จานวน 3 หน่วยงาน สานักนายกรัฐมนตรี จานวน 25 หนว่ ยงาน กระทรวงกลาโหม จานวน 8 หนว่ ยงาน กระทรวงการคลัง จานวน 30 หนว่ ยงาน กระทรวงการตา่ งประเทศ จานวน 1 หน่วยงาน กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา จานวน 8 หนว่ ยงาน กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ จานวน 9 หนว่ ยงาน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวตั กรรม จานวน 17 หน่วยงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จานวน 23 หน่วยงาน กระทรวงคมนาคม จานวน 19 หน่วยงาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม จานวน 15 หนว่ ยงาน กระทรวงพลงั งาน จานวน 9 หนว่ ยงาน กระทรวงพาณชิ ย์ จานวน 12 หน่วยงาน กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม จานวน 9 หน่วยงาน กระทรวงมหาดไทย จานวน 14 หนว่ ยงาน กระทรวงยุติธรรม จานวน 13 หน่วยงาน กระทรวงแรงงาน จานวน 6 หน่วยงาน กระทรวงวฒั นธรรม จานวน 10 หน่วยงาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จานวน 11 หนว่ ยงาน กระทรวงสาธารณสขุ จานวน 16 หนว่ ยงาน กระทรวงอุตสาหกรรม จานวน 9 หน่วยงาน ไมส่ งั กัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง จานวน 15 หน่วยงาน หนว่ ยงำนภำครัฐในระดบั พืน้ ที่ (ส่วนรำชกำรสว่ นภูมภิ ำคและส่วนรำชกำรสว่ นท้องถิ่น) จงั หวดั จานวน 76 หนว่ ยงาน องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด จานวน 76 หน่วยงาน เทศบาลนคร จานวน 30 หน่วยงาน เทศบาลเมือง จานวน 183 หนว่ ยงาน เทศบาลตาบล จานวน 2,236 หน่วยงาน องค์การบริหารส่วนตาบล จานวน 5,325 หนว่ ยงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ รูปแบบพิเศษ จานวน 2 หน่วยงาน รายละเอียดการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
43 องค์กรอสิ ระตำมรัฐธรรมนญู (หน่วยงำนธรุ กำร) ท่ี ประเภท หน่วยงำน 1 องค์กรอสิ ระ สานกั งานการตรวจเงินแผ่นดิน 2 องค์กรอิสระ สานกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั 3 องค์กรอสิ ระ สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ 4 องค์กรอสิ ระ สานักงานคณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแห่งชาติ 5 องค์กรอสิ ระ สานักงานผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ องคก์ รศำล (หน่วยงำนธุรกำร) หนว่ ยงำน ท่ี ประเภท 1 องค์กรศาล สานกั งานศาลปกครอง 2 องคก์ รศาล สานักงานศาลยตุ ธิ รรม 3 องค์กรศาล สานักงานศาลรฐั ธรรมนญู องคก์ รอยั กำร (หนว่ ยงำนธรุ กำร) หนว่ ยงำน ที่ ประเภท 1 องค์กรอยั การ สานักงานอยั การสูงสุด หนว่ ยงำนในสังกดั รฐั สภำ หนว่ ยงำน ท่ี ประเภท สถาบันพระปกเกล้า 1 หนว่ ยงานในสงั กดั รฐั สภา สานักงานเลขาธกิ ารวฒุ ิสภา 2 หนว่ ยงานในสงั กดั รฐั สภา สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร 3 หนว่ ยงานในสงั กดั รฐั สภา สำนกั นำยกรัฐมนตรี หนว่ ยงำน ท่ี ประเภท กรมประชาสัมพนั ธ์ 1 กรมหรือเทยี บเท่า สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ ริโภค 2 กรมหรอื เทียบเท่า สานกั งานปลดั สานักนายกรัฐมนตรี 3 กรมหรอื เทียบเทา่ สานักข่าวกรองแหง่ ชาติ 4 กรมหรือเทียบเท่า สานกั งบประมาณ 5 กรมหรือเทียบเทา่ สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า 6 กรมหรือเทยี บเท่า สานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน 7 กรมหรือเทยี บเท่า สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ 8 กรมหรอื เทียบเทา่ สานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการลงทุน 9 กรมหรือเทยี บเทา่ สานกั งานทรัพยากรน้าแห่งชาติ 10 กรมหรอื เทยี บเท่า สานักงานสภาความมั่นคงแหง่ ชาติ 11 กรมหรือเทียบเทา่ สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 12 กรมหรอื เทียบเท่า สานกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี 13 กรมหรอื เทยี บเทา่ สานักเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี 14 กรมหรือเทยี บเท่า สานกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาตแิ ละการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง 15 กรมหรือเทียบเท่า บริษัท อสมท จากดั (มหาชน) 16 รัฐวิสาหกจิ สถาบนั คณุ วฒุ วิ ชิ าชพี (องคก์ ารมหาชน) 17 องคก์ ารมหาชน สถาบันบรหิ ารจดั การธนาคารทด่ี ิน (องคก์ ารมหาชน) 18 องค์การมหาชน สานกั งานบริหารและพัฒนาองคค์ วามรู้ (องค์การมหาชน) 19 องค์การมหาชน สานักงานพฒั นาพิงคนคร (องคก์ ารมหาชน) 20 องคก์ ารมหาชน สานกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ สร้างสรรค์ (องคก์ ารมหาชน) 21 องคก์ ารมหาชน สานกั งานพัฒนารฐั บาลดิจทิ ลั (องค์การมหาชน) 22 องคก์ ารมหาชน รายละเอียดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
44 ท่ี ประเภท หน่วยงำน 23 องคก์ ารมหาชน (ตามพระราชบญั ญัตเิ ฉพาะ) กองทุนสนับสนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ 24 องคก์ ารมหาชน (ตามพระราชบัญญัตเิ ฉพาะ) สานักงานกองทนุ หม่บู า้ นและชุมชนเมอื งแห่งชาติ 25 องคก์ ารมหาชน (ตามพระราชบญั ญตั ิเฉพาะ) สานักงานคณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ กระทรวงกลำโหม หน่วยงำน ท่ี ประเภท กองทพั บก 1 กรมหรอื เทยี บเท่า กองทพั เรือ 2 กรมหรือเทียบเทา่ กองทพั อากาศ 3 กรมหรอื เทยี บเทา่ กองบัญชาการกองทัพไทย 4 กรมหรอื เทยี บเท่า สานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม 5 กรมหรือเทยี บเทา่ บริษัท อ่กู รุงเทพ จากัด 6 รฐั วสิ าหกจิ องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก 7 หน่วยงานของรัฐอ่นื ๆ สถาบนั เทคโนโลยปี อ้ งกันประเทศ (องค์การมหาชน) 8 องค์การมหาชน (ตามพระราชบัญญตั ิเฉพาะ) กระทรวงกำรคลัง หนว่ ยงำน ท่ี ประเภท กรมธนารักษ์ 1 กรมหรอื เทยี บเท่า กรมบญั ชกี ลาง 2 กรมหรอื เทียบเท่า กรมศุลกากร 3 กรมหรอื เทยี บเทา่ กรมสรรพสามิต 4 กรมหรือเทยี บเทา่ กรมสรรพากร 5 กรมหรือเทียบเท่า สานกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วิสาหกิจ 6 กรมหรอื เทียบเทา่ สานักงานบรหิ ารหนสี้ าธารณะ 7 กรมหรอื เทยี บเทา่ สานักงานปลัดกระทรวงการคลัง 8 กรมหรือเทยี บเทา่ สานกั งานเศรษฐกจิ การคลงั 9 กรมหรอื เทียบเทา่ กองทนุ การออมแห่งชาติ 10 กองทนุ กองทนุ เงนิ ให้กูย้ ืมเพ่ือการศกึ ษา 11 กองทุน กองทุนบาเหน็จบานาญขา้ ราชการ 12 กองทนุ การยาสบู แหง่ ประเทศไทย 13 รัฐวิสาหกิจ ธนาคารกรุงไทย จากัด (มหาชน) 14 รฐั วสิ าหกิจ ธนาคารพฒั นาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมแหง่ ประเทศไทย 15 รฐั วสิ าหกจิ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 16 รฐั วสิ าหกิจ ธนาคารเพอื่ การสง่ ออกและนาเขา้ แห่งประเทศไทย 17 รฐั วสิ าหกิจ ธนาคารออมสิน 18 รฐั วสิ าหกิจ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 19 รฐั วสิ าหกิจ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย 20 รฐั วิสาหกจิ บรรษทั ตลาดรองสินเช่ือทีอ่ ยู่อาศยั 21 รัฐวิสาหกิจ บรรษัทประกนั สินเชือ่ อตุ สาหกรรมขนาดยอ่ ม 22 รฐั วสิ าหกิจ บรษิ ทั ธนารกั ษพ์ ฒั นาสินทรพั ย์ จากัด 23 รฐั วิสาหกิจ โรงงานไพ่ กรมสรรพสามติ 24 รัฐวิสาหกิจ สานักงานสลากกนิ แบง่ รฐั บาล 25 รัฐวิสาหกจิ องค์การสรุ า กรมสรรพสามิต 26 รัฐวสิ าหกจิ สถาบันคมุ้ ครองเงินฝาก 27 หนว่ ยงานของรัฐอ่ืน ๆ สานกั งานคณะกรรมการกากับและสง่ เสริมการประกอบธรุ กจิ ประกนั ภยั 28 หนว่ ยงานของรัฐอนื่ ๆ สานักงานคณะกรรมการกากบั หลกั ทรัพยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ย์ 29 หน่วยงานของรฐั อ่ืน ๆ สานักงานความรว่ มมอื พัฒนาเศรษฐกจิ กับประเทศเพ่ือนบา้ น (องค์การมหาชน) 30 องค์การมหาชน รายละเอียดการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563|
45 กระทรวงกำรตำ่ งประเทศ หน่วยงำน ที่ ประเภท สานกั งานปลัดกระทรวงการต่างประเทศ 1 กรมหรอื เทียบเท่า กระทรวงกำรทอ่ งเทยี่ วและกฬี ำ หน่วยงำน ที่ ประเภท กรมการทอ่ งเทีย่ ว 1 กรมหรือเทียบเท่า กรมพลศกึ ษา 2 กรมหรือเทียบเท่า สานักงานปลดั กระทรวงการท่องเท่ยี วและกีฬา 3 กรมหรือเทียบเทา่ การกฬี าแหง่ ประเทศไทย 4 รฐั วิสาหกิจ การท่องเท่ยี วแห่งประเทศไทย 5 รัฐวสิ าหกจิ มหาวทิ ยาลัยการกฬี าแห่งชาติ 6 หนว่ ยงานของรัฐอืน่ ๆ สานกั งานสง่ เสริมการจัดประชมุ และนิทรรศการ (องค์การมหาชน) 7 องคก์ ารมหาชน องคก์ ารบรหิ ารการพฒั นาพน้ื ทพ่ี ิเศษเพอ่ื การทอ่ งเท่ยี วอยา่ งย่งั ยนื (องคก์ ารมหาชน) 8 องค์การมหาชน กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์ ที่ ประเภท หนว่ ยงำน 1 กรมหรอื เทียบเท่า กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน 2 กรมหรอื เทยี บเทา่ กรมกิจการผสู้ งู อายุ 3 กรมหรือเทยี บเทา่ กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั 4 กรมหรอื เทียบเทา่ กรมพฒั นาสังคมและสวสั ดกิ าร 5 กรมหรอื เทียบเท่า กรมสง่ เสริมและพฒั นาคุณภาพชวี ติ คนพกิ าร 6 กรมหรือเทยี บเท่า สานกั งานปลดั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ 7 รัฐวิสาหกจิ การเคหะแหง่ ชาติ 8 รฐั วสิ าหกจิ สานกั งานธนานเุ คราะห์ 9 องคก์ ารมหาชน สถาบันพฒั นาองค์กรชมุ ชน (องคก์ ารมหาชน) กระทรวงกำรอุดมศึกษำ วทิ ยำศำสตร์ วิจยั และนวตั กรรม ท่ี ประเภท หน่วยงำน 1 กรมหรอื เทียบเทา่ กรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร 2 กรมหรอื เทยี บเทา่ สานักงานการวจิ ยั แหง่ ชาติ 3 กรมหรือเทียบเทา่ สานักงานปรมาณูเพ่ือสนั ติ 4 กรมหรือเทียบเทา่ สานกั งานปลัดกระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม 5 รัฐวสิ าหกิจ สถาบนั วจิ ยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ประเทศไทย 6 รัฐวิสาหกิจ องค์การพพิ ธิ ภณั ฑว์ ิทยาศาสตรแ์ หง่ ชาติ 7 องค์การมหาชน ศูนย์ความเปน็ เลศิ ด้านชวี วทิ ยาศาสตร์ (องคก์ ารมหาชน) 8 องค์การมหาชน สถาบนั เทคโนโลยนี วิ เคลยี รแ์ ห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) 9 องคก์ ารมหาชน สถาบันวจิ ยั ดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) 10 องคก์ ารมหาชน สถาบันวิจยั แสงซนิ โครตรอน (องค์การมหาชน) 11 องค์การมหาชน สถาบันสารสนเทศทรพั ยากรนา้ (องคก์ ารมหาชน) 12 องคก์ ารมหาชน สานกั งานนวตั กรรมแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) 13 องคก์ ารมหาชน สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศและภมู สิ ารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) 14 องคก์ ารมหาชน (ตามพระราชบญั ญตั เิ ฉพาะ) สานกั งานสภานโยบายการอดุ มศึกษาวทิ ยาศาสตร์วจิ ยั และนวัตกรรมแห่งชาติ 15 องคก์ ารมหาชน (ตามพระราชบญั ญัตเิ ฉพาะ) สานักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ 16 องคก์ ารมหาชน (ตามพระราชบญั ญัตเิ ฉพาะ) สานกั งานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์วจิ ัยและนวตั กรรม 17 องค์การมหาชน (ตามพระราชบัญญัตเิ ฉพาะ) สถาบนั มาตรวทิ ยาแห่งชาติ รายละเอียดการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
46 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน่วยงำน ท่ี ประเภท กรมการข้าว 1 กรมหรอื เทยี บเทา่ กรมชลประทาน 2 กรมหรือเทยี บเทา่ กรมตรวจบัญชสี หกรณ์ 3 กรมหรอื เทียบเทา่ กรมประมง 4 กรมหรือเทียบเท่า กรมปศสุ ตั ว์ 5 กรมหรอื เทียบเทา่ กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร 6 กรมหรือเทยี บเท่า กรมพัฒนาท่ดี นิ 7 กรมหรอื เทียบเท่า กรมวิชาการเกษตร 8 กรมหรือเทียบเท่า กรมสง่ เสริมการเกษตร 9 กรมหรอื เทยี บเทา่ กรมสง่ เสริมสหกรณ์ 10 กรมหรือเทยี บเท่า กรมหมอ่ นไหม 11 กรมหรอื เทยี บเทา่ สานกั งานการปฏิรูปท่ีดนิ เพ่ือเกษตรกรรม 12 กรมหรือเทียบเทา่ สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 13 กรมหรอื เทยี บเท่า สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ 14 กรมหรอื เทยี บเทา่ สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร 15 กรมหรือเทียบเท่า กองทนุ ฟืน้ ฟแู ละพฒั นาเกษตรกร 16 กองทุน การยางแห่งประเทศไทย 17 รัฐวสิ าหกจิ องค์การตลาดเพือ่ เกษตรกร 18 รฐั วิสาหกิจ องคก์ ารส่งเสริมกิจการโคนมแหง่ ประเทศไทย 19 รัฐวสิ าหกิจ องค์การสะพานปลา 20 รัฐวสิ าหกจิ สถาบนั วิจยั และพฒั นาพื้นที่สงู (องคก์ ารมหาชน) 21 องค์การมหาชน สานกั งานพิพิธภณั ฑเ์ กษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั (องคก์ ารมหาชน) 22 องค์การมหาชน สานกั งานพฒั นาการวจิ ัยการเกษตร (องค์การมหาชน) 23 องค์การมหาชน หน่วยงำน กระทรวงคมนำคม กรมการขนสง่ ทางบก ท่ี ประเภท กรมเจ้าท่า 1 กรมหรือเทียบเทา่ กรมทางหลวง 2 กรมหรอื เทียบเท่า กรมทางหลวงชนบท 3 กรมหรือเทียบเท่า กรมทา่ อากาศยาน 4 กรมหรอื เทยี บเทา่ สานกั งานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร 5 กรมหรือเทียบเทา่ สานกั งานปลดั กระทรวงคมนาคม 6 กรมหรอื เทียบเทา่ กรมขนสง่ ทางราง 7 กรมหรือเทียบเท่า การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย 8 กรมหรอื เทียบเทา่ การทา่ เรอื แหง่ ประเทศไทย 9 รัฐวสิ าหกิจ การรถไฟฟ้าขนสง่ มวลชนแหง่ ประเทศไทย 10 รฐั วิสาหกิจ การรถไฟแห่งประเทศไทย 11 รฐั วิสาหกจิ บริษทั การบินไทย จากดั (มหาชน) 12 รฐั วิสาหกิจ บริษัท ขนสง่ จากดั 13 รฐั วสิ าหกิจ บรษิ ัท ท่าอากาศยานไทย จากดั (มหาชน) 14 รัฐวสิ าหกิจ บริษทั วิทยกุ ารบินแหง่ ประเทศไทย จากดั 15 รฐั วสิ าหกิจ สถาบนั การบนิ พลเรอื น 16 รัฐวิสาหกจิ องค์การขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ 17 รัฐวิสาหกิจ สานกั งานการบินพลเรอื นแหง่ ประเทศไทย 18 รฐั วิสาหกจิ 19 หน่วยงานของรฐั อื่น ๆ รายละเอยี ดการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
47 กระทรวงดิจิทัลเพอื่ เศรษฐกิจและสังคม หน่วยงำน ที่ ประเภท กรมอตุ ุนยิ มวิทยา 1 กรมหรอื เทียบเทา่ สานักงานคณะกรรมการดจิ ิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 2 กรมหรือเทียบเท่า สานักงานปลัดกระทรวงดจิ ทิ ลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสังคม 3 กรมหรือเทียบเทา่ สานกั งานสถติ ิแห่งชาติ 4 กรมหรอื เทยี บเท่า บรษิ ทั กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) 5 รฐั วิสาหกิจ บริษทั ทโี อที จากดั (มหาชน) 6 รัฐวสิ าหกิจ บรษิ ัท ไปรษณียไ์ ทย จากดั 7 รัฐวิสาหกิจ สานักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) 8 องคก์ ารมหาชน(ตามพระราชบญั ญัตเิ ฉพาะ) สานกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ิทลั 9 องคก์ ารมหาชน (ตามพระราชบัญญัติเฉพาะ) กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม ที่ ประเภท หน่วยงำน 1 กรมหรือเทียบเท่า กรมควบคมุ มลพิษ 2 กรมหรือเทยี บเท่า กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝัง่ 3 กรมหรือเทียบเท่า กรมทรัพยากรธรณี 4 กรมหรอื เทียบเทา่ กรมทรัพยากรนา้ 5 กรมหรอื เทียบเท่า กรมทรัพยากรนา้ บาดาล 6 กรมหรอื เทยี บเทา่ กรมปา่ ไม้ 7 กรมหรอื เทียบเทา่ กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม 8 กรมหรือเทียบเท่า กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพุ์ ชื 9 กรมหรือเทยี บเท่า สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 10 กรมหรือเทยี บเทา่ สานกั งานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม 11 รฐั วิสาหกจิ องคก์ ารสวนพฤกษศาสตร์ 12 รฐั วสิ าหกิจ องคก์ ารสวนสัตว์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 13 รัฐวิสาหกจิ องค์การอุตสาหกรรมปา่ ไม้ 14 องค์การมหาชน สานกั งานพัฒนาเศรษฐกจิ จากฐานชวี ภาพ (องคก์ ารมหาชน) 15 องคก์ ารมหาชน องค์การบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก (องค์การมหาชน) กระทรวงพลงั งำน หนว่ ยงำน ท่ี ประเภท กรมเช้ือเพลิงธรรมชาติ 1 กรมหรอื เทยี บเทา่ กรมธุรกิจพลังงาน 2 กรมหรือเทยี บเทา่ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพ์ ลังงาน 3 กรมหรอื เทยี บเท่า สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน 4 กรมหรือเทยี บเท่า สานักงานปลดั กระทรวงพลังงาน 5 กรมหรอื เทียบเท่า การไฟฟ้าฝ่ายผลติ แหง่ ประเทศไทย 6 รฐั วิสาหกจิ บรษิ ัท ปตท จากัด (มหาชน) 7 รฐั วสิ าหกิจ สานกั งานคณะกรรมการกากบั กิจการพลังงาน 8 หนว่ ยงานของรัฐอ่ืน ๆ สานักงานกองทนุ น้ามนั เชอื้ เพลงิ 9 องค์การมหาชน (ตามพระราชบัญญัติเฉพาะ) กระทรวงพำณชิ ย์ หน่วยงำน ท่ี ประเภท 1 กรมหรอื เทยี บเท่า กรมการค้าต่างประเทศ 2 กรมหรือเทยี บเทา่ กรมการค้าภายใน 3 กรมหรอื เทียบเท่า กรมเจรจาการคา้ ระหวา่ งประเทศ 4 กรมหรือเทยี บเทา่ กรมทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา รายละเอียดการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563|
Search