บทบาทพยาบาลอนามัยชุมชนบนพนื้ ฐาน การดแู ลดว้ ยหวั ใจของความเป็ นมนุษย์ บนพนื้ ฐานของความเออื้ อาทร อ.วชั รินทร์ ชา่ งประดบั
3.1 แนวคิดการดแู ลดว้ ยหวั ใจของความเป็นมนษุ ยบ์ นพืน้ ฐานของ ความเออื้ อาทร
3.1 ชุมชน หมายถึง กลุ่มคนท่ีอาศยั อยใู่ นพ้นื ท่ี เดียวกนั มีปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งกนั มีการ ติดต่อสื่อสารกนั และมีการดาเนินกิจกรรม ใดๆร่วมกนั เพ่ือประโยชนข์ องสมาชิกใน ชุมชน
กระบวนการเกิดชมุ ชน เรยี งตามขนั้ ตอน ดงั นี้ 1. บุคคลต้งั แต่สองคนข้ึนไปมีการวมกลุ่มกนั เพื่อวตั ถุประสงค์ อยา่ งใด อยา่ งหน่ึง เช่น การประกอบอาชีพ 2. กลุ่มบุคคลที่รวมกลุ่มกนั นน้ั เกิดความรสู้ ึกว่าตอ้ งมีการทา กิจกรรมร่วมกนั เพ่ือบรรลุวตั ถปุ ระสงคบ์ างอย่างร่วมกนั การ รวมกลุ่มจะเป็ นความสมั พนั ธใ์ นลกั ษณะของกลุ่มสงั คมหรือ องคก์ รทางสงั คม เช่น ครอบครวั บริษทั เป็ นตน้
3. กลุม่ สงั คมหรือองคก์ รทางสงั คมท่ีเกิดข้ึนจะมีการกาหนดพ้ืนท่ีหรือสถานท่ีใน การดาเนิ นกิจกรรมท่ ีแน่นอน 4. กลุม่ สงั คมท่ีรวมตวั กนั ในลกั ษณะบา้ นในละแวกเดียวกนั ขยายตวั เป็น ชุมชนซ่ึงอาจมาจากบา้ นท่ีเพ่ิมข้ึน
ประเภทของชมุ ชน ชุมชนเมือง ชุมชนชนบท
แนวคดิ ทเี่ กยี่ วข้องในการทางานชุมชนด้านสาธารณสุข 1. แนวคดิ การมสี ่วนร่วมของชุมชน 1.1 การมีส่วนร่วมแบบอุดมคติ การดาเนินงานท่ีชุมชนเป็นแกนนาในกิจกรรมท้งั หมด เกิดจากแรงจูงใจในชุมชนเอง มกั พบในเร่ืองเก่ียวกบั งานทางศาสนา หรือความเช่ือ ประเพณี วฒั นธรรม 1.2 การมีส่วนร่วมแบบประชาชนเป็นแกนนา เป็นการมีส่วนร่วมท่ีมุ่งผลประโยชน์ ร่วมกนั มกั เกิดข้ึนเมื่อตอ้ งการแกไ้ ข ปัญหาร่วมกนั 1.3 การมีส่วนร่วมแบบเจา้ หนา้ ท่ีเป็นแกนนา เป็นการดาเนินงานท่ีเกิดข้ึนจากเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐหรือเอกชน 1.4 การมีส่วนร่วมแบบสง่ั การ เป็นการดาเนินงานในชุมชนที่ประชาชนมสี ่วนร่วม โดยไม่ไดเ้ กิดจากความตอ้ งการที่แทจ้ ริงของชุมชน มกั เป็นเรื่องที่ตอ้ งการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้
2. แนวคดิ การเข้าถงึ ชุมชน การทางานชุมชนดา้ นสาธารณสุขเป็นเรื่องที่เก่ียวกบั สุขภาพของคนใน ชุมชนซ่ึงเป็นการทางานท้งั ดา้ นการเขา้ ไปพฒั นา เขา้ ไปแกป้ ัญหา หรือ ดาเนินงานเพอ่ื สนองนโยบาย
3. แนวคิดการประสานงาน 3.1 การประสานงานแบบเป็นทางการ มีขน้ั ตอนอยา่ งเป็นลาดบั ตามสายการ บงั คบั บญั ชา หรือตามสายการบริหารงาน 3.2 การประสานงานแบบไมเ่ ป็นทางการ เป็นเร่ืองท่ีจาเป็นอยา่ งย่ิงในการ ดาเนินงานชุมชน เพราะทาใหเ้ กิดความร่วมมืออยา่ งเต็มใจและเกิดการยอมรับจาก ประชาชน
4. แนวคดิ การเตรียมชุมชน 4.1 การเตรียมชุมชนโดยบุคลากรภายนอกชุมชน เจา้ หนา้ ท่ีเขา้ ไปดาเนินงานอยา่ งเตม็ รูปแบบโดยท่ีชุมชนยงั มีความ ตอ้ งการหรือมีส่วนร่วมนอ้ ย 4.2 การเตรียมชุมชนโดยบคุ ลากรภายในชุมชน ซ่ึงอาจเป็น ผนู้ าชุมชน ผนู้ าองคก์ รในชุมชน หรือผทู้ ี่ทราบความตอ้ งการของ ประชาชนในชุมชน
5. แนวคดิ การทางานเป็ นทีม 5.1 สมาชิกทีมที่ดีพึงตระหนกั วา่ บทบาทสมาชิกกลุ่มมีหลายบทบาท เป็นท้งั ผทู้ ี่เสนอความคิดเห็นใหก้ ลุ่มรวมท้งั คน้ หาขอ้ มูลใหก้ ลุ่มดว้ ย 5.2 สมาชิกทีมท่ีดีไม่ควรจากดั บทบาท หนา้ ท่ีของตนเองแต่ควรวเิ คราะห์สถานการณ์และความตอ้ งการของทีมและ ช่วยเหลือทีมตามความตอ้ งการน้นั 5.3 สมาชิกทีมที่ดีไม่ควรจากดั บทบาทเฉพาะดา้ นที่ตนถนดั 5.4 ควรมีการหมุนเวยี นบทบาท หนา้ ท่ีกนั
6.แนวคดิ การตดิ ตามและประเมินผล 6.1 ติดตามประเมนิ ผลปัจจยั นาเข้า เป็ นการเกบ็ ข้อมูลเพื่อให้ ทราบความเป็ นไปของงานทพี่ ฒั นาช่วงทผ่ี ่านมา 6.2 ติดตามประเมินผลระหว่างดาเนินการ 6.3 การประเมนิ ผลเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ 6.4 การประเมินผลกระทบต่อชุมชน
7. แนวคดิ การแก้ปัญหาชุมชน การทางานทุกอยา่ งน้นั ส่ิงหน่ึงท่ีมกั จะหลีกเลี่ยง ไม่ได้ คือ การเกิดปัญหาระหวา่ งการทางาน ดงั น้นั เจา้ หนา้ ที่ ตอ้ งมีความพร้อมในการแกป้ ัญหาที่คาดการณ์ลว่ งหนา้ ได้ และไม่ได้
3.2 บทบาทพยาบาลอนามัยชุมชนในการดูแลครอบครัวและชุมชน 1. ผู้ให้บริการ (care provider) 2. ผ้สู อนและท่ีปรึกษา (educator and counselor) 3. ตวั แบบอย่างทดี่ ี (role model) 4. ผู้ปกป้องสิทธิผู้รับบริการ (client advocate) 5. ผู้บริหารจดั การรายกรณี (case manager 6.ผ้รู ่วมงาน (collaborator) 7. ค้นหาผู้ป่ วย (case finder) 8. ผู้ปรับเปลยี่ นส่ิงแวดล้อม (environmental modifier)
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: