Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การฟัง-CanVa

การฟัง-CanVa

Published by waranya190844, 2021-03-06 06:18:31

Description: การฟัง-CanVa

Search

Read the Text Version

สไลดท์ ่ี1 บทนํา การฟั ง ทักษะการฟั งเป็นทักษะทางการส่อื สารท่ีอยูใ่ นประเภทของการรั บสาร และยังเป็น ทักษะการใชภ้ าษาท่ีใชม้ ากท่ีสุดใน ชีวติ ประจาวัน กลา่ วไดว้ า่ ทักษะการฟั งนั น้ เกิด ข้ึนกอ่ นการพูด การอา่ น และการเขียน เพราะทักษะการฟั งเกิดข้ึนตามธรรมชาติ  ตัง้ แตแ่ รกเกิด หลายคนจึงเขา้ ใจวา่ ทักษะการฟั งนั น้ ไมจ่ าเป็นตอ้ งมีการฝึ กฝน เพราะทุกคนมีความสามารถในการฟั ง แทท้ ่ีจริงแลว้ ทักษะการฟั งกเ็ หมือนกับ ทักษะอ่ืนๆ ท่ีตอ้ งไดร้ ั บการฝึ กฝนพัฒนาอยูเ่ สมอจึงจะใชไ้ ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ สูงสุด และไมเ่ ป็นเพียง แคก่ ารไดย้ นิ เสยี งเทา่ นั ้น สไลด2์ . ความหมายของการฟั ง ความหมายของการฟั ง การฟั ง หมายถึง พฤติกรรมการรั บสารผา่ นโสตประสาทอยา่ งตัง้ ใจเช่ือมโยงกับ กระบวนการคดิ ในสมอง โดยสมองแปล ความหมายของเสยี งจนเกิดความเขา้ ใจและมีปฏิกิริยาตอบสนอง การฟั งจึงเป็นก ระบวนการท่ีเกิดข้ึนภายในตั วบุคคล การฟั งนั น้ ตา่ งจากการไดย้ นิ เน่ืองจากการฟั งตอ้ งอาศัยโสตประสาทท่ีอยูใ่ นหู เป็นเคร่ืองมือรั บเสยี ง จากนั น้ เม่ือเสยี ง ผา่ นโสตประสาทแลว้ จะเขา้ สูก่ ระบวนการ ทางานของสมอง สว่ นการไดย้ นิ เป็นกลไกอัตโนมัติของโสตประสาทในการรั บ เสยี งแต่ ไมไ่ ดเ้ ช่ือมโยงกับกระบวนการทางสมองเพ่ือตีความในการทาความเขา้ ใจ เสยี งนั น้ เป็นท่ีน่าสังเกตวา่ ลักษณะการฟั งนั น้ จะตอ้ ง เริ่มมาจากการตัง้ ใจหรือจงใจท่ีจะฟั ง สว่ นการไดย้ นิ จะไมไ่ ดเ้ ริ่มจากการตัง้ ใจฟั ง สไลดท์ ่ี3. ความสาคัญของการฟั ง 1. การฟั งทาให้ไดร้ ั บความรู้ เพราะการฟั งเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้  เชน่ การฟั งบรรยายของอาจารยใ์ นชัน้ เรียน ฟั งวธิ ีทาขนมไทย ฟั งวธิ ีปลูกไมด้ อก  เป็ นตน้

2. การฟั งทาให้รู้ขอ้ มูลขา่ วสารตา่ งๆ ท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ ตนเองและสังคม ทาให้รู้ เทา่ ทันความเปล่ียนแปลงของคน และสังคม 3. การฟั งเป็นกระบวนการเรียนรู้อยา่ งหน่ึงของมนุษย์ ทัง้ ท่ีเกิดจากการฟั งจาก บุคคลโดยตรงหรือฟั งผา่ นส่อื อิเลก็ ทรอนิกส์ 4. การฟั งชว่ ยยกระดับจิตใจ ทาให้เขา้ ใจความเป็นมนุษยห์ รือการอยูร่ ่วมกันใน สังคมอยา่ งมีความสุขได้ เชน่ การฟั ง ธรรมเทศนา การฟั งโอวาท เป็นตน้ 5.การฟั งทาให้ไดร้ ั บความบันเทงิ ชว่ ยผอ่ นคลายความเครียด 6. การฟั งชว่ ยพัฒนาทักษะการพูดให้มีประสทิ ธิภาพได้ กลา่ วคือ การฟั งชว่ ยให้ผู้ ฟั งไดเ้ รียนรู้วธิ ีการพูด เน้ือหาสาระ ของสาร วธิ ีการนาเสนอสาร บุคลิกภาพ ฯลฯ  ซ่ึงสามารถนามาปรั บใชก้ ับวธิ ีการพูดของตน ทาให้เกิดความมั่นใจขณะพูด และทา  ให้การพูดของตนมีประสทิ ธิภาพมากยงิ่ ข้ึน 7. การฟั งอยา่ งมีประสทิ ธิสามารถสร้างความเขา้ ใจอันดีระหวา่ งคนในสังคม 8.การฟั งเป็นเคร่ืองมือชว่ ยสบื ทอดความงามทางวรรณศลิ ป์ และฉั นทลักษณ์ของ ไทย เชน่ การฟั งบทร้อยกรอง บท กวี บทสวดมนต์ เพลงไทยเดิม เป็นตน้ สไลดท์ ่ี4. ลักษณะการฟั งแบบตา่ งๆ 1. การฟั งอยา่ งเขา้ ใจ เป็นการฟั งขัน้ พ้ืนฐานท่ีใชไ้ ดท้ ุกสถานการณ์ เชน่ ฟั งเพ่ือให้ สามารถรั บรู้เขา้ ใจเร่ืองราว เขา้ ใจ ความคดิ ของบุคคล เขา้ ใจความหมายของสารแลว้ สามารถนาสงิ่ ท่ีไดฟ้ ั งไปปฏิบัติ ได้ ฯลฯ การฟั งลักษณะน้ีผูฟ้ ั งควรฟั งโดยตลอด ใชค้ วามคดิ พิจารณาดว้ ยใจท่ีเป็นกลางและยอมรั บความรู้ความคดิ หรือมุมมอง ตา่ งๆ ของผูส้ ง่ สาร อาจมีการจดบันทึกประเดน็ สาคัญไปดว้ ยกไ็ ด้

2. การฟั งอยา่ งมีจุดมุง่ หมาย เป็นการฟั งท่ีผูฟ้ ั งตัง้ วัตถุประสงคใ์ ดวัตถุประสงค์ หน่ึงไวล้ ว่ งหน้า เชน่ ตอ้ งการฟั งเพ่ือ ความรู้ เพ่ือความบันเทงิ เพ่ือการตัดสนิ ใจ  เป็นตน้ การฟั งอยา่ งไมไ่ ดต้ ัง้ จุดมุง่ หมายจัดวา่ เป็นการฟั งแบบผา่ นๆ ผูฟ้ ั งจะไมไ่ ด ้ ประโยชน์จากสงิ่ ท่ีไดฟ้ ั ง การฟั งอยา่ งมีจุดมุง่ หมายจึงเป็นพ้ืนฐานสาคัญของการฟั ง อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 3. การฟั งอยา่ งมีวจิ ารณญาณ จัดเป็นการฟั งท่ีตอ้ งใชค้ วามคดิ วเิ คราะหส์ ารท่ีได้ ฟั ง มักดาเนินควบคูไ่ ปกับการ วเิ คราะหส์ าร จัดเป็นการฟั งขัน้ สูง ผูฟ้ ั งตอ้ งจับ ประเดน็ วา่ จุดมุง่ หมายของผูพ้ ูดคืออะไร และแยกแยะวา่ สว่ นใดท่ีเป็นขอ้ เทจ็ จริง  และเป็นขอ้ คดิ เหน็ โดยใชก้ ระบวนการคดิ ใคร่ครวญดว้ ยเหตุผล จนนาไปสูก่ าร ตอบสนองท่ีถูกตอ้ งเหมาะสม การฟั งอยา่ งมี วจิ ารณญาณจะทาให้ผูฟ้ ั งไดร้ ั บ ประโยชน์และไดข้ อ้ มูลท่ีเป็นจริง 4. การฟั งอยา่ งประเมินคุณคา่ เป็นการฟั งในระดับสูงตอ่ มาจากการฟั งอยา่ งมี วจิ ารณญาณ เป็นการฟั งท่ีผูฟ้ ั งตอ้ ง ประเมินหรือตัดสนิ คุณคา่ ของสารท่ีฟั งวา่ ดี หรือไม่ มีประโยชน์หรือไม่ เหมาะแกก่ ารนาไปปฏิบัติหรือไม่ ผูฟ้ ั งควรฟั งอยา่ ง ตัง้ ใจ และสามารถวพิ ากษ์วจิ ารณ์สงิ่ ท่ีฟั งไดอ้ ยา่ งมีเหตุผลน่าเช่ือถือ การฟั งอยา่ ง ประเมินคุณคา่ ทาให้ผูฟ้ ั งตระหนั กไดว้ า่ ขอ้ มูลนั น้ น่าเช่ือถือมากน้อยเพียงใด สไลดท์ ่ี5. จุดมุง่ หมายของการฟั ง การฟั งท่ีดีผูฟ้ ั งควรจะตอ้ งฝึ กฝนและพัฒนาทักษะการฟั งของตนอยูเ่ สมอ เพ่ือให้ สามารถทาความเขา้ ใจสงิ่ ท่ีไดฟ้ ั งอยา่ ง ถอ่ งแท้ การฟั งโดยท่ีมีการตัง้ จุดมุง่ หมาย ในการฟั งไวล้ ว่ งหน้าเป็นอีกวธิ ีหน่ึงท่ีจะชว่ ยพัฒนาทักษะการฟั ง จุดมุง่ หมายของ การฟั ง สรุปไดด้ ังน้ี คือ  1.การฟั งเพ่ือให้เกิดความรู้ 2.การฟั งเพ่ือความบันเทงิ เเละผอ่ นคลาย 3.การฟั งเพ่ือให้เกิดความคดิ เเละการตัดสนิ ใจ 4.การฟั งเพ่ือความเขา้ ใจ 5.การฟั งเพ่ือเเสดงความคดิ เหน็ 6.การฟั งเพ่ือให้เกิดความคดิ เเละความจรรโลงใจ 7.การฟั งเพ่ือพัฒนาสมองเเละสุขภาพจิต

สไลดท์ ่ี6. อุปสรรคและปั ญหาในการฟั ง อุปสรรคและปั ญหาในการฟั งเกิดไดจ้ ากหลายสาเหตุ แตเ่ ม่ือเกิดข้ึนแลว้ ลว้ นสง่ ผลให้การส่อื สารไมส่ ัมฤทธิ์ผล เกิดความ เขา้ ใจคลาดเคล่ือนระหวา่ งผูพ้ ูดกับผูฟ้ ั ง  และอาจทาให้ผูฟ้ ั งไมส่ ามารถวเิ คราะหส์ งิ่ ท่ีฟั งได้ สาเหตุของอุปสรรคและปั ญหาท่ี ทาให้ การฟั งไมส่ ัมฤทธิ์ผลสรุปได้ 5สาเหตุใหญๆ่ ดังน้ี 1. สาเหตุจากผูฟ้ ั ง 2. สาเหตุจากผูพ้ ูด ดั งน้ี 2.1ผูพ้ ูดขาดทักษะการสง่ สาร  2.2ผูพ้ ูดรู้สกึ ประหมา่ ต่ืนเตน้ หรือกลัวจนพูดไมอ่ อกหรือพูดติดขัด  2.3ผูพ้ ูดกังวลเร่ืองเน้ือหาท่ีจะพูดยังไมส่ มบูรณ์  2.4 ขาดบุคลิกภาพท่ีดีขณะพูด  3.สาเหตุจากสาร ดังน้ี 3.1 สาเหตุจากเน้ือหา  3.2 สาเหตุจากส่อื 4. สาเหตุจากส่อื   5. สาเหตุจากสภาพแวดลอ้ ม สไลดท์ ่ี7 วัตถุประสงคป์ ระสงค์ วั ตถุประสงค์ 1.เพ่ือศกึ ษาประสทิ ธิภาพของกจิกรรมการเรียนรู้การพัฒนาทักษะการฟั งภาษา อังกฤษโดยใชร้ ายการโทรทัศน์ ท่ีมีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 2. เพ่ือศกึ ษาคา่ ดัชนีประสทิ ธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะการฟั ง ภาษาอังกฤษ โดยใชร้ ายการโทรทัศน์ ของนั กเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี 3

3.เพ่ือเปรยีบเทียบทักษะการฟั งภาษาอังกฤษระหวา่ งกอ่ นเรียนและหลังเรียนของ นั กเรยีนชนั ม้ ัธยมศกึ ษาปี ท่ี3 ท่ีเรียนรโ้ดู ยใชร้ ายการโทรทัศน์ 4.เพ่ือศกึ ษาความคดิเหน็ ของนั กเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี3ท่ีมีตอ่ การเรยีนดว้ ย รายการโทรทั ศน์ สไลดท์ ่ี8. วธิ ีดาํ เนินการวจิ ัย 1. ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง 1.1 ประชากร คือ นั กเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี 3 โรงเรียนมัธยมขนาดเลก็ ในอา เภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ สังกัดสาํ นั กงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 24 จานวน 10 ห้อง จาก 4 โรงเรียน. ประกอบดว้ ย. โรงเรียนดอนไทรงาม พิทยาคม มี 3 ห้องเรียน รวม 69 คนโรงเรียนโคกศรีเมือง มี 2 ห้องเรียน รวม  49 คนโรงเรียนธั ญญาพฒั นวทิ ย์ มี 2 ห้องเรียน รวม 39 คน โรงเรียนฟ้ าแดด สูงยางวทิ ยาคาร มี 2 ห้องเรียน รวม 75 คนรวม 232 คน ซ่ึงมีสภาพแวดลอ้ ม และการจดั กิจกรรม การเรยี นการสอนเหมือนกัน รวมทัง้ มีผลการประเมินผล สัมฤทธิ์ทางการเรยี นปลายภาค ปี การศกึ ษา 2/2558 ใกลเ้ คียงกัน 1.2กลุม่ ตัวอยา่ งคือนั กเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี3ท่ีกาลังศกึ ษาอยูภ่ าคเรียนท่ี1ปี การศกึ ษา2559โรงเรียน ฟ้ าแดดสูงยางวทิ ยาคาร อาเภอกมลาไสย จังหวัด กาฬสนิ ธุ์ สานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 24 จานวน 28 คน ซ่ึง ไดม้ าโดยวธิ ีการสุม่ แบบกลุม่ (Cluster Random Sampling) สไลดท์ ่ี9 เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย 2. เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัยมี 3 ชนิด ประกอบดว้ ย 2.1 แผนการจดั กิจกรรมพัฒนาทกั ษะการฟั งภาษาอังกฤษ สอนโดยใชร้ ายการ โทรทัศน์ จานวน 8 แผน แผนละ 3 ชั่วโมง รวม 24 ชั่วโมง 2.2 แบบทดสอบทักษะการฟั ง จานวน 30 ขอ้

2.3 แบบวัดความคดิ เหน็ ของนั กเรียนท่ีมีตอ่ การเรียนดว้ ยรายการโทรทัศน์จาน วน 10 ขอ้ สไลดท์ ่ี10 ขอเเนะนําในการจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนควรทาํ ให้ผูเ้ รียนคดิ และเกิดการเรยีนรู้โดยการ ฝึ กทักษะภาษาเป็นทักษะสัมพันธ์ ท่ีสมจริง เน้นการใชส้ ่อื ตามสภาพจริงคือวัสดุ การสอนท่ีไดจ้ ากแหลง่ ตา่ ง ๆ ท่ีไมใ่ ชต่ าราหรือบทเรียนท่ีจัดพิมพเ์ พ่ือให้ผูเ้ รียน  ใชเ้ รียน ตัวอยา่ งของส่อื ตามสภาพจริง เชน่ ขา่ วการพยากรณ์อากาศและการ สัมภาษณ์ทางวทิ ยุโทรทัศน์การใชส้ ่อื ตามสภาพจริง ทาํ ให้ผูเ้ รียนไดเ้ กิดความ สนใจและตอ้ งการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียนมากข้ึน อันจะเป็นผลดีตอ่ การ เรียนการสอนภาษาอังกฤษในชัน้ เรียน (นิภาวรรณ ชูรั ตน์สทิ ธิ์, 2535) โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ส่อื ท่ีใชก้ ันในปั จจุบัน คือ  โทรทัศน์ซ่ึงปั จจุบันมีรายการท่ีมีคุณภาพ หลายรายการ เชน่ รายการสารคดี รายการสั มภาษณ์ (วรวทิ ย์ นิเทศศลิ ป์ ,2551) โทรทัศน์เป็นส่อื ท่ีมีอานาจมากในการชว่ ยเสริม และ ทดแทนภาระหน้าท่ีในการส่อื สารขัน้ ท่ีหน่ึงของครูผูส้ อน สามารถเพิม่ พูน ประสบการณ์ของผูเ้ รียนให้กวา้ งขวางเพราะเป็น ส่อื ท่ีมีทัง้ ภาพและเสยี งจึงมีเสน่ห ์ ดึงดูดความสนใจของผูช้ มไดม้ าก (วภิ า อุดมฉั นท,์ 2544) สไลดท์ ่ี11. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผูว้ จิ ัยไดด้ าเนินการทดลอง ดังน้ี 3.1 ทดสอบทักษะการฟั งภาษาอังกฤษ (Pre-test) ดว้ ยแบบทดสอบทักษะการ ฟั งภาษาอังกฤษ จานวน 30 ขอ้ แลว้ ตรวจให้คะแนน เกบ็ คะแนนไวเ้ พ่ือจะนํามา เปรี ยบเทียบกั บคะแนนเฉล่ียหลั งเรี ยน 3.2 เริ่มดาํ เนินการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีผูว้ จิ ัยสร้าง ข้ึนจานวน 8 แผน ทาการทดลอง จัดการเรียนรู้ในภาคเรียนท่ี 1 ปี การศกึ ษา  2559

3.3 นาแบบทดสอบทักษะการฟั งภาษาอังกฤษมาทดสอบหลังเรียน (Post-test)  ตรวจแลว้ เกบ็ คะแนนไว้ เพ่ือจะ นามาเปรยีบเทียบระหวา่ งการเรียนรู้โดยใช้ รายการโทรทั ศน์กั บแบบปกติ 3.4 นาแบบสอบถามความคดิ เหน็ ตอ่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใชร้ ายการ โทรทัศน์ภายหลังสน้ิ สดุ การจัดการเรยีนรู้ครบ8แผนการเรียนรู้โดยใช้ แบบสอบถามความคดิ เหน็ ท่ีผูว้ จิ ยัสร้างข้ึนเพ่ือให้นั กเรียนแสดงความคดิ เหน็ 3.5 ผูว้ จิ ัยรวบรวมขอ้ มลู เพ่ือนาไปวเิ คราะหท์ างสถิติตามความมุง่ หมายของการ วจิ ัย สไลดท์ ่ี 12. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ผูว้ จิ ัยไดว้ เิ คราะหข์ อ้ มลู ดังตอ่ ไปน้ี 4.1วเิ คราะหห์ าประสทิ ธภิาพของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟั งภาษา อังกฤษโดยใชร้ ายการโทรทัศน์ ท่ีมีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 โดยใช้ สูตรE1/E2 (บุญชม ศรีสะอาด และคณะ, 2553) วเิ คราะหข์ อ้ มูลดว้ ยสถิติพ้ืน ฐาน ไดแ้ ก่ ร้อยละ คา่ เฉล่ีย และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน 4.2วเิ คราะหห์ าคา่ ดัชนีประสทิ ธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้การพฒันาทักษะการฟั ง ภาษาอังกฤษโดยใชร้ ายการ โทรทัศน์ และแบบปกติ ใชส้ ูตร E.I. วธิ ีของกูดแมน เฟลทเชอร์และชไนเดอร์ (บุญชม ศรีสะอาด และคณะ, 2553) 4.3 เปรียบเทียบคะแนนทดสอบทักษะการฟั งภาษาอังกฤษ ระหวา่ งกอ่ นเรียนและ หลังเรียน โดยใชร้ ายการโทรทัศน์ โดยใชส้ ถิติทดสอบ t–test (dependent  Samples) 4.4 วเิ คราะหค์ วามคดิเหน็ ของนกัเรียนท่ีมีตอ่ การจัดการเรียนรู้การทักษะการฟั ง ภาษาอังกฤษโดยใชร้ายการ โทรทัศน์ โดยใชค้ า่ เฉล่ียและสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ซ่ึงเป็นมาตราสว่ นประมาณคา่ (RatingScale)5ระดับมีเกณฑก์ ารให้คะแนน  ดั งน้ี   (บุญชม ศรีสะอาด และคณะ, 2553)

สไลดท์ ่ี13. สรุปผลการทดลอง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การพัฒนาทักษะการฟั งภาษาอังกฤษ โดยใชร้ ายการ โทรทัศน์ของนั กเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษา ปี ท่ี3ผูว้ จิ ัยสรุปผลไดดัง้ น้ี 1. แผนการจัดกิจกรรมการพัฒนาทักษะการฟั งภาษาอังกฤษ โดยใชร้ ายการ โทรทัศน์ของนั กเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี 3 มีประสทิ ธิภาพเทา่ กับ 76.43/75.36  ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑท์ ่ีกาหนด 70/70 2. คา่ ดัชนีประสทิ ธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะการฟั งภาษา อังกฤษ โดยใชร้ ายการโทรทัศน์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี 3 มีคา่ เทา่ กับ 0.6042  หมายความวา่ นั กเรียนมีความกา้ วหน้าทางการเรียนรู้ ดา้ นการฟั งเพิม่ ข้ึนคดิ เป็น ร้อยละ 60.42 3. นั กเรียนมีคะเเนนทดสอบทักษะการฟั งภาษาอังกฤษ โดยใชร้ ายการโทรทัศน์ สูงกวา่ กอ่ นเรียนอยา่ งมีสถิติท่ีระดับ .05 4. นั กเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี 3 มคี วามคดิ เหน็ ตอ่ การเรียน ดว้ ยรายการ โทรทัศน์โดยรวมและเป็นรายขอ้ อยูใ่ นระดับเหน็ ดว้ ย มีคา่ เฉล่ีย 4.35 เม่ือ พิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ การเรียนรู้ดว้ ยรายการโทรทัศน์มีความหลากหลายของ รายการโทรทัศน์ ทาให้เกิดทักษะการฟั ง และการเรียนรู้ผา่ นรายการโทรทัศน์ทา ให้การเรียนภาษาอังกฤษมีความสนุกสนานมากยงิ่ ข้ึน สไลดท์ ่ี14. ขอ้ เสนอเเนะ 1. ขอ้ เสนอแนะในการนาไปใช้ 1.1 กอ่ นนํารูปแบบการใชร้ ายการโทรทัศน์ไปใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน ครูผูส้ อนควรมการศกึ ษา และทาํ ความเขา้ ใจรูปแบบของรายการแตละ ประเภท ท่ีมีความสอดคลอ้ งกับตัวช้ีวัดและจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ของแตบ่ ทเรียน

1.2 จากผลการศกึ ษาพบวา่ นั กเรียนเหน็ ดว้ ยกับการเรียนโดยใชร้ ายการ โทรทัศน์ ดังนั น้ ผูส้ อนควรนาวธิ ีการสอน โดยใชร้ ายการโทรทัศนไ์ปใชใ้ นการ สอนรายวชิ าภาษาอังกฤษเพ่ือให้ผูเ้ รยีนไดฝ้ ึ กการฟั งซ่ึงจะเหน็ ไดวา้่ การใชร้ ายการ โทรทัศน์ สามารถท่ีจะพัฒนากระบวนการฟงัของนั กเรียนไดด้ ยงิ่ ข้ึน 2. ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการวจิ ัยครั ง้ ตอ่ ไป 2.1 ควรมีการวจิ ัยเชิงปฏิบติการในการพัฒนาทักษะการฟั งภาษาอังกฤษ โดยใช้ ทฤษฎีรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ท่ีหลากหลาย รวมทัง้ การใชส้ อ่ืนแบบบูรณาการ 2.2ควรพัฒนาทักษะการฟั งของนั กเรียนอยา่ งตอ่ เน่ืองโดยการใชกร้ ะบวนการก ลุม่ เพ่ือสง่ เสริมคณุลักษณะ ท่ีพึงประสงคข์ องนั กเรียนไปพร้อม ๆ กับการพัฒนา ทั กษะทางภาษา 2.3 ควรพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแบบบูรณาการทัง้ ทักษะการฟั ง การพูด การ อา่ นและการเขียน สไลดท์ ่ี15. อา้ งอิง ธราบุญ คูจินดา. (2550). ประโยชนและวธิ ีใชเ้ ทคโนโลยีกับการเรียนการสอน.  หนองคาย: สารสองฝั่ งโขง. บ นิภาวรรณ ชูรั ตนสทิ ธิ์. (2535). “การไปอบรมเร่ืองการใช้ Authentic  Materials,” ภาษาปริทัศน์13(02) : 49; สงิ หาคม, 2535. บุญชม ศรีสะอาด และคณะ. (2553). พ้ืนฐานการวจิ ัยการศกึ ษา. พิมพค์ รั ง้ ท่ี 6.  กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน์ . ประสทิ ธิ์ เครือแตง. (2553). ผลการใชส้ ่อื ภาพยนตร์ เพ่ือพัฒนาทักษะการฟั งภาษาอังกฤษ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี 3. การศกึ ษาคน้ ควา้ อิสระ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. วรวทิ ย์ นิเทศศลิ ป์ (2551). ส่อื และนวัตกรรมการเรียนรู้ปทุมธานี สกายบุ๊กส์

วภิ า อุดมฉั นท์ (2544). การผลิตส่อื โทรทัศน์และวีดิทัศน์ กรุงเทพฯ: ศูนย์ หนั งสอื จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. วภิ า อิโน. (2551). การใชส้ ่อื ภาพยนตร์เพ่ือกระตุน้ แรงจูงใจในการเรียนภาษา อังกฤษ ของนั กเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี 3. การศกึ ษาคน้ ควา้ อิสระ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. สุววิ ัชรา มาตรโพธ์ (2554). การพัฒนาทักษะการฟั งและการฝึ กออกเสยี งภาษา อังกฤษโดยใชเ้ พลงคาราโอเกะ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี1.การศกึ ษาคน้ควา้ อิสระกศ.ม.มหาสารคาม:มหาวทิ ยาลยัมหา สารคาม. อัจจิมา ลีรตันชัย. (2542). รูปแบบการนาเสนอและความอยูร่ อดทางธุรกิจของ รายการภาษาอั งกฤษทางโทรทั ศน์ . วทิ ยานิพนธ์ นศ.ม. กรุงเทพฯ: สานั กพิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. สบื คน้ เพิม่ เติมไดจ้ าก  http://110.164.59.3/chomlearning/media/TH3.pdf นําเสนอโดย 1.น​ างสาว วรั มพร บุญเขตอุดร 108 2.น​ างสาว ธนั ชญาพร บูรณะเครือ. 123 3.น​ างสาว รั ตน์รินทร์กาญจน์ เจริญตามปั ญญา 105


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook