เทคนิคการจัด การเรียนการสอน จัดทำโดย นายร่มเย็น มีอินทร์ถา 63031040179 คณิตศาสตร์
การจัดการเรียนรู้แบบร่วม (COOPERATIVE LEARNING) การเรียนรู้ ร่ วมกัน ซึ่งเป็ นวิธีการจัดการเรียนการสอนรู ปแบบ หนึ่ง ที่เน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานเป็ นกลุ่มย่อย โดยมีสมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถที่แตกต่างกัน เพื่อเสริม สร้ างสมรรถภาพการเรียนรู้ ของแต่ละคน สนับสนุน ให้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จนบรรลุตามเป้ าหมายที่วางไว้ นอกจากนี้ ยังเป็ นการส่งเสริมการทำงานร่ วมกัน เป็ นหมู่คณะ หรือทีม ตามระบอบประชาธิปไตย และเป็ นการ พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ทำให้สามารถปรั บตัวอยู่กับผู้ อื่ น ไ ด้ อ ย่ า ง มี ค ว า ม สุ ข 1. คิดและคุยกัน(Think pairs share) , เพื่อนเรี ยน(partners) , ผลัดกันพูด(Say and Switch) 2. กิจกรรมโต๊ะกลม(Roundtable หรือ Round robin) 3. คู่ตรวจสอบ(Pairs Check) , ผุมสนทนา(Corner s) , ร่วมกันคิด(Numbered Heads together) 4. การสัพดาษนั้แบบสามขั้นตอน(Three step Interview) 5. การแข่งขันระหว่างกลุ่มด้วยเกม(Team Games Tournament ตรือ TGT) , การแบ่งกลุ่มสัมฤทธิ (Student Team Achievement Division หรือ STAD) 6. ปริศนาควา ม รู้(Jigsaw) 7. การสืบสอบเป็นกลุ่ม( Group Investigation) 8. การเรียนรู้เป็นกลุ่มเพื่อช่วยเหลือเพื่อนเป็นรายบ ุคคล(Team Assisted Individualization หรือTAI) 9. การเรียนรู้แบบร่วมผือพสมพสานการอ่านและการเขียน( cooperative Integrated Reading and Composition หรือ CIRC) เทคนิคทั้ง 9 ดังกล่าวข้างต้นนี้ ส่วนมากจะใช้ตลอดคาบการเรียนหรือตลอด กิจกรรมการเรียนในแต่ละคาบ เรียกการเรียนแบบร่วมมือประเภทนี้ว่า การเรียนแบบร่วมมืออย่างเป็นทางการ (Formal cooperative Learning) แต่ยังพีเทคนิคอื่น ๆ อีกจำนวนมากที่ไผ่จำเป็นต้องใช้ตลอดกิจกรรม การเรียนการสอนในแต่ละคาบ อาจใช้ในขั้นนำ สอดทรกในขั้นสอนตอนใด ๆ ก็ได้ หรือใช้ในขั้นสรุป หรือขั้น ทบทวน หรือขั้นวัดผล เรียกการเรียนแบบร่วมมือประเภทนี้ว่า การเรียนแบบร่วมผืออย่างไม่เป็นทางการ (Informal cooperative learning)
Project Method วิธีการสอนแบบโครงสร้าง หมายถึง การสอนที่ให้นักเรียนเป็นหมู่ หรือราย จุดมุ่งหมาย บุคคลได้วางโครงสร้างและดำเนินงาน 1.เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกที่จะรับ ให้สำเร็จตามโครงการนั้นนับว่าเป็นการ ผิดชอบในการทำงานต่าง ๆ สอนที่สอดคล้องกับสภาพชีวิตจริงเด็ก 2. เพื่อให้นักเรียนฝึกแก้ จะทำงานนี้ด้วยการตั้งปั ญหาดำเนิน ปั ญหาด้วยการใช้ความคิด การแก้ปั ญหาด้วยการลงมือทำจริง 3. เพื่อฝึกดำเนินงานตาม ความมุ่งหมายที่ตั้งไว้ ขึ้นตอนการสอน 1. ขึ้นกำหนดความมุ่งหมาย เป็นขั้นกำหนดความหมาย และลักษณะโครงการโดยตัวนักเรียนและครูจะเป็นผู้ ชี้แนะให้นักเรียนตั้งความมุ่งหมาย ของการเรียนว่าเรียนเพื่ออะไร 2. ขึ้นวางแผนหรือวางโครงการ เป็นขั้นที่มีคุณค่าต่อนักเรียนเป็นอย่างมาก คือนักเรียนจะช่วยกันวางแผนว่าทำอะไร จึงจะบรรลุถึงจุดมุ่งหมาย จะใช้วิธีการใดในการทำกิจกรรมแล้วจึงทำกิจกรรมที่ดี 3.ขึ้นดำ เนินการ เป็นขั้นลงมือกระทำกิจกรรมหรือลงมือแก้ปั ญหา นักเรียนเริ่มงานตามแผนด้วยการทำ กิจกรรมตามที่ตกลง แล้วครูค่อยส่งเสริมให้นักเรียนได้กระทำตามความมุ่งหมายที่ กำหนดไว้ นักเรียนตัดสินใจด้วยตนเองให้มากที่สุด และควรชี้แนะให้นักเรียนรู้จักวัดผล การทำงานเป็นระยะ ๆ เพื่อการทำกิจกรรมจะได้ลูล่วงไปด้วยดี 4.ขั้นประเมินผล ขึ้นประเมินผลหรืออาจเรียกว่าขั้นสอบสวนพิจารณานักเรียน ทำการประเมินผลว่ากิจกรรมหรือโครงสร้างที่ทำนั้นบรรลุ ตามความมุ่งหมายที่ตั้งไว้หรือไม่มีข้อบกพร่องอย่างไรและ ควรแก้ปั ญหาให้ดีขึ้นอย่างไร
วิ ธี ส อ น ที่ ค รู มี ห น้ า ที่ ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น เ ป็ น ส่ ว น ใ ห ญ่ ด้ ว ย ไ ห ม ก า ร แ ส ด ง ห รื อ ก า ร ก ร ะ ทำ ใ ห้ ดู เ ป็ น ตั ว อ ย่ า ง นั ก เ รี ย น จ ะ เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู้ จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต ก า ร ฟั ง ก า ร ก ร ะ ทำ ห รื อ ก า ร แ ส ด ง แ ล ะ อ า จ เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ นั ก เ รี ย น เ ข้ า ม า มี ส่ ว น ร่ ว ม ขั้นตอนการจัดกิจกรรม 1. กำหนดจุดมุ่งหมายของการสาธิตให้ชัดเจน และต้องสาธิตให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง 2. เตรียมอุปกรณ์ ในการสาธิตให้พร้อม และตรวจสอบความสมบูรณ์ของอุปกรณ์ 3. เตรียมกระบวนการสาธิต เช่น กำหนดเวลาและขั้นตอน จะเริ่มต้นดำเนินการ และจบลงอย่างไร ผู้สาธิตต้องเข้าใจในขั้นตอนต่าง ๆ เหล่านี้อยากละเอียดแจ่มแจ้ง 4. ทดลองสาธิตก่อนสอน ควรๆดลองสาธิตเพื่อตรวจสอบความพร้อมตลอดจนผล ที่จะเกิดขึ้นเพื่อป้องกันข้อผิดพลาดในเวลาสอน 5. ต้องจัดทำคู่มือคำแนะนำหรือข้อสังเกตในการสาธิต เพื่อที่นักเรียนจะใช้ประกอบ ในขณะที่มีการสาธิต 6. เมื่อสาธิตเสร็จสิ้นแล้ว นักเรียนควรได้ทำการสาธิตช้ำอีก เพื่อเน้นให้เกิดความ เข้าใจดีขึ้น 7. จัดเตรียมกิจกรรมหลังจากการสาธิตเพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าหรือประโยชน์ ของการสาธิตนั้น ๆ 8. ประเมินผลการสาธิต โดยพิจารณาจากพฤติกรรณของนักเรียนและผลการเรียนรู้ การประเมินผลควรมีกิจกรรมหรือเครื่องมือ เช่น การๆดสอบ การให้แสดงความ คิดเห็น หรือการอธิขายประกอบ
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงาน ความมุ่งหมายของวิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงาน ข้อสังเกตของวิธีการสอน 1 เพื่อให้นักเรียนมีความรับ ผิดชอบร่วมกันในการ 1.การปฏิบัติกิจกรรมในกลุ่ม ทำงาน ควรบฏิบัติตามหลักเกณฑ์ 2) เพื่อฝึกทักษะในการแก้ อย่างเคร่งครัด ปั ญหา การศึกษาคันคว้า 2.ถ้าเริ่มใช้วิธีการสอนแบบ เป็นกลุ่ม แบ่งกลุ่มทำงาน ครูควร 3) เพื่อสร้างวัฒนธรรมใน ดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิด การทำงานร่วมกันอย่างมี 3.หน้าที่การเป็นหัวหน้ากลุ่ม ระบบและมีระบบรู้จักทำ ควรหมุนเวียนสับเปลี่ยน หน้าที่ เพื่อฝึกการเป็นผู้นำ ข้อดี กระบวนการสอน วิธีการสอนแบบแบ่ง กลุ่มทำงาน 1.ครูและนักเรียนร่วมกันกำหนด 1. ผู้เรียนได้ฝึกการ จุดมุ่งหมายของการทำงานใน ทำงานเป็นกลุ่มฝึก แต่ละกลุ่มขั้นตอนนี้เป็นวิธีการ หน้าที่ ฝึกการเป็นผู้นำ ทำงานอย่างละเอียด ผู้ตามในกลุ่ม 2.ครูเสนอแนะแหล่งวิชาการที่ 2. ผู้เรียนได้แสดง จะใช้คันคว้าหาความรู้ไว้ ได้แก่ ความคิดเห็นของ บอกรายละเอียดของหนังสือที่ ตนเองอย่างเต็มที่ 3. ผู้เรียนได้ทำงาน ใช้ในการค้นคว้า สำเร็จได้ด้วยดีเพราะ 3.นักเรียนร่วมกันวางแผนและ ช่วยกันคิด ช่วยกันทำ ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
การจัดการสอนแบบ Active Learning คือ เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทาง ปั ญญา (Constructivism)ที่เนันกระบวนการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เนันผู้เรียน มีส่วนร่วมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือ สร้างความรู้ให้เกิดในตนเองด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือ กิจกรรมการเรียนรู้ที่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำกระตุ้นหรืออำนวยความ สะดวกให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้น ตัวอย่างวิธีการสอนที่เน้นการเรียน แบบActive Learning 1. แบบระดมสมอง ลักษณะของกรเรียนแบบ Active 2. แบบเน้นปั ญหา/โครงงาน/กรณีศึกษา Learning 3. แบบแสดงบทบาทสมมุติ 4. แบบแลกเปลี่ยนความคิด 5. แบบสะท้อนความคิด 6. แบบตั้งคาถาม 7. แบบใช้เกม 1. เป็นการพัฒนาศักยภาพการคิด การแก้ปั ญหา และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ 2.ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดระบบการเรียนรู้ และสร้างองค์ความรู้โดยมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ในรูปแบบของความร่วมมือมากกว่าการแข่งขัน 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด 4. เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสารสารสนเทศสู่ทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่า 5. ผู้เรียนได้เรียนรู้ความมีวินัยในการทางานร่วมกับผู้อื่น 6. ความรู้เกิดจากประสบการณ์และการสรุปของผู้เรียน 7. ผู้สอนเป็นผู้อำนวยความสะดวก ในการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้บฏิบัติด้วยตนเอง
เทคนิคการสอนโดยเกม คือ เป็นกระบวนการจัดกานเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปั ญญา (Constructivism ) ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชาเน้นผู้เรียน มี ส่วนร่วมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเขื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดใน ตนเองด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีครูผู้สอนเป็น ผู้แนะนำกระตุ้นหรืออำนวยความสะดวกให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้น ตัวอย่างวิธีการสอนที่เน้นการเรียน แบบ Active Lesrning ลักษณะของกรเรียนแบบ 1. แบบระดมสมอง Active Learning 2.แบบเน้นปั ญหา/โครงงาน/กรณีศึกษา 3. แบบแสดงบทบาทสมมุติ 4. แบบแลกเปลี่ยนความคิด 5. แบบสะท้อนความคิด 6. แบบตั้งคำถาม 7. แบบใช้เกม 1. เป็นการพัฒนาศักยภาพการคิด การแก้ปั ญหา และการนำ ความรู้ไปประยุกต์ใช้ 2. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดระบบการเรียนรู้ และสร้างองค์ ความรู้โดยมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันในรูปแบบของความ ร่วมมือมากกว่าการแข่งขัน 3. เปิดโอกาลให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด 4. เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศสู่ทักษะการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์และประเมินค่า 5. ผู้เรียนได้เรียนรู้ความมีวินัยในการทางานร่วมกับผู้อื่น 6. ความรู้เกิดจากประสบการณ์และการสรุปของผู้เรียน 7. ผู้สอนเป็นผู้อานวยความสะดวก ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้บฏิบัติด้วยตนเอง
เทคนิคการสอนโดยเกม วิธีสอนโดยใช้เกม คือ กระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วย ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด โดยการให้ผู้เรียน เล่นเกมตามกติกา และนำเนื้อหาและข้อมูลของเกม พฤติกรรมการเล่น องค์ประกอบของวิธีสอนโดยใช้เกม วิธีการเล่น และผลการเล่นเกมของผู้เรียนมาใช้ในการอภิบรายเพื่อ 1. มีผู้สอนและผู้เรียน สรุปการเรียนรู้ 2. มีเกม และกติกาการเล่น 3. มีการเล่นเกมตามกติกา ข้อจำกัด 4. มีการอภิบรายเกี่ยวกับผลการเล่น 1) เป็นวิธีสอนที่ใช้เวลามาก วิธีการเล่น และพฤติกรรมการเล่น 2) เป็นวิธีสอนที่มีค่าใช้จ่าย ของผู้เล่นหลังการเล่น 3) เป็นวิธีสอนที่ขึ้นกับความสามารถของผู้ ร. มีผลการเรียนรู้ของผู้เรียน สอน ผู้สอนจำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการสร้างเกม จึงจะสามารถสร้างได้ 4) เป็นวิธีสอนที่ต้องอาศัยการเตรียมการมาก ข้อดีและข้อจำกัดของวิธีสอนโดยใช้เกม 1) เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ขั้นตอนการจัดกิจกรรม ข้อจำกัด 1.ผู้สอนนำเสนอเกม ชี้แจงวิธีการเล่น และกติกาการเล่น 1) เป็นวิธีสอนที่ใช้เวลามาก เกม เกมที่ได้ รับการออกแบบให้เป็นเกมการศึกษาโดยตรงมีอยู่ด้วยกัน ในการเรียนรู้สูง ผู้เรียนได้รับความ 3 ประเภท 2) เป็นวิธีสอนที่มีค่าใช้จ่าย คือ 1) เกมแบบไม่มีการแข่งขัน สนุกสนาน และเกิดการเรียนรู้จากการเล่น 2) เกมแบบแข่งขัน 3) เป็นวิธีสอนที่ขึ้นกับความสามารถ 3) เกมจำลองสถานการณ์ 2) เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ การเลือกเกมเพื่อนำมาใช้สอนทำได้หลายวิธีผู้สอน อาจ เป็นผู้สร้างเกมขึ้นหรืออาจนำเกมที่มีผู้สร้างขึ้นแล้วมาปรับ ของผู้สอน ผู้สอนจำเป็นต้องมี ดัดแปลง ให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ และควรชี้แจง โดยการเห็นประจักษ์แจ้งด้วยตนเองทำให้ กติกาการเล่นให้ ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ 2.ผู้เรียนเล่นเกมตามกติกา ผู้สอนควรติดตามสังเกต การเรียนรู้นั้นมีความหมายและอยู่คงทน พฤติกรรมการเล่นเกมของผู้เรียนอย่างใกล้ชิด และควร บันทึกข้อมูลที่จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนของผู้เรียน สร้างเกม จึงจะสามารถสร้างได้ 3.ผู้สอนและผู้เรียนอภิบรายผลควรอภิบรายผล เกี่ยวกับ 3) เป็นวิธีสอนที่ผู้สอนไม่เหนื่อยแรงมาก ผลการเล่น และวิธีหรือพฤติกรรมการเล่นเกมของผู้เรียน ที่ได้จากการสังเกต จดบันทึกไว้และในการอภิบรายผล 4) เป็นวิธีสอนที่ต้องอาศัย ขณะสอนและผู้เรียนชอบ การเตรียมการมาก ควรให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
Brainstorming วิ ธี ส อ น แ บ บ ร ะ ด ม ส ม อ ง หมายถึง วิธีสอนที่ใช้ในการอภิปรายโดยทันที ไม่มีใครกระตุ้น กลุ่มผู้เรียนเพื่อ หาคำตอบหรือทางเลือกสำหรับปั ญหาที่กำหนดอย่างรวดเร็ว ในระยะเวลาสิ้น โดยในขณะนั้นจะไม่มีการตัดสินว่า คำตอบหรือทางเลือกใดดีหรือไม่อย่างไร ลักษณะสำคัญ คือการที่ให้ผู้เรียนแบ่งเป็นกลุ่มเล็กๆ ช่วยกันคิดหาคำตอบหรือทางเลือกสำหรับปั ญหา ที่กำหนดให้มากที่สุดและรวดเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้แล้ว ช่วยกันพิจารณาเลือกทาง เลือกที่ดีที่สุดซึ่งอาจมีมากกว่าหนึ่ง ข้อดี ข้อเสีย 1 ฝึกกระบวนการแก้ปัญหาและมีคุณค่ามาก 1.ประเมินผลผู้เรียนแต่ละคนได้ยาก 2. อาจมีนักเรียนส่วนน้อยเพียงไม่กี่คนครอบ ที่จะใช้เพื่อแก้ปัญหาหนึ่ง 2. ก่อให้เกิดแรงจูงใจในตัวผู้เรียนสูงและ ครองการอภิปรายส่วนใหญ่ 3. เสียงมักจะดังรบกวนห้องเรียนข้างเคียง ฝึกการยอมรับความเห็นที่แตกต่างกัน 4. ถ้าพูดจดบันทึกทำงานได้ช้า การคิดอย่างอิสระ 3.ได้คำตอบหรือทางเลือกได้มาก ก็ช้าและจำกัดตามไปด้วย ภายในเวลาอันสั้น 5. หัวเรื่องต้องชัดเจนรัดกุม และมีประธานที่มี 4.ส่งเสริมการร่วมมือกัน ความสามารถในการดำเนินงาน และสรุปการ 5. ประหยึดค่าใช้จ่ายและการจัดหาสื่อ อภิปรายทั้งในกลุ่มย่อยและรวมทั้งชั้น เพิ่มเติมอื่นๆ ขึ้นตอนในการระดมสมอง 1. กำหนดปัญหา 2. แบ่งกลุ่มผู้เรียน และอาจเลือกประธานหรือเลขาเพื่อช่วยในการอภิปรายและบันทึก 3. สมาชิกทุกคนในกลุ่มช่วยกันคิดหาคำตอบ หรือทางเลือกสำหรับปัญหาที่กำหนดให้มากที่สุดภายในเวลา ที่กำหนดโดยปัญหาของแต่ละกลุ่มอาจเป็นปัญหาเดียวกันหรือต่างกันก็ได้ 4. คัดเลือกเฉพาะทางเลือกที่น่าจะเป็นไปได้หรือเหมาะสมที่สุด 5. แต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานของตนเอง (ข้อ 4 และ 5 อาจสลับกันได้) 6. อภิปรายและสรุป
TEACHING METHOD วิธีการสอนแบบปฏิบัติการณ์หรือการทดลองเป็นวิธีการ สอนที่ครูเบิดโอกาลให้นักเรียนลงมือบฏิบัติหรือทำการ ทดลองคันหาความรู้ด้วยตนเองทำให้เกิดประสบการณ์ ความมุ่งหมายของวิธีการสอนแบบ บฏิบัติการณ์หรือการทดลอง วิธีการสอนแบบบฏิบัติหรือการทดลอง 1) เพื่อให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ หรือ ข้อดี ทดลองคันคว้าด้วยตัวเอง - ผู้เรียนได้เรียนรู้จากบระสบการณ์ตรง 2) เพื่อส่งเสริมการใช้ประสบการณ์ตรง ของการปฏิบัติและทดลอง ในการแก้ปัญหา - เป็นการเรียนรู้จากการกระทำหรือการ 3) เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าแทน เรียนรู้จากสภาพจริง การจดจำจากตำรา - เป็นการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจำวันได้ ขั้นตอนของวิธีการสอน ข้อสังเกตวิธีการสอน - ขั้นตอนกล่าวนำ 1.ผู้เรียนทุกคนต้องมีโอกาสใช้เครื่องมือ - ขั้นตอนเตรียมดำเนินการ และอุปกรณ์ - ขั้นตอนเสนอผลการทดลอง 2) ต้องมีการควบคุมความปลอดภัย - ขั้นตอนอภิบรายและสรุปผล 3) ต้องกำหนดสัดส่วนจำนวนนักเรียน ต่อพื้นที่ที่ปฏิบัติกระบวนการสอน
เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ เป็นรูปแบบการเรียนที่พานักเรียนไปสู่การพิจารณาข้อ โต้แย้งและข้อสงสัยต่างๆ ซึ่ง จะก่อให้เกิดประเด็นคำถามที่ต้องการสำรวจตรจสอบ และจะเป็นกระบวนการเช่นนี้ ต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ จนเรียกได้ว่าเป็นวัฏจักธการสืบเสาะ (Inquiry cycle) ซึ่งจะ ช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และมีทักษะในการหาความรู้ตามหลักวิทยาศาสตร์ ซึ่ง การเรียนแบบสืบเสาะหาควาพรู้ทั้ง 5 ขั้นตอนนั้น มีขั้นตอนในการดำเนินการดังนี้ 1. การสร้างความสนใจ (Engagement) โดยผู้สอนควรสร้างความสนใจ สร้างความอยากรู้อยากเห็นมีการตั้งคำถามกระตุ้นให้ผู้เรียนคิด ดึงเอาคำ ตอบที่ยังไม่ครอบคลุมสิ่งที่ผู้เรียนรู้หรือแนคิดหรือเนื้อหา 2. การสำรวจและค้นหา (Exploration) ส่งเสริมให้ผู้เรียนทำงานร่วมกัน การสำรวจ ตรวจสอบ สังเกต และฟั งการ โต้ตอบกันระหว่างผู้เรียนกับผู้ เรียน ทำการชักถามเพื่อนำไปสู่การสำรวจตรวจสอบของผู้เรียน และให้ เวลาผู้เรียนในการคิดข้อสงสัยตลอดจนปั ญหาต่าง ๆ และทำหน้าที่ให้คำ ปรึกษาแก่ผู้เรียน 3. การอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) โดยผู้สอนส่งเสริมให้ผู้เรียน อธิบายแนวคิด หรือให้คำจำกัดความ ด้วยคำพูดของผู้เรียนเอง ให้ผู้เรียน แสดงหลักฐาน ให้เหตุผล และอธิบายให้กระจ่างให้ผู้เรียนอธิบาย ให้คำ จำกัดความและ ขี้บอกส่วนต่าง ๆ ในแพนดาพให้ผู้เรียนใช้ประสบการณ์ เดิมของตนเป็นพื้นฐานในการอธิบายแนวคิด 4.การขยายความรู้ (Elaboration) โดยผู้สอนคาดหวังให้ผู้เรียนได้ใช้ ประโยชน์ จากการชี้บอกส่วนประกอบต่าง ๆ ในแผนภาพคำจำกัดความและ อธิบายสิ่งที่เรียนรู้พาแล้ว ส่งเสริมให้ผู้เรียนนำสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ไป ประยุกต์ให้หรือ ขยายความรู้และทักษะในสถานการณ์ใหม่ ให้ผู้เรียน อธิบายอย่างมีความหมาย ให้ผู้เรียนอ้างอิงข้อมูลที่มีอยู่พร้อมทั้งแสดง หลัก ฐานและถามคำถามผู้เรียน ว่าได้เรียนรู้อะไรบ้าง หรือได้แนวคิดอะไร 5. การประเมินผล (Evaluation) โดยผู้สอนสังเกตผู้เรียนในการ นำ แนวคิดและทักษะใหม่ ไประยุกต์ใช้ประเมิน ความรู้และทักษะผู้เรียนหา หลักฐานที่แสดงว่าผู้เรียนเปลี่ยนความคิดหรือพฤติกรรม ให้ผู้เรียนประเมิน การเรียนรู้ และทักษะกระบวนการกลุ่ม ถามคำถามปลายเปิด เช่น ทำไมผู้ เรียนจึงคิดเช่นนั้น
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: