Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พฤติกรรมนิยม

พฤติกรรมนิยม

Published by chaiwat1990na, 2021-07-13 00:02:17

Description: พฤติกรรมนิยม

Search

Read the Text Version

กลุม่ พฤตกิ รรมนิยม (Behaviourism) กลมุ่ พฤตกิ รรมนยิ ม (Behaviorism) กลุ่มน้ีแยกตัวมาจากกลุม่ Functionalism แนวโน้ม ของกลุ่มนี้เห็นจะเปลี่ยน จาก เรื่องจติ มาเปน็ เรือ่ งของพฤตกิ รรมล้วนๆ โดยเหน็ ว่าพฤตกิ รรมท่ีปรากฏและ สามารถสงั เกตไดเ้ ทา่ นน้ั เป็นเรื่องสาคัญ ท่ีควรศึกษา ในจิตวทิ ยา ผู้นาของกลุ่มคือ จอห์น บี.วัตสัน (John B. Watson,1878 - 1958)ท่ีมีความคิดค้านกับแนวความคิด ของกลุ่มศึกษา พฤติกรรมมนษุ ย์ดว้ ย สิง่ ที่สงั เกตและมองเห็นได้ นั่นก็คือ พฤติกรรมหลักของกลุ่มน้ี คือ พฤติกรรมเกิดข้ึนจากความสัมพันธ์ของ สงิ่ เร้าและการตอบสนอง การศึกษาส่งิ เร้า และการตอบ สนองจะชว่ ยใหเ้ ข้าใจพฤตกิ รรมได้ จอหน์ บี.วติ สัน (John B. Watson,1878 - 1958) สิง่ เร้า สงิ่ เรา้ (ภาษาจติ วทิ ยาใช้คาวา่ Stimulus) สิ่งเรา้ คือสิ่งทมี่ ากระต้นุ ใหร้ ่างกายมปี ฏกิ ิริยาตอบสนองเกดิ เป็น พฤติกรรมขึน้ หรือ หมายถงึ สงิ่ ที่เกดิ ข้ึนกอ่ นหน้า ตัวอย่างเช่น เหน็ คนกาลงั กนิ สม้ ตา หรอื มะมว่ งน้าปลาหวาน หรอื กินสม้ แลว้ น้าลายไหลในท่ีน้ี ส้มตา หรือ มะมว่ งน้าปลาหวาน หรือ สม้ กระตนุ้ ใหร้ ่างกายเกิดปฏิกิริยาน้าลายไหลเปน็ พฤติกรรมท่เี กดิ ข้นึ ภายหลังจากที่ไดเ้ หน็ เรียกได้ว่า ส้มตา หรือ มะม่วงนา้ ปลาหวาน หรอื สม้ เป็น Stimulus การตอบสนอง การตอบสนอง (ภาษาจิตวทิ ยาใช้คาวา่ Response) การตอบสนอง คือ ปฏิกิรยิ าท่ีเกดิ ขนึ้ โดยสงิ่ กระตนุ้ ตัวอย่างเช่น กรณขี ้างต้น นา้ ลายไหลเกิดขึน้ จากการที่ไดเ้ ห็น ตวั กระตนุ้ คือ ส้มตา หรอื มะม่วงนา้ ปลาหวาน หรอื สม้ เพราะฉะนนั้ เรียกได้ว่าน้าลายไหล เปน็ Response ของกรณนี ้ี อารี รังสินันท์ กล่าววา่ แนวคดิ ของกลมุ่ พฤตกิ รรมนิยมเนน้ ว่าพฤติกรรมทกุ อยา่ งตอ้ งมีสาเหตุและสาเหตุนั้นอาจมาจาก ส่งิ เรา้ ในรปู ใดก็ไดม้ ากระทบอนิ ทรียท์ าให้อนิ ทรีย์มีพฤตกิ รรมตอบสนอง กลมุ่ พฤตกิ รรม นิยม จึงศึกษาพฤติกรรม ด้วยวิธีทดลอง และสงั เกตอยา่ งมีระบบ สรุป การวางเงื่อนไข (conditioning) เป็นสาเหตุ สาคัญท่ีทาให้เกิดพฤติกรรมและสามารถเปล่ียนพฤติกรรมได้ พฤติกรรมส่วนใหญ่ของมนุษย์ เกิดได้จากการเรียนรู้มากกว่า เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและจากการศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ ของสตั ว์ที่ถูกทดลอง สามารถชว่ ยให้เราเกดิ ความเข้าใจ และเรียนรู้เกย่ี วกบั พฤตกิ รรมของบุคคล กลุ่มนี้ใช้วิธีการศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ด้วยวิธีการทดลองกับวิธีการ สังเกตอย่างมีแบบแผน พาฟ- ลอฟ เชื่อว่า การ เรยี นร้ขู องส่ิงมชี วี ติ เกดิ จากการวางเงื่อนไข(Conditioning) พาฟลอฟ เช่ือว่า การเรียนรู้ของส่ิงมีชีวิตเกิดจากการวางเงื่อนไข(Conditioning) กล่าวคือ< การตอบสนองหรือการ เรียนรู้ท่ีเกิดขึ้นต่อส่ิงเร้าน้ัน ๆ ต้องมีเงื่อนไขหรือมีการสร้างสถานการณ์ให้เกิดขึ้น ซ่ึงในธรรมชาติหรือในชีวิตประจาวันจะไม่ ตอบสนองเช่นน้ันเลย เช่น คนได้ยินเสียงไซเรน จะคิดถึงไฟไหม้ เป็นต้น เสียงไซเรน เป็นสิ่งเร้า พาฟลอฟเรียกว่า ส่ิงเร้าท่ีวาง

2 เงื่อนไข(Conditioned stimulus) และการคิดถึงไฟไหม้ เป็นการตอบสนอง ท่ีเรียกว่าการตอบสนองท่ีถูกวางเง่ือนไข (Conditioned response) ซึ่งเป็นพฤติกรรมแสดงถึงการเรียนรู้จากการวางเงือ่ นไข Ivan Petrovich Pavlov ชาวรัสเซีย มีอายุอยูร่ ะหว่าง ค.ศ.1849 - 1936 ถึงแกก่ รรมเมือ่ อายุ 87 ปี การทดลองของพาฟลอฟ จุดเรม่ิ ตน้ ของการทดลอง เกดิ จากการท่พี าฟลอฟสงั เกตเห็นวา่ สนุ ัขท่เี ขาเลี้ยงไว้มักมีอาการ น้าลายไหลทุกครั้งท่ีเขาเอา ผงเนอื้ ไปให้กนิ และบางครงั้ เขาเดนิ มา สุนขั ได้ยินเสยี งเดนิ ของเขา ก็จะมีอาการ น้าลายไหลท้ัง ๆ ที่ยังไม่ได้เห็นอาหาร ทาให้เขา คิดว่า อาการน้าลายไหลของสุนัขนั้น น่าจะเป็นพฤติกรรม การเรียนรู้อย่างหน่ึง ท่ีต่อเนื่องกันระหว่างผงเนื้อกับเสียงคนเดิน เน่ืองจากพาฟลอฟ เป็นนักสรีรวิทยา เขาจึงเห็นว่า อาการน้าลายไหลเป็นปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex action) ท่ีเกิดจากการ ทางานของระบบประสาท อัตโนมตั ินัน้ ก็เกดิ เป็นปฏกิ ริ ยิ าการเรยี นรูอ้ ยา่ งหนง่ึ ได้ เขาจงึ เรมิ่ ทดลอง โดยการผ่าตัดง่าย ๆ ข้างกระพุ้งแก้มของสุนัขเพื่อเปิดท่อของต่อมน้าลายให้ กว้างออก และเจาะเป็น ท่อไหลลงในภาชนะท่ีมีเครื่องหมายสาหรับตวงปริมาณของน้าลายได้เขาตั้ง จุดประสงค์ไว้ว่า สุนัขต้องมีอาการน้าลายไหลจาก การไดย้ ินเสยี งจากการเคาะส้อมเสยี (ตาราสว่ นใหญ่ บอกว่าใชเ้ สยี งกระด่งิ แต่ในวิดีโอ เขาใช้ส้อมเสียง ก็เกรงว่าจะขัดแย้งกัน ดังนั้น ขอให้เข้าใจว่ามีการส่ง เสียง กอ่ นทจ่ี ะใหอ้ าหารแก่สนุ ขั กแ็ ล้วกัน) การทดลองของ พาฟลอฟ การทดลองแบ่งเป็น 3 ข้ันตอน คือ ขนั้ กอ่ นวางเง่ือนไข ขน้ั วางเงือ่ นไขและข้ันการเรยี นรู้จากการ วางเง่อื นไข

3 ข้ันที่ 1 ข้ันก่อนวางเงื่อนไข เป็นขั้นท่ีศึกษาภูมิหลังของสุนัขก่อนการเรียนรู้จากการวางเงื่อนไข ว่าภูมิหลังหรือ พฤติกรรมก่อนการเรียนรู้เป็นอย่างไร เขาศึกษาพบว่า สุนัขจะแสดงอาการส่ายหัวและกระดิกหาง เมื่อได้ยินเสียงกระด่ิง แต่จะ แสดง อาการน้าลายไหลเมอื่ ได้เหน็ ผงเนื้อบด ซ่ึงแสดงไดด้ งั สมการ เสยี งกระดิง่ (UCS) ส่ายหัวและกระดกิ หาง (UCR) ผงเนอ้ื บด (UCS) น้าลายไหล (UCR) จากการศึกษาภูมิหลังทาให้ทราบว่า พฤติกรรมก่อนการเรียนรู้คร้ังน้ี สุนัขไม่ได้แสดงอาการน้าลายไหลเม่ือได้ยินเสียง กระด่งิ จะต้องใชผ้ งเนือ้ บดเข้าช่วย โดยการจบั คูก่ ันจึงทาให้สนุ ขั น้าลายไหลได้ ขนั้ ที่ 2 ขั้นวางเง่ือนไข เปน็ ขั้นท่ีใส่กระบวนการเรยี นรู้ โดยการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกเข้าไป เพอ่ื ให้เกิดการเรยี นรู้ เขาไดส้ ่นั กระดง่ิ (หรือเป็นการเคาะส้อมเสยี ง) ก่อน จากน้ันกร็ ีบพ่นผงเน้ือบด เขา้ ปากสุนขั ในเวลาต่อมาอย่างรวดเรว็ ทาอย่างน้ี ซา้ ๆ หลาย ๆ ครัง้ เพ่ือใหส้ ุนัขเกิดการเรยี นรู้ ซง่ึ แสดงสมการได้ดงั น้ี เสียงกระดิ่ง (CS) + ผงเนือ้ บด (UCS) นา้ ลายไหล (UCR) ในการวางเง่ือนไขนี้ ใช้เสียงกระดิ่ง (หรือส้อมเสียง) เป็นสิ่งเร้าที่วางเง่ือนไข (CS) และใช้ผงเนื้อบดเป็นสิ่งเร้าที่ไม่วาง เงื่อนไข (UCS)และอาการน้าลายไหลในขณะวางเงื่อนไขนี้ ยังอาจเป็นการตอบสนองที่ไม่ได้วางเง่ือนไข (UCR) เพราะสุนัข อาจจะนา้ ลายไหลจากผงเน้อื บดมากกว่าเสยี งกระด่ิง ข้นั ท่ี 3 ข้นั การเรียนรจู้ ากการวางเงื่อนไข เปน็ ขั้นท่ที ดสอบวา่ สนุ ขั เรียนรหู้ รือยงั ในวิธกี าร วางเง่อื นไขแบบคลาสสิกน้ี โดยการตัดสงิ่ เร้าที่ไมว่ างเง่ือนไข (UCS) ออก คือผงเนื้อบด ให้เหลือแตเ่ พียงส่งิ เรา้ ทว่ี างเงื่อนไข (CS) คอื เสยี งกระด่งิ ถา้ สนุ ัขยังนา้ ลายไหลอยู่ แสดงวา่ สุนขั เกิดการเรียนร้จู ากการวางเง่ือนไข (CR) นั่นเอง ดงั แสดงไดจ้ ากสมการ เสยี งกระดง่ิ (CS) นา้ ลายไหล (CR) จุดประสงค์ไว้ คือสามารถทาให้สุนขั น้าลายไหล เมอ่ื ไดย้ นิ เสียงกระด่งิ ได้ ซง่ึ เป็นการแกข้ ้อสงสัยทีว่ ่า ทาไมสนุ ัขจึง น้าลายไหล เมื่อไดย้ นิ เสียงฝเี ท้าของคนให้อาหาร ทั้งน้ีกเ็ พราะสุนขั มกี ารตอบสนองเชอื่ มโยง จากอาหารไปส่เู สยี งฝีเท้า โดยท่ี อาหารเปน็ สง่ิ เร้าท่ีไม่ได้วางเง่ือนไข (UCS) และเสียงฝเี ท้าเป็นสิ่งเรา้ ทวี่ างเงื่อนไข (CCS) ซงึ่ แสดงได้ดังสมการ จากผลการทดลองน้ี เปน็ ข้อยืนยนั ใหเ้ ห็นจรงิ ว่า การแสดงปฏกิ ิรยิ าสะท้อนตา่ ง ๆน้ัน อาจใชใ้ นการเรียนรู้ โดยวาง เงื่อนไขแบบคลาสสิกได้ ปรัชญา พฤติกรรมนยิ ม (Behaviourism) โดย Ivan Petrovich Pavlov , Burrhus Frederic Skinner, กลุ่มพฤตกิ รรมนิยม (BEHAVIORISM) ผูน้ าคนสาคัญคือ JOHN B. WATSON (ค.ศ.๑๘๗๘ - ๑๙๕๘) กลุ่มน้ีมีความเห็น วา่ นกั จติ วทิ ยาต้องสามารถเสนอข้อมลู ตา่ ง ๆ เก่ียวกับการค้นคว้าทดลองให้ปรากฏแก่สายตาของผู้ที่สนใจได้ ดังน้ันจึงควรศึกษา เฉพาะพฤตกิ รรมเพราะพิสูจน์และทดลองไดท้ ุกแงท่ ุกมมุ กลุ่มนถ้ี ือว่าพฤติกรรมทัง้ หลายเป็นความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงเร้าและการ ตอบสนอง แล้วสรุปเป็นทฤษฎีว่าการตอบสนอง คือ พยายามท่ีจะศึกษาว่าเม่ือมีสิ่งเร้าชนิดต่าง ๆ ไปกระตุ้นร่างกายแล้ว ร่างกายจะตอบสนองทกุ อย่างของอินทรยี จ์ ะต้องเกิดจากส่ิงเร้า ทงั้ พฤติกรรมที่สังเกตเห็นได้และไมไ่ ด้ (เชน่ การคดิ การฝัน)

4 วัตสันมีความเช่ือว่าพฤติกรรมเป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนสามารถสังเกตเห็นทดลองวัดและวิเคราะห์ได้พฤติกรรม เกิดขน้ึ ได้จากอนิ ทรยี ม์ กี ารตอบสนองต่อสิ่งเร้าความสัมพนั ธ์ของสิ่งเรา้ และการตอบสนองทาให้อนิ ทรีย์ แสดงพฤติกรรม คาสงั่ มุ่งเน้นที่พฤติกรรมการ การเรยี นรู้ทปี่ ราศจากการอ้างองิ ถึงกระบวนการตา่ ง ๆ สง่ิ เรา้ ตอบสนองของการกระทาของ ทางความคิด (mental processes) รา่ งกายแสดงออกมาเพื่อเปน็ เปา้ หมายมงุ่ ท่กี ารสงั เกตพฤติกรรมและทาอย่างไรทจ่ี ะ การยืนยนั หรอื ยอมรับในสิ่งเร้า ปรบั ปรุงองค์ประกอบของสภาพแวดล้อมเสียมากกว่า ในเวลาชว่ งสั้นๆ การท่ีผูเ้ รียนถูกจดั ใหอ้ ยู่ในสภาพของการ ปรับตัวให้เข้า กบั สภาพแวดลอ้ มทจี่ ัดใหแ้ ละการเรียนรู้ดูเหมือนวา่ ส่วน ใหญเ่ ป็นกระบวนการท่ีถกู จดั กระทาข้นึ (โดยครหู รอื บคุ คล อนื่ ๆ) ในขณะท่นี ้ีคือส่ิงบง่ ช้ีทเ่ี ห็นได้ชดั เจนอยแู่ ลว้ ว่าการกระทาเชน่ น้ไี ม่ไดใ้ ห้ความสนใจกบั กระบวนการ ทางความคิดของผเู้ รยี นเท่าใดนัก ผู้เรยี นตอ้ งตอบสนอง “คาส่งั ” จากสง่ิ แวดล้อมหรือเงอื่ นไขที่กาหนดใหเ้ ท่าน้นั และสงิ่ ที่สาคัญคือ องคค์ วามรู้เปน็ สงิ่ ท่ถี ูกมอบใหแ้ ละเป็น องค์ความรทู้ ีส่ มบูรณ์แบบ (absolute) ซง่ึ เป็นองค์ความรู้ ทถี่ ูกจดั เตรยี มจดั หา หรอื กาหนดใหอ้ ย่างตายตัว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook