ภยั แล้ง ความหมายของภยั แล้ง ภัยแล้ง คือ ความแห้งแลง้ (Dryness) ลกั ษณะภูมิอากาศท่ีมีฝนนอ้ ยกวา่ ปกติหรือฝนไม่ตกตอ้ งตาม ฤดูกาลเป็ นระยะเวลานานกวา่ ปกติ และครอบคลุมพ้ืนที่บริเวณกวา้ ง ทาให้เกิดการขาดแคลนน้าในพ้ืนท่ีใด พ้ืนท่ีหน่ึงเป็ นเวลานาน ๆ ความแห้งแลง้ เป็ นภยั ธรรมชาติประเภทหน่ึงที่เกิดข้ึนเป็ นประจาทุกปี ในภูมิภาค ต่าง ๆ ของโลก ความหมายของฝนแล้ง ฝนทงิ้ ช่วง ฝนแล้ง หมายถึง ความแห้งแลง้ ของลมฟ้ าอากาศอันเกิดจากการท่ีฝนนอ้ ยกวา่ ปกติไม่เพียงพอต่อ ความตอ้ งการหรือฝนไม่ตกตอ้ งตามฤดูกาลทาให้เกิดการขาดแคลนน้าใช้และพืชต่าง ๆ ขาดน้าหล่อเล้ียง ขาดความชุ่มช้ืน ทาให้พืชผลไม่สมบูรณ์และไม่เจริญเติบโต ไม่ให้ผลตามปกติเกิดความเสียหายและเกิด ความอดอยากขาดแคลนไปทว่ั ความรุนแรงของฝนแล้งข้ึนอยู่กับความช้ืนในอากาศ ความช้ืนในดิน ระยะเวลาที่เกิดความแห้งแลง้ และความกวา้ งใหญ่ของพ้ืนที่ท่ีมีความแห้งแล้งฝนแล้งที่ก่อให้เกิดความ เสียหายอยา่ งมาก ไดแ้ ก่ ฝนแลง้ ท่ีเกิดในช่วงฤดูฝนโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ช่วงฝนทิ้งช่วงที่ยาวนานระหวา่ งเดือน มิถุนายนต่อเน่ืองเดือนกรกฎาคมทาใหพ้ ชื ไร่ตา่ ง ๆ ที่ทาการเพาะปลูกไปแลว้ ขาดนา้ และไดร้ ับความเสียหาย พ้ืนที่ท่ีได้รับผลกระทบจากฝนแลง้ ไดแ้ ก่ บริเวณภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนกลางเพราะเป็ นบริเวณท่ี อิทธิพลของลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงใตเ้ ขา้ ไปไม่ถึงและปี ใดไม่มีพายุเคล่ือนท่ีผ่านในแนวดงั กล่าวแล้ว จะก่อใหเ้ กิดฝนแลง้ ที่มีความรุนแรงมาก ฝนทิ้งช่วง หมายถึง ช่วงท่ีมีปริมาณฝนตกไม่ถึง 1 มิลลิเมตรติดต่อกันเกิน 15 วนั ในช่วงฤดูฝน เดือนที่มีโอกาสเกิดฝนทิ้งช่วงสูงคือ เดือนมิถุนายน และเดือนกรกฎาคม เป็ นสาเหตุสาคญั ในการเกิดไฟป่ า เพราะความแห้งแล้งของลมฟ้ าอากาศ ทาให้ฝนมีปริมาณน้อยกว่าปกติและฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ผลท่ีตามมาคือ การขาดแคลนน้า
ลกั ษณะการเกดิ ภยั แล้ง จากสภาพฝนแล้งและฝนทิ้งช่วง จะเป็ นสาเหตุสาคญั ให้เกิดภยั แล้ง ความแห้งแล้งของสภาพ ภมู ิอากาศ ภูมิประเทศ จะทาใหเ้ กิดไฟไหมป้ ่ าหรือสภาพดินแหง้ แตกระแหงได้ สาเหตุและปัจจัยการเกดิ ภัยแล้ง ปัจจยั ที่ทาให้เกิดภยั แลง้ เกิดข้ึนจากสาเหตุหลายประการ ท้งั ท่ีเกิดข้ึนเองโดยธรรมชาติและจากการ กระทาของมนุษย์ โดยธรรมชาติการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลกคือ บรรยากาศของโลก เป็ นส่ิงที่เคลื่อนไหว อยู่ตลอดเวลา (Dynamic) ภูมิอากาศของโลกจึงมีการเปล่ียนแปลงเป็ นช่วงเวลาส้ันบา้ งยาวบา้ ง ข้ึนอยู่กบั ปัจจยั สาเหตุนานาประการ ตวั อยา่ งเช่น การระเบิดของภูเขาไฟทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพียงช่วงเดือนหรือปี การพุง่ ชนของอุกาบาตรทาใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงหลายสิบปี การเพ่ิมข้ึนของมลภาวะ ทางอากาศก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงนบั ศตวรรษการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้าในมหาสมุทรและขนาด ของแผน่ น้าแขง็ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของวงโคจรโลก การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ คือการเปล่ียนแปลงการกระจาย ทางสถิติของรูปแบบสภาพอากาศ เม่ือสภาพอากาศเฉล่ียหรือความแปรผนั ของเวลาของสภาพอากาศเกี่ยวกบั ภาวะเฉล่ียท่ีกินเวลานานหลายสิบปี ถึงหลายลา้ นปี อาจมีการเปล่ียนแปลงคือ มีเหตุการณ์สภาพอากาศสุดข้วั มากข้ึนหรือน้อยลง การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมีสาเหตุจากปัจจยั หลายอย่าง เช่น กระบวนการชีวนะ ความแปรผนั ของรังสีดวงอาทิตย์ ที่โลกไดร้ ับ การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค และการปะทุของภูเขาไฟ กิจกรรมบางอยา่ งของมนุษยย์ งั ถูกระบุวา่ เป็ นสาเหตุสาคญั ของการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศล่าสุดมกั เรียกว่า “โลกร้อน” การเปล่ียนแปลงของระดบั น้าทะเล คือ ระดบั น้าทะเลท่ีเพ่ิมข้ึน บ่งช้ีการเปล่ียนแปลงอากาศเมื่อ อุณหภูมิมหาสมุทรสูงข้ึน ได้ส่งผลให้ระดบั น้าทะเลที่สูงข้ึน หรือเรียกว่า Sea Level Rise มาจาก 2 สาเหตุ หลกั คือ การขยายตวั ของมวลน้าทะเลจากที่อุณหภูมิสูงข้ึน (ประมาณร้อยละ 30) และการเพ่ิมข้ึนของปริมาณ นา้ ทะเล เน่ืองจากการละลายของธารน้าแขง็ บนแผน่ ดินและการละลายของน้าแขง็ ข้วั โลก (ประมาณร้อยละ 55)
ภยั ธรรมชาติ เช่น วาตภยั คือ ภยั จากลม หรือ พายุท่ีมีความรุนแรงจนทาให้เกิดความเสียหายอย่าง รุนแรงในวงกวา้ ง คาว่า วาตภยั เกิดจากคาสองคามาผสมกนั คือคาว่า วาต ที่แปลว่า ลม และคาว่า ภยั ท่ี แปลวา่ อนั ตรายวาตภยั สามารถเกิดข้ึนไดจ้ ากหลายสาเหตุ เช่น เกิดพายหุ มุนเขตร้อน เช่น พายุไตฝ้ ่ นุ และ พายุโซนร้อน โดยเมื่อเกิดพายุ จะทาใหเ้ กิดลมแรงสามารถพดั ใหบ้ า้ นเรือนเสียหาย ตน้ ไมแ้ ละเสาไฟฟ้ าหัก โคน่ ป้ ายโฆษณาพงั ถล่ม ซ่ึงเกิดอนั ตรายต่อชีวติ และทรัพยส์ ิน แตถ่ า้ พายดุ งั กล่าวเกิดในทะเล จะทาใหเ้ กิดฝน ฟ้ าคะนอง คลื่นสูงพดั ถล่มชายฝั่ง ซ่ึงสามารถทาให้สิ่งปลูกสร้างที่อยู่ชายฝั่ง เรือประมงหรือเรือประเภท อื่น ๆ เสียหายในบางคร้ังพบวา่ เรือขนาดใหญ่พลิกคว่าได้ แผน่ ดินไหว คือ เป็ นปรากฏการณ์สั่นสะเทือนหรือเขยา่ ของพ้ืนผวิ โลก เพื่อปรับตวั ใหอ้ ยใู่ นสภาวะ สมดุล ซ่ึงแผ่นดินไหวสามารถก่อให้เกิดความเสียหายและภยั พิบตั ิต่อบา้ นเรือนท่ีอยู่อาศยั ส่ิงมีชีวิต ส่วน สาเหตุของการเกิดแผน่ ดินไหวน้นั ส่วนใหญเ่ กิดจากธรรมชาติโดยแผน่ ดินไหวบางลกั ษณะ สามารถเกิดจาก การกระทาของมนุษยไ์ ด้ แต่มีความรุนแรงนอ้ ยกวา่ ที่เกิดข้ึนเองจากธรรมชาติ แผน่ ดินไหวเป็นปรากฏการณ์ ธรรมชาติที่เกิดจากการเคล่ือนท่ีของแผน่ เปลือกโลก (แนวระหวา่ งรอยต่อธรณีภาค) ทาให้เกิดการเคล่ือนตวั ของช้นั หินขนาดใหญ่เลื่อนเคลื่อนที่ หรือแตกหกั และเกิดการโอนถ่ายพลงั งานศกั ย์ ผา่ นในช้นั หินท่ีอยตู่ ิดกนั พลงั งานศกั ยน์ ้ีอยใู่ นรูปคลื่นไหวสะเทือน จากการกระทาของมนุษย์ การทาลายช้นั โอโซน ช้นั โอโซนเป็ นส่วนหน่ึงช้นั บรรยากาศของโลกท่ีประกอบดว้ ยโอโซนใน ปริมาณมาก ช้ันโอโซนช่วยดูดซับรังสีอลั ตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยป์ ระมาณร้อยละ 97-99 ของรังสี ท้งั หมดที่แผม่ ายงั โลก โอโซน คือ รูปแบบพิเศษของออกซิเจนที่เกิดข้ึนตามธรรมชาติ ในช้นั ของบรรยากาศช้นั บน ๆ ช้นั โอโซนน้ีมีความสาคญั และมีประโยชน์ต่อโลก ช้นั โอโซนอย่หู ่างจากผิวโลกประมาณ 20 ไมล์ โดยอยใู่ น บรรยากาศช้นั สตราโตสเฟี ยร์ ช้นั โอโซนจะช่วยป้ องกนั ไม่ใหร้ ังสีอุลตราไวโอเล็ตจากดวงอาทิตยส์ ่องมาถึง โลกของเรา ดวงอาทิตยท์ าใหช้ ีวิตบนโลกดารงอยไู่ ดค้ วามอบอุ่นและพลงั งานของดวงอาทิตย์ ส่งผลต่อดิน น้า อากาศ และสิ่งมีชีวิตทุกอย่าง แต่ดวงอาทิตย์ทาให้เกิดรังสีท่ีเป็ นอนั ตรายต่อชีวิตด้วย ช้ันโอโซนมี ความสาคญั อย่างยิ่ง เพราะทาหนา้ ที่เป็ นเกราะคุม้ กนั ปกป้ องพืชและสัตวจ์ ากรังสีที่เป็ นอนั ตรายของดวง อาทิตย์ ดงั น้ันเม่ือใดที่โอโซนบางลงเราก็ได้รับการปกป้ องน้อยลงดว้ ย เราเรียกรังสีท่ีเป็ นอนั ตรายจาก ดวงอาทิตยว์ ่า อุลตราไวโอเล็ตเป็ นรังสีที่ไม่สามารถมองเห็นได้ หากมีปริมาณน้อยรังสีอุลตราไวโอเล็ต จะปลอดภยั และมีประโยชน์โดยช่วยให้ร่างกายของเราไดร้ ับวิตามินอี แต่ถา้ เราไดร้ ับรังสีอุลตราไวโอเล็ต ท่ีมากเกินไป จะเป็นสาเหตุใหผ้ ิวหนงั อกั เสบเน่ืองจากแพแ้ ดดได้ นอกจากน้ีรังสีอุลตราไวโอเล็ตปริมาณมาก ยงั ทาลายพืชในไร่และตน้ พืชเล็ก ๆ ในทะเลซ่ึงเป็นอาหารของปลา ผลกระทบของภาวะเรือนกระจก ปรากฏการณ์เรือนกระจก คือ ปรากฏการณ์ท่ีโลกมีอุณหภมู ิสูงข้ึน เน่ืองจากพลงั งานแสงอาทิตยใ์ นช่วงความยาวคล่ืนอินฟาเรดที่สะทอ้ นกลบั ถูกดูดกลืนโดยโมเลกลุ ของไอน้า คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน และไนตรัสออกไซด์ ในบรรยากาศ ทาให้โมเลกุลเหล่าน้ีมีพลงั งานสูงข้ึน
มีการถ่ายเทพลงั งานซ่ึงกนั และกนั ทาใหอ้ ุณหภูมิช้นั บรรยากาศสูงข้ึน การถ่ายเทพลงั งานและความยาวคล่ืน ของโมเลกุลต่อ ๆ กนั ไปในบรรยากาศ ทาให้โมเลกุลเกิดการสั่นการเคลื่อนไหวตลอดเวลาและมาชนถูก ผวิ หนงั ของเราทาใหเ้ รารู้สึกร้อน การพฒั นาดา้ นอุตสาหกรรม การพฒั นาอุตสาหกรรม (industrial development) หมายถึงการทาให้ ภาคอุตสาหกรรมเจริญเติบโต (growth) หรือขยายตวั (expand) และมีการใช้เทคโนโลยีการผลิตเพ่ิมข้ึน ส่งผลใหเ้ กิดมลภาวะทางอากาศการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศและอาจจะเกิดสภาวะโลกร้อนได้ การตดั ไมท้ าลายป่ า การทาลายป่ า คือ สภาวะของป่ าตามธรรมชาติท่ีถูกทาลายโดยการตดั ไมแ้ ละ การเผาป่ าเกิดข้ึนไดจ้ ากหลายสาเหตุ เช่น การนาตน้ ไมแ้ ละถ่านไมม้ าใชห้ รือเพื่อจากหน่ายการตดั ไมโ้ ดยไม่ ปลูกทดแทนดว้ ยจานวนท่ีเพียงพอ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อท่ีอยู่อาศยั ต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และปัญหาความ แหง้ แลง้ ซ่ึงส่งผลเสียต่อการกกั เก็บ ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยพืช พ้ืนที่ ป่ าที่ถูกทาลายโดยมากจะเกิดความเสียหายจาก การพงั ทลายของหน้าดิน และคุณภาพของดินจะลดลง กลายเป็นที่ดินท่ีทาประโยชนม์ ิได้ ในประเทศไทย ภัยแล้งเกดิ จากสาเหตุหลกั ๆ 4 ประการ 1. ปริมาณฝนตกนอ้ ยเกินไปเกิดสภาวะฝนทิง้ ช่วงติดต่อกนั เป็นเวลานานหรือการกระจายน้าฝนท่ีตก ไม่สม่าเสมอตลอดท้งั ปี ซ่ึงกรณีหลงั จะทาใหก้ ารขาดแคลนน้าเป็นบางช่วงหรือบางฤดูกาลเทา่ น้นั แต่ถา้ หาก ฝนตกนอ้ ยกวา่ อตั ราการระเหยของน้าก็จะทาใหบ้ ริเวณน้นั เกิดสภาพการขาดแคลนน้าที่ตอ่ เน่ืองอยา่ งถาวร 2. ขาดการวางแผนในการใชน้ ้าที่ดี เช่น ไม่จดั เตรียมภาชนะหรืออา่ งเก็บน้ารองรับน้าฝนท่ีตกเพ่ือนา ไปใชใ้ นช่วงขาดแคลนน้า 3. ลกั ษณะภูมิประเทศไม่อานวยจึงทาใหบ้ ริเวณน้นั ไมม่ ีแหล่งน้าธรรมชาติขนาดใหญแ่ ละถาวรหรือ อยู่ใกล้ภูมิประเทศลาดเอียงและดินไม่อุ้มน้ า จึงทาให้การกักเก็บน้าไว้ใช้ทาได้ยากเช่น ในภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 4. พชื พนั ธุ์ธรรมชาติถูกทาลายโดยเฉพาะพ้ืนท่ีป่ าตน้ น้าลาธาร
ผลกระทบทเี่ กดิ จากภยั แล้ง ภยั แลง้ ในประเทศไทยมีผลกระทบโดยตรงกบั การเกษตรและแหล่งน้าเน่ืองจากประเทศไทยเป็ น ประเทศท่ีประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็ นส่วนใหญ่ภยั แลง้ จึงส่งผลเสียหายต่อการเกษตร เช่น พ้ืนดินขาดความชุ่มช้ืน พืชขาดน้า พืชชะงกั การเจริญเติบโต ผลผลิตท่ีได้มีคุณภาพรวมถึงปริมาณลดลง ส่วนใหญ่ภยั แลง้ ที่มีผลต่อการเกษตร มกั เกิดในฤดูฝนท่ีมีฝนทิ้งช่วงเป็ นเวลานานฉะน้นั จึงเกิดผลกระทบ ดา้ นต่าง ๆ ดงั น้ี ดา้ นเศรษฐกิจสิ้นเปลืองและสูญเสียผลผลิตดา้ นเกษตร ปศุสัตว์ ป่ าไม้ การประมงเศรษฐกิจทวั่ ไป เช่น ราคาที่ดินลดลงโรงงานผลิตเสียหาย การวา่ งงานสูญเสียอุตสาหกรรมการทอ่ งเที่ยวส่งผลใหร้ ายไดข้ อง ประเทศลดลงก่อใหเ้ กิดปัญหาทางเศรษฐกิจ ด้านส่ิงแวดลอ้ ม ส่งผลกระทบต่อสัตวต์ ่าง ๆ ทาให้ขาดแคลนน้า เกิดโรคกบั สัตวส์ ูญเสียความ หลากหลายพนั ธุ์ รวมถึงผลกระทบดา้ นอุทกวิทยา ทาให้ระดบั และปริมาณน้าลดลงพ้ืนที่ชุ่มน้าลดลง ความ เคม็ ของน้าเปล่ียนแปลง ระดบั น้าในดินเปลี่ยนแปลง คุณภาพน้าเปล่ียนแปลง เกิดการกดั เซาะของดิน ไฟป่ า เพิม่ ข้ึน ส่งผลต่อคุณภาพอากาศและสูญเสียทศั นียภาพเป็นตน้ ด้านสังคม เกิดผลกระทบในด้านสุขภาพอนามยั เกิดความขดั แยง้ ในการใช้น้าและการจดั การ คุณภาพชีวติ ลดลง แนวทางการป้ องกนั และการแก้ไขปัญหาผลกระทบทเี่ กดิ จากภยั แล้ง การป้ องกันและแก้ไขปัญหาผลกระทบที่เกิดจากภัยแล้งน้ัน ต้องเตรี ยมความพร้อมต้ังรับ สถานการณ์ท่ีอาจจะเกิดข้ึน และการปฏิบตั ิตนขณะเกิดภยั แลง้ รวมท้งั การช่วยเหลือฟ้ื นฟูภายหลงั เกิดภยั แลง้ การเตรียมความพร้อม การเตรียมตวั เพอ่ื รับสถานการณ์การเกิดภยั แลง้ ที่จะเกิดข้ึนดงั น้ี 1. เตรียมกกั เกบ็ น้าสะอาดเพือ่ การบริโภคใหเ้ พียงพออยา่ รีรอมิฉะน้นั จะไมม่ ีน้าให้เก็บ 2. ขดุ ลอกคู คลอง และบอ่ น้าบาดาล เพอื่ เพมิ่ ปริมาณกกั เก็บน้า 3.วางแผนการใชน้ ้าอยา่ งประหยดั เพ่ือใหม้ ีน้าใชต้ ลอดช่วงภยั แลง้ 4. เตรียมหมายเลขโทรศพั ทฉ์ ุกเฉินเพ่ือการขอน้าบริโภคและการดบั ไฟป่ า 5. ปลูกหญา้ แฝกรอบ ๆ ตน้ ไมผ้ ล หรือรอบแปลงปลูกผกั ตดั ใบหญา้ แฝกในช่วง ฤดูแลง้ ลดการคายน้า ลดการใชน้ ้าของหญา้ แฝก และนาใบมาใชค้ ลุมโคนตน้ ไมแ้ ละแปลงผกั การปฏบิ ตั ขิ ณะเกดิ ภัยแล้ง ขณะท่ีเกิดภยั แลง้ เราจะตอ้ งปฏิบตั ิดงั ตอ่ ไปน้ี - การใชน้ ้าเพอ่ื การเกษตร ควรใชช้ ่วงเชา้ และเยน็ เพ่อื ลดอตั ราการระเหยน้า - การใชน้ ้าจากฝักบวั เพือ่ ชาระร่างกายจะประหยดั น้ามากกวา่ การตกั อาบ - กาจดั วสั ดุเช้ือเพลิงรอบท่ีพกั เพ่อื ป้ องกนั การเกิดไฟป่ า และการลุกลาม
การช่วยเหลอื และฟื้ นฟูภายหลงั การเกดิ ภยั แล้ง หลงั จากการเกิดภยั แลง้ เราจะตอ้ งเตรียมตวั และปฏิบตั ิดงั ต่อไปน้ี - ติดตามสภาวะอากาศฟังคาเตือนจากกรมอุตุนิยมวทิ ยา -ไม้ผลคลุมโคนตน้ ด้วยฟางเปลือกถ่ัวเศษใบไมใ้ บหญ้าปลูกพืชตระกูลถ่วั รอบบริเวณโคนต้น โดยเริ่มคลุมในช่วงปลายฤดูฝน หรือช่วงตน้ ฤดูแลง้ พชื ผกั คลุมดว้ ยฟางขา้ ว แกลบสด พลาสติก เป็นตน้
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: