การควบคุมกลอ้ ง D-SLR[ชื่อรองของเอกสาร]MCP[ช่ือบริษัท] | [ทอ่ี ยบู่ ริษัท]
การควบคมุ กลอ้ ง D-SLR1. ฝึ กฝนการปรบั ตงั้ คา่ ตา่ งๆของ กลอ้ ง ตากลอ้ งมอื ใหม่ควรพกไปดว้ ยตลอดเวลา เหมอื นเป็ นอวัยวะนึงของร่างกายฝึ กฝนการใชใ้ หบ้ อ่ ย ทดลองปรับ เลอื ก ใชเ้ มนูตา่ งๆโดยไม่้ตอ้ งกลัววา่ จะกลับมาทค่ี ่าปรกติไม่ไดเ้ พราะกลอ้ ง DSLR ทุกตัวมี function ในการ reset ค่า default อยู่แลว้2. ใชโ้ หมด Aperture Priority ใหค้ ลอ่ ง (Nikon A, Canon Av, Olympus A)Mode Programmed (P) ห รือ Programmed Shift (Ps) นั้นใช ง้ านได ด้ ีอยู่แล ว้ แต่เคยมัย้ ทถ่ี ่ายดอกไมแ้ ลว้ กลบี ชัดอยู่ครง่ึ เดยี ว นั่นเป็ นเพราะเรายังไม่เขา้ ใจคา่ ระยะชัดลึกหรือ F ท่ีไดจ้ ากการปรับม่านรับแสงของกลอ้ ง .. ขอ้ ไดเ้ ปรียบหลักของการใช ้Aperture Priority Mode มันชว่ ยใหเ้ ราสามารถเปลย่ี นแปลงระยะชัดลกึ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วระยะชัดลกึ (Depth of Field) ท่ีวา่ นี้ก็คอื โซนของความคมชัดทกี่ นิ พ้ืนทดี่ า้ นหนา้ และดา้ นหลังของจุดท่ีเรา Focus ภาพย่ิงเลือกใชร้ ูรับแสงท่ีมีขนาดกวา้ งข้ึน (ตัวเลขf นอ้ ยๆ) ระยะชดึ ลกึ ที่ไดก้ ็จะเหลือนอ้ ยลง ในทางกลับกันถา้ เปิ ดรูร้ ับแสงขนาดเล็ก(f มากๆ) ก็จะเพมิ่ โซนความคมชดั ใหม้ ากขนึ้ ..** หมายเหตุ ** การใช ้ Mode A นัน้ ชว่ ยใหเ้ ราสามารถควบคมุ DOF ของภาพไดก้ ็จรงิแต่อยา่ ลมื สงั เกตุดคู า่ ความไวชตั เตอรด์ ว้ ยหละ่ เพราะสองค่าน้ีเคา้ สมั พันธก์ ันอยนู่ ะ :)3. เช่ีย วช าญ ก ารใช้ Shutter Priority (Nikon S, Canon Tv, Olympus S)Mode นี้จะชว่ ยใหค้ ุณสามารถกาหนดคา่ ความไวชัตเตอรไ์ ดเ้ อง ตามใจโดยท่ีกลอ้ งจะคอยปรับคา่ F ให ้ Balance กับคา่ Shutter Speed ทเี่ ราเลอื ก .. คา่ ความไวชตั เตอรน์ ัน้มีหนา้ ท่ีสองอย่างดว้ ยกัน อันดับแรกคือ มันจะควบคุมระยะเวลาที่แสงจะตกลงมาสู ้sensor ภาพของคณุ และอันดบั ทส่ี อง มะนจะสง่ ผลตอ่ ระดับความเคลอ่ื นไหว (Motion)ของตัวแบบซงึ่ จะบันทกึ ลงในภาพของคณุMode S นี้เหมาะสาหรับช่างภาพที่ตอ้ งการเก็บภาพท่ีมีความไวสูงเช่นช่างภาพกฬี าหรือภาพ Action ต่างๆ และแน่นอนวา่ มันก็ยังเหมาะสมที่จะใชส้ าหรับเก็บภาพความเบลออันเกิดจากการเคลื่อนไหวต่างๆ เช่นภาพ น้ าต ก ที่ดูนุ่มนวล และเนน้ การเคลอ่ื นไหวอกี ดว้ ย :)** หมายเหตุ ** เช่นเดียวกับการใช ้ Mode A ..เม่ือคุณเลือกใช ้ Shutter PriorityMode นั้นกลอ้ งจะคานวณปรับค่า f ใหส้ อดคลอ้ งกับค่า S ทค่ี ุณเลอื ก ดังนัน้ อย่าลมื ดูดว้ ยวา่ คา่ S ทเ่ี ลอื กทาให ้ DOF ของภาพเหลอื นอ้ ยเกนิ ไปหรอื ไมด่ ว้ ย .. มันคงไมด่ แี น่ถา้ คณุ พยายามเก็บภาพของเด็กๆทกี่ าลังวง่ิ เลน่ แต่ มันชดั แค่ หู หรอื จมกู ของเด็กๆ ..4.ใ ช้ Mode Manual ใ ห้ ค ล่ อ ง ( Nikon: M, Canon: M, Olympus: M)หลายคนซอ้ื DSLR เพอ่ื ใช ้ Mode น้ี .. และมันก็เป็ น Mode ทย่ี อดเยยี่ มในการใหอ้ สิ ระกับคุณในการปรับแต่งค่า Aperture และ Shutter Speed อย่างที่คุณเลือก .. แต่เราอยากจะบอกวา่ Mode M นัน้ ไมไ่ ดเ้ ป็ นคาตอบสาหรับทุกสถานการณ์ทเ่ี ลวรา้ ย แตม่ ันจะชว่ ยใหค้ ุณใชก้ ลอ้ งของคุณไดอ้ ย่างคล่องแคล่ว และรูว้ ธิ จี ัดการความสัมพันธร์ ะหวา่ งShutter Speed และ รูรับแสงเพ่ือค่าการเปิ ดรับแสงที่ดียง่ิ ขนึ้ และแน่นอนเม่ือพูดถงึMode M เรอ่ื งของการวัดแสง(Metering) ก็เขา้ มาปัจจัยเป็ นอย่างมากในการถ่ายภาพเรามาทาความเขา้ ใจถงึ Metering Mode แบบตา่ งๆกันดซู กั นดิ ดกี วา่ :)
4.1. โหมดการวดั แสงเฉล่ยี ทงั้ ภาพ (Overall Metering) Mode วัดแสงน้ีให ้ความคลอ่ งตัวกบั การถา่ ยภาพทั่วๆไป โดยอาศัย sensor วดั แสงทก่ี ระจายอยทู่ ่ัวภาพ ในการหาค่าเฉลยี่ คา่ หนงึ่ ทที่ าใหค้ ่า S และ A นัน้ สมดุล (ev = 0) และดว้ ยเหตนุ ัน้ ทาให ้เมอ่ื เราใช ้ การวัดแสงแบบนี้ เราจงึ จาเป็ นจะตอ้ งมคี วามเขา้ ใจในสถานการณ์ทเ่ี รากาลังจะถ่าย และตอ้ งเขา้ ใจดว้ ยวา่ อะไรจะเป็ นตัวหลอก ระบบวดั แสงของเรา ท่ีอาจจะทาให ้ภาพของเรา under หรอื over4.2. โหมดการวดั แสงแบบเฉลยี่ หนกั กลาง (Center-Weight) โหมดการวัดแสงแบบเฉลยี่ หนักกลางนัน้ เป็ นการรวมขอ้ ดขี องโหมดเฉลย่ี ทัง้ ภาพ และ โหมดเฉพาะจุดเขา้ ดว้ ยกัน ดว้ ยการผสมผสานสองโหมดนเี้ ขา้ ดว้ ยกันมนั จะเนน้ ความสาคัญของกับพนื้ ท่ีบรเิ วณกลางภาพเป็ นหลัก โหมดนี้จงึ เหมาะเมอ่ื เราตอ้ งการควบคมุ ตัวแบบทอ่ี ยุบ่ รเิ วณกลางภาพแต่ก็ไม่ไดต้ อ้ งการความเท่ียงตรงของระบบวัดแสงแบบจุด และเม่ือเราเลอื กใชโ้ หมดน้ี เราก็น่าจะเลอื กใชจ้ ดุ Focus บรเิ วณกลางภาพดว้ ยเชน่ กนั เนอ่ื งจากจุดfocus ทสี่ าคญั ทัง้ หลายนัน้ มักจะเป็ นพน้ื ทท่ี ค่ี ณุ วดั แสงอยแู่ ลว้4.3. โหมดวดั แสงแบบเฉพาะจดุ (Spot metering)โหมดการวดั แสงแบบจดุ นัน้ เหมาะสาหรับการถ่ายภาพทส่ี ภาพแสงมคี วามยงุ่ ยาก ปกติแลว้ มันไม่ไดท้ างานเกย่ี วกับภาพทวิ ทัศน์โดยตรง แตโ่ หมดการวดั แสงนี้จะมปี ระโยชน์มากในการถ่ายภาพการแสดงท่ีใชส้ ปอตไลท์หรือภาพภายในโบสถ์ท่ีมสี ภาพแสงที่ซับซอ้ น มันทาการวัดแสงในบริเวณเล็กๆ กลางภาพเท่านั้น เราจึงตอ้ งเพ่ิงความระมัดระวงั โดยเฉพาะถา้ ถา่ ยภาพดว้ ย Mode A หรอื S เน่อื งจากการจัดองคป์ ระกอบภาพ(composition)อาจจะทาใหก้ ารวดั แสงผดิ พลาดเนอื่ งจากมันจะวดั แสงจากบรเิ วณกลางภาพเทา่ นัน้5. ถา่ ย RAW ไปเลยกลอ้ ง DSLR ส่วนใหญ่ นั้นสามารถที่จะถ่ายภาพ RAW ไดอ้ ยู่แลว้ หรือแมแ้ ต่ กลอ้ ง Compact ท่ัวไปก็ยงั ตอ้ งถ่ายเป็ น RAW กอ่ นทจี่ ะแปลงออกมาเป็ น JPEG ใหเ้ ราเห็น ไฟล์ RAW นัน้ เป็ นเหมอื น Film ทย่ี ังไมไ่ ดล้ า้ ง แต่ Jpeg นัน้ เป็ นเหมอื นภาพทลี่ า้ งออกมาจาก film แลว้ การถ่ายภาพเป็ น RAW file นั้นใหค้ วามยดื หยุ่นในการปรับแต่งมากกวา่แต่อย่างไรก็ตาม จงคดิ ไวเ้ สมอวา่ .. ภาพตน้ แบบทด่ี นี ัน้ ทาใหเ้ ราประหยัดเวลาในการทางานกับภาพในภายหลัง (Post Process) ไดเ้ ยอะ และตน้ แบบทแ่ี ยน่ ัน้ ก็เป็ นการยากทจี่ ะปรับแตง่ ใหด้ ดู ใี นภายหลังได ้ ..6. Focus ภาพใหแ้ มน่ ยา ..ถงึ แมจ้ ะมีระบบ Auto Focus แต่เราก็ยังพบว่าตากลอ้ ง DSLR มือใหม่จานวนมากนั้นFocus ภาพไดไ้ มค่ มชัด (ผมดว้ ย) ระบบ focus ของกลอ้ งนัน้ มอี ยู่ สอง สามแบบแลว้ แต่ยห่ี อ้ แตห่ ลักๆก็จะมี6.1 AF-S หรอื Single Shot Auto Focus คือจะ lock ระยะการ focus เช่นนั้นไปเรอ่ื ยๆ ตราบใดทคี่ ุณยังกด Shutter ไวแ้ คค่ รง่ึ ทาง (หรอื กด AF-L) ใชเ้ มอ่ื ถ่ายภาพวตั ถุทหี่ ยดุ นงิ่ lock focus6.2 AF-C ห รือ Continuos Auto Focus ก ล อ้ งจ ะจั ด ก ารเป ล่ียนจุด แล ะระยะการ focus ไปตามระยะของตัวแบ บ ปรกติใชก้ ับกรณี ท่ีตัวแบบมีการเคลื่อนไหว6.3 M AF หรอื Manual Focus หรือ ศัพท์บา้ นเราเท่ห์ๆเรียกว่า \"มือหมุน\" ใน
หลายๆครัง้ ผมพบวา่ การใช ้ Manual Focus นั้นเป็ นการ Focus ทด่ี ที ีส่ ดุ และใหผ้ ลเร็วทส่ี ดุ กวา่ Autofocus ของกลอ้ ง เน่ืองจากสภาพความซับซอ้ นทมี่ ันจะหออกลวงระบบAF จนตาลาย และ focus ไมไ่ ดใ้ นทส่ี ดุCredit : หนงั สอื Digital Camera ฉบบั ที่ 47 (พย 50)
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: