Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Zoo Zoo

Zoo Zoo

Published by natsirilak55t.23, 2017-07-18 21:55:46

Description: Zoo Zoo

Search

Read the Text Version

สตั วป์ า่ สงวน1.นกเจา้ ฟา้ หญงิ สริ ินธร Pseudochelidon sirintaraeชอ่ื สามญั : White-eyed River-Martinชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Pseudochelidon sirintaraeชอ่ื อืน่ : นกเจา้ ฟา้เป็นนกนางแอน่ ชนดิ หนงึ่ ขนาดวดั จากปลายจงอยปากถงึ โคนหางยาวประมาณ 15 ซม. พบครง้ั แรกในประเทศไทยเมอื่ ปี พ.ศ.2511 บริเวณบงึ บรเพด็ จ.นครสวรรค์ เพยี งแหง่ เดยี วในโลกและไมพ่ บทอี่ น่ื อกีเลย เปน็ นกทอี่ พยพมาในฤดหู นาว สว่ นในฤดอู ่นื เชอื่ วา่ จะอยบู่ รเิ วณตน้ แมน่ ้าปงิ ชอบเกาะนอนในพงหญา้ นอนอยรู่ วมกบั ฝงู นกนางแอน่ ชนดิ อ่นื ๆ ตามใบออ้ และใบสนุ่น โฉบจบั แมลงเปน็ อาหาร ปจั จบุ นัเชอื่ วา่ สญู พนั ธไุ์ ปแลว้สถานภาพ : นกชนดิ นสี้ า้ รวจพบครง้ั แรกในประเทศไทยเม่ือปี พ.ศ.๒๕๑๑ จงั หวดั นครสวรรค์ หลงั จากการคน้ พบครง้ั แรกแลว้ มรี ายงานพบอกี ๓ ครง้ั แตม่ เี พยี ง ๖ ตวั เทา่ นัน้ นกเจา้ ฟา้ หญงิ สริ ินธร เป็นสตั ว์ปา่ สงวนตามพระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ้ ครองสตั วป์ า่ พ.ศ.๒๕๓๕สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธ์ุ: นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร เป็นนกที่ส้าคัญอย่างยิ่งในด้านการศึกษาความสมั พนั ธข์ องนกนางแอน่ เพราะนกชนดิ ทมี่ คี วามสมั พนั ธก์ บั นกเจา้ ฟ้าหญงิ สิรนิ ธรมากทสี่ ดุ คอื นกนางแอน่ คองโก ( Pseudochelidon euristomina ) ท่พี บตามลา้ ธารในประเทศซาอรี ์ ในตอนกลางของแอฟริกาตะวนั ตก แหล่งทีพ่ บนกท้ัง ๒ ชนดิ น้ีห่างจากกันถงึ ๑๐,๐๐๐ กิโลเมตร ประชากรในธรรมชาติของนกเจา้ ฟา้ หญงิ สริ นิ ธรเชอื่ วา่ มอี ยนู่ ้อยมาก เพราะเปน็ นกชนดิ ทโ่ี บราณทห่ี ลงเหลอื อยใู่ นปจั จบุ นั แต่ละปใี นฤดหู นาวจะถกู จบั ไปพรอ้ มๆกับนกนางแอ่นชนิดอ่ืน นอกจากน้ีท่ีพักนอนในฤดูหนาว คือ ดงอ้อและพืชน้าอ่ืนๆท่ีถูกท้าลายไปโดยการท้าการประมง การเปล่ียนหนองบึงเป็นนาข้าว และการควบคุมระดบั น้าในบงึ เพื่อการพัฒนาหลายรูปแบบ สิ่งเหล่านก้ี ่อให้เกดิ ผลเสียต่อการคงอยู่ของพชื น้า และต่อนกเจา้ ฟา้ หญงิ สิรนิ ธรมา2.แมวลายหนิ ออ่ น

ชอื่ สามญั : Marbled Catชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Pardofelis marmorata เปน็ แมวปา่ ขนาดกลาง นา้ หนักประมาณ 4-5 กก. อยใู่ นปา่ ดงดบิ และปา่ ดบิ ชน้ื ชอบอยบู่ นตน้ ไม้หากนิ ในเวลากลางคนื อาหารไดแ้ ก่ แมลง งู นก หนู และสตั วเ์ ลีย้ งลกู ดว้ ยนมขนาดเลก็ ปจั จบุ นั หายากมาก มรี ายงานพบเพียงไมก่ แ่ี หง่ เทา่ นน้ั เชน่ เขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั วป์ า่ หว้ ยขาแขง้ อทุ ยานแหง่ ชาติปางสดี า อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญ่ และอทุ ยานแหง่ ชาตทิ บั ลาน ประเทศทหี่ า้ มลา่ - บงั กลาเทศ จีน (เฉพาะยนู นาน) อนิ เดยี อนิ โดนเี ซยี มาเลเซีย พม่า เนปาล ไทย ควบคมุ การลา่ - ลาว สงิ คโปร์ ไมค่ มุ้ ครองนอกเขตอนรุ กั ษ์ - ภฏู าน บรไู นดารสุ ซาราม3. กระซู่

ชอื่ สามญั : Sumatran Rhinocerosชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Dicermocerus sumatraensisชอื่ อื่น : แรดสมุ าตรา เปน็ แรดพันธเ์ุ ลก็ ทสี่ ดุ ในบรรดาแรด 5 ชนดิ ของโลก มี 2 นอ ความสงู ทรี่ ะดบั ไหล่ 1.0 - 1.4 เมตรน้าหนกั 900-1,000 กก. มีขนปกคลมุ ทง้ั ตวั ปนี เขาเกง่ มปี ระสาทในการรบั กลน่ิ ดมี าก เมอ่ื พบสงิ่ กดีขวางจะไมข่ า้ ม แตม่ กั ใชห้ วั ดนั ให้พน้ ทางเดิน ชอบกนิ กง่ิ ไม้ ใบไมแ้ ละผลไม้ ตกลกู ครงั้ ละ 1 ตวั ตง้ั ทอ้ งนานประมาณ 7-8 เดอื น ปจั จบุ นั หายากมาก คาดวา่ จะพบไดใ้ นบรเิ วณปา่ ทบึ ตามแนวพรมแดนไทย-พมา่ และชายแดนไทย-มาเลเซีย รายงานลา่ สดุ ในปี พ.ศ.2539 พบรอยเทา้ ทเ่ี ขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั ว์ปา่ ภ-ู เขยี ว จงั หวดั ชยั ภมู ิ นอกจากน้ียงั มกี ระจดั กระจายตามปา่ ตา่ ง ๆ แหง่ ละตวั สองตวั เชน่ แกง่กระจาน จงั หวดั เพชรบรุ ี หว้ ยขาแขง้ จงั หวดั อทุ ยั ธานี ฮาลา-บาลา จงั หวดั นราธวิ าส เขาสก จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี เรอื่ งทคี่ วรทราบ  ลกู กระซภู่ าษาองั กฤษเรยี กวา่ calf  Di- มาจาก dis ในภาษากรกี แปลวา่ สอง keras เป็นภาษากรีกแปลวา่ นอหรอื เขา rhis เป็นภาษากรกี แปลวา่ จมกู รปู เจา้ ของเปน็ rhinos -ensis เปน็ ภาษาละตนิ เปน็ ปจั จยั ทเี่ ตมิ เพอ่ื บอกวา่ เปน็ ของ  บนั ทกึ นอกระซทู่ ีย่ าวทสี่ ดุ ทเ่ี คยวดั ไดค้ อื 80 และ 69 เซนติเมตร4. เลียงผาชอ่ื สามญั : Serow ชอื่วทิ ยาศาสตร์ : Capricornis sumatraensis

เป็นสตั วก์ บี คู่ มีเขาจ้าพวกแพะ ความสงู ทร่ี ะดบั ไหล่ 85-94 ซ.ม. นา้ หนักประมาณ 85-140 กก.อาศัยอยู่ตามภูเขาท่ีมีหน้าผาหรือถ้า สามารถเคลื่อนท่ีในที่สูงชันอย่างว่องไวและปราดเปรียวมากสามารถว่ายน้าข้ามระหว่างเกาะกับแผ่นดินได้ มีอวยั วะรับสมั ผัส ท้ังตา หู และจมูกดี กินพืชที่ข้ึนอยู่ตามที่สูง ตกลูกครั้งละ 1 ตวั ตัง้ ท้องนาน 7-8 เดอื น ปจั จุบันลดจา้ นวนลงไปมากเน่ืองจาก ถูกล่าเพื่อเอาเขาและทา้ น้ามันเลียงผาถนิ่ กา้ เนดิ มกี ารกระจายพนั ธใุ์ นแควน้ แคชเมยี ร์และแควน้ อสั สมั ในภาคเหนอื ของอนิ เดยี , สิกขมิ , ภฏู าน, พมา่ , จนี ,ไทย, ลาว, กมั พชู า, เวยี ดนาม และเกาะสมุ าตราในอนิ โดนเี ซยีทอี่ ยอู่ าศัย มกั อาศยั และหากนิ ตามลา้ พงั บนภเู ขาสงู หรอื หน้าผา ทมี่ ีพมุ่ ไมเ้ ตยี้ ขนึ้ อยู่ กนิ พชื เช่น ใบไมแ้ ละยอดไม้เป็นหลัก ปีนหน้าผาได้อย่างคล่องแคล่ว ออกหากินในเวลาเช้าตรู่ และพลบค้่า นอนหลับพักผ่อนในเวลากลางวันตามพุ่มไม้ มีนิสยั ชอบถา่ ยมูลซ้าทีเ่ ดิม วา่ ยน้าเก่ง เคยมีรายงานหลายคร้ังว่าสามารถวา่ ยนา้ ขา้ มแมน่ ้าขนาดใหญ่ เชน่ แมน่ า้ โขง หรอื วา่ ยไปมาระหวา่ งเกาะในทะเลไดด้ ว้ ย เม่อื พบศตั รจู ะยืนอยู่น่ิง ๆ ครู่หนง่ึ แล้วจึงกระโจนหลบหนีไป มีประสาทหแู ละตาดเี ย่ียมการประกาศเปน็ สตั วส์ งวนเลียงผา เปน็ สตั วป์ า่ สงวนตามพระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ้ ครองสตั วป์ า่ พ.ศ. 2535 สถานภาพปจั จบุ นัใกลส้ ญู พนั ธแ์ุ ลว้ เนอื่ งจากถกู ลา่ ไปทา้ เปน็ ยาสมุนไพรจีน5. สมนัชอ่ื สามญั : Schomburgk’s Deerชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Cervus schomburgkiชอ่ื อ่ืน : เนอ้ื สมนัเปน็ กวางขนาดกลาง ความสงู ระดบั ไหล่ 1 เมตร ไดช้ อื่ วา่ มเี ขาสวยทสี่ ดุ การแตกแขนงของเขาเม่ือโตเตม็ วยั จะมลี ักษณะคลา้ ยสุ่มทห่ี งายขน้ึ จงึ เรยี กวา่ \"กวางเขาสมุ่ \" ชอบกนิ ยอดหญา้ ออ่ น ผลไม้และใบไม้ อยรู่ วมกันเป็นฝงู เลก็ ๆ อาศยั อยเู่ ฉพาะทรี่ าบตา่้ ในภาคกลางของประเทศไทยเทา่ นน้ัโดยเฉพาะบรเิ วณรอบ ๆ กรงุ เทพฯ ปทมุ ธานี อยธุ ยา สมทุ รปราการ สมนั ไดส้ ญู พนั ธไุ์ ปโดยสมบรู ณ์เมอ่ื ราวปี 2475 แมแ้ ตส่ มนั ตวั สดุ ทา้ ยของโลกกต็ ายดว้ ยมอื ของมนษุ ย์อปุ นสิ ัย : ชอบอยู่รวมกนั เปน็ ฝงู เลก็ ๆ โดยเฉพาะในฤดผู สมพันธุ์ หลงั จากหมดฤดผู สมพนั ธ์ุ และตวั ผจู้ ะแยกตวั ออกมาอยโู่ ดดเดย่ี ว สมันชอบกนิ หญา้ โดยเฉพาะหญา้ ออ่ น ผลไม้ ยอดไม้ และใบไมห้ ลายชนดิ

ทอี่ ยอู่ าศยั : สมนั จะอาศยั เฉพาะในทงุ่ โลง่ ไมอ่ ยตู่ ามปา่ รกทบึ เนื่องจากเขามกี งิ่ กา้ นสาขามาก จะเกยี่ วพนั พนั กบั เถาวลั ยไ์ ดง้ า่ ยสถานภาพ : สมนั ไดส้ ญู พนั ธไ์ุ ปจากโลกและจากประเทศไทยเมอื่ เกอื บ ๖๐ ปที แ่ี ลว้ สมนั ยงั จดั เปน็ ปา่สงวนชนดิ หนงึ่ ใน ๑๕ ชนดิ ของประเทศไทยโดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ควบคมุ ซาก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เขาของสมนั ไมใ่ หม้ กี ารสง่ ออกนอกราชอาณาจกั รสาเหตุของการสญู พนั ธุ์ : เนือ่ งจากแหลง่ ทอี่ ยอู่ าศยั ไดถ้ กู เปลย่ี นเปน็ นาขา้ วเกอื บทงั้ หมด และสมนั ที่เหลอื อยตู่ ามทห่ี า่ งไกลจะถกู ลา่ อยา่ งหนักในฤดูนา้ หลากทว่ มทอ้ งทงุ่ ในเวลานัน้ สมันจะหนนี า้ ขนึ้ ไปอยู่รวมกนั บนทดี่ อนทา้ ใหพ้ วกพรานลอ้ มไลฆ่ า่ อยา่ งงา่ ยดาย