Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยและมาตรฐานงานไฟฟ้า

หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยและมาตรฐานงานไฟฟ้า

Published by chaichai_narong, 2021-09-03 01:35:29

Description: หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยและมาตรฐานงานไฟฟ้า

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน หนว่ ยที่ 1 รายวชิ า การตดิ ตงั้ ไฟฟ้า 1 สปั ดาหท์ ี่ 1-2 ช่ือหนว่ ย ความปลอดภยั และมาตรฐานในงาน จำนวน 10 ช่วั โมง ไฟฟา้ หัวข้อเรอ่ื ง 1.1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า 1.2 ขอ้ แนะนำในการซ่อมบำรุงรกั ษาระบบไฟฟา้ 1.3 ความปลอดภยั ในงานติดตัง้ ไฟฟ้าแสงสว่าง 1.4 การช่วยผ้บู าดเจบ็ ออกจากบรเิ วณท่โี ดนไฟฟ้าดูด 1.5 การชว่ ยเหลือและปฐมพยาบาลผปู้ ระสบภยั ทางไฟฟ้า 1.6 มาตรฐาน 1.7 มาตรฐานแรงดนั ไฟฟ้าทางด้านแรงดันตำ่ สาระสำคัญ การทำงานเก่ียวข้องกับไฟฟ้า จะมีโอกาสถูกไฟฟ้าดูดได้ตลอดเวลาไม่ว่าจะตั้งใจหรือโดย บังเอิญก็ตาม เนอ่ื งจากไฟฟา้ เปน็ พลงั งานที่ไม่สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปลา่ ถ้าหากว่าระดบั แรงดัน ไฟฟา้ มีคา่ สูงมาก กจ็ ะเป็นอันตรายต่อรา่ งกายมากยิ่งขน้ึ แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถป้องกันได้ ถ้าหาก เราปฏบิ ตั ดิ ว้ ยความระมดั ระวัง เรียนรเู้ ขา้ ใจธรรมชาตขิ องไฟฟา้ ท่ีสำคัญคอื กันไว้ดกี ว่าแกแ้ ละปฏบิ ตั ิ งานดว้ ยความรอบคอบไมป่ ระมาท จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ จุดประสงคท์ ่ัวไป เพอ่ื ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับความปลอดภัยและมาตรฐานในงานไฟฟ้า จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. บอกความหมายของความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ ได้ 2. บอกข้อแนะนำในการซอ่ มบำรุงรกั ษาระบบไฟฟ้าได้ 3. บอกวิธีปฏบิ ตั ิความปลอดภัยในงานตดิ ตัง้ ไฟฟา้ แสงสวา่ งได้ 4. บอกวธิ ีการชว่ ยเหลือผู้บาดเจ็บออกจากบรเิ วณท่ีโดนไฟฟ้าดูดได้

2 5. อธิบายวธิ ีการชว่ ยเหลอื และปฐมพยาบาลผู้ประสบภยั ทางไฟฟา้ ได้ 6. จำแนกมาตรฐานทางไฟฟ้าได้ 7. แยกประเภทมาตรฐานแรงดันไฟฟา้ ทางด้านแรงดนั ตำ่ ได้ 8. มคี วามรอบคอบ ปลอดภยั ในการปฏบิ ัตงิ าน ด้วยความประณีต และสามารถปฏิบัติงาน ร่วมกบั ผู้อน่ื ได้

3 ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความปลอดภยั และมาตรฐานในงานไฟฟ้า ในงานตดิ ต้งั ระบบไฟฟ้า ต้องมีความรทู้ ่ีแทจ้ ริงเก่ียวกับหลกั การทฤษฎที างไฟฟา้ และท่สี ำคัญ อีกอย่างหนึ่ง คือ ความระมัดระวัง หากขาดความระมัดระวัง เพราะไม่เห็นถึงความอนั ตรายของไฟฟ้า อาจทำให้เกิดการสูญเสียท้ังชีวิตและทรัพย์สินได้ ดังน้ันจึงต้องศึกษาและเรียนรู้เก่ียวกับลักษณะของ การเกิดอันตรายจากไฟฟ้า เพ่ือให้เกดิ ความปลอดภยั ต่อผปู้ ฏิบัติงานและผู้ใช้ไฟฟ้าเสียก่อน 1.1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า 1.1.1 ความปลอดภัย (Safety) ความปลอดภัย หมายถึง สภาพท่ปี ราศจากภยั คุกคาม (Hazard) ไม่มีอันตราย (Danger) และความเสีย่ งใดๆ (Risk) ดงั น้ันความปลอดภยั ในการทำงาน หมายถึง การทำงานท่ีไม่มอี ันตราย ไม่อยู่ ในสภาพที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ หรือไม่มีเช้ือโรค โดยจะไม่ก่อให้เกิดส่ิงต่างๆ เหล่าน้ี การบาดเจ็บ พิการ หรือตาย การเจ็บป่วย หรอื โรค ทรพั ย์สนิ เสียหายเสียเวลา ขบวนการผลิตหยุดชะงัก ไม่สม่ำเสมอ คนงานเสียขวญั และกำลังใจ กิจการเสยี ช่อื เสยี ง 1.1.2 ความปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ าน การทำงานหรือปฏิบัติงานเก่ียวกับไฟฟ้าถือเป็นงานที่มีอันตรายสูง เน่ืองจากมองไม่ เห็นว่ามีไฟฟ้าหรือไม่ รวมถึงการปฏิบัติงานที่อาจผิดพลาด ผิดขั้นตอน และยังมีผู้ร่วมปฏิบัติงานด้วย จำนวนมากซึ่งการผิดพลาดของคนหนึ่งอาจทำให้อีกคนหน่ึงได้รับอันตรายท่ีรุนแรงได้ และยังไม่มี มาตรฐานที่เก่ียวข้องกับความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานให้ใช้งาน ปัจจุบันมีร่างกฎกระทรวงแรงงาน โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ได้อ้างอิงถึงมาตรฐาน ของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานกับ ไฟฟ้าไว้หลายส่วนด้วยกัน ดังน้ันสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) จึงได้จัดทำเป็นมาตรฐานฯขึ้นใช้ชื่อว่า มาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้าในสถานท่ีทำงาน และเมื่อ กฎกระทรวงแรงงาน มีผลบังคับใช้ก็จะมีมาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้าในสถานที่ทำงานของ สมาคมวิศวกรรมสถานแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รองรับใหส้ ถานประกอบการ และผูท้ ี่เก่ยี วข้องใชอ้ า้ งองิ 1.1.3 สว่ นประกอบของมาตรฐาน มาตรฐานความปลอดภยั ทางไฟฟ้าในสถานที่ทำงาน ประกอบดว้ ย 3 หลกั การ คอื

4 1) ข้อปฏิบัติการทำงานด้วยความปลอดภัย 2) ข้อกำหนดการบำรุงรกั ษาที่เก่ียวข้องกบั ความปลอดภยั และ 3) ข้อกำหนดความต้องการความปลอดภยั สำหรบั อุปกรณ์พเิ ศษ ดงั แสดงในรปู ที่ 1.1 มาตรฐานความปลอดภยั ทางไฟฟ้า ข้อปฏิบตั ิการทำงานดว้ ย ข้อกำหนดการบำรงุ รักษาที่ ขอ้ กำหนดความต้องการความ ความปลอดภัย เกี่ยวข้องกับความปลอดภยั ปลอดภยั สำหรับอปุ กรณ์พิเศษ รูปท่ี 1.1 สว่ นประกอบของมาตรฐานความปลอดในงานไฟฟ้า ท่มี า (http://www.bsa.or.th) 1.1.4 การเกดิ อนั ตรายจากไฟฟา้ ลักษณะของการเกดิ อนั ตรายจากไฟฟา้ เกิดได้ใน 3 ลกั ษณะคือ ไฟฟ้าดูด การอารก์ หรือการเกิดประกาย และการระเบิด 1.1.4.1 ไฟฟ้าดูด คือ การที่บุคคลมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย ไฟฟ้าดูดเกิดได้ทั้ง กับบคุ คลหรอื ส่ิงมชี วี ติ อื่น เมื่อร่างกายมีกระแสไฟฟา้ ไหลผ่านจะมีอาการต่าง ๆ ตามปรมิ าณกระแส ไฟฟ้าท่ีไหล เส้นทางท่ีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน และระยะเวลาที่ถกู ไฟฟา้ ดูด ผลกระทบของกระแสไฟฟ้า ต่อร่างกายของแต่ละบุคคลอาจเปล่ียนแปลงไปได้ไม่เหมือนกันในแต่ละคน แต่สามารถกำหนดเป็น ค่าเฉลีย่ ได้ ซึง่ ในมาตรฐานความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า กำหนดไว้ ดังนี้ 1) ผลของกระแสไฟฟา้ กระแสสลบั (1) ขนาด 5 mA รบั รูไ้ ดว้ า่ ไฟดูด (2) ขนาด 10 mA บคุ คลอาจไม่สามารถหลุดออกไปพ้นจากอนั ตราย เนอ่ื งจากไฟฟา้ ดูดได้ (3) ขนาดประมาณ 40 mA ถ้าบุคคลไปสมั ผัสในวงจรไฟฟ้าที่ครบวงจรนาน 1 วนิ าที หรอื มากกวา่ อาจทำให้เสยี ชีวติ เน่อื งจากหัวใจเต้นผดิ จังหวะ (4) กระแสไฟฟา้ สูงมากกวา่ น้ี ทำใหเ้ กิดแผลไหมแ้ ละหัวใจหยุดเตน้

5 2) ผลของไฟฟา้ กระแสตรง (1) กระแสตรง 2 mA รบั รู้ได้วา่ ไฟดดู (2) กระแสตรง 10 mA พจิ ารณาได้เป็นกระแสท่ีจะปล่อยหลดุ ได้ 3) ผลของแรงดันไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า 30 V rms หรือ 60 V dc ถือว่าปลอดภยั ยกเวน้ กรณีผิวหนงั มรี อยแตก ความต้านทานภายในของร่างกายอาจมคี ่าต่ำถงึ 500 โอห์ม ดงั น้นั อาจ ทำให้เสียชวี ติ ได้ 4) ผลของการสมั ผสั เวลาสน้ั ๆ (1) สำหรับการสัมผัสเป็นเวลาน้อยกว่า 0.1 วนิ าที ด้วยกระแสไฟฟ้าเกนิ กว่า 0.5 mA เล็กน้อย อาจเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ถ้าเกิดไฟฟ้าดูดอยู่ในช่องว่างของจังหวะการเต้น ของหวั ใจ (2) สำหรับการสัมผสั เป็นเวลาน้อยกว่า 0.4 วนิ าที และดว้ ยปรมิ าณกระแส มาก ๆ อาจเกิดภาวะหวั ใจเต้นผดิ จังหวะ เม่อื ไฟฟ้าทด่ี ูดนอ้ี ยู่ในชอ่ งว่างของจงั หวะการเต้นของหวั ใจ (3) สำหรับการสมั ผัสเป็นเวลานอ้ ยกวา่ 0.8 วินาที และดว้ ยปริมาณกระแส ไฟฟา้ เกิน 0.5 A เล็กน้อย อาจเกดิ ภาวะหัวใจหยดุ เต้น (กู้คืนกลบั มาได้) (4) สำหรบั การสมั ผัสเป็นเวลามากกว่า 0.8 วนิ าที และด้วยกระแสปริมาณ มาก ๆ อาจเกิดแผลไหม้และเสยี ชีวิต 5) ผลของความถ่ีเกนิ 100 Hz กรณีขดี จำกดั ความทนทานของการรบั รเู้ พ่ิมข้นึ จาก 10 kHz ถึง 100 kHz ค่าขีดจำกดั การปลอ่ ยหลุดเพิ่มขึ้นจาก 10 mA ถึง 100 mA รูปท่ี 1.2 ผเู้ สียชวี ิตจากไฟฟา้ ดูดเมอ่ื ทำงานใกลส้ ายไฟฟา้ ทางด้านแรงดนั สูง โดยไมม่ ีการป้องกันท่ีเหมาะสม ทีม่ า (http://www.bsa.or.th)

6 1.1.4.2 การอาร์กหรอื การเกดิ ประกายไฟเกิดขน้ึ เม่อื มกี ระแสไฟฟา้ สงู และมีกำลงั ไฟฟ้าสูง การอาร์กเป็นการปล่อยไฟฟ้าออกสู่อากาศออกมาเป็นแสง ซ่ึงเกิดข้ึนเมื่อมีแรงดันไฟฟ้าสูง ตกคร่อมช่องว่างระหว่างตัวนำ มีค่าสูงเกินค่าความคงทนของไดอิเล็กทริก (Dielectric Strength) ของอากาศ และมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านอากาศ เหตุการณ์ดังกล่าวมักมีสาเหตุมาจากแรงดันสูง เช่น จากฟ้าผ่าจากการสวิตซ่ิง จากความชำรดุ ของอุปกรณ์เนอื่ งจากการใชง้ านไมถ่ ูกต้อง เปน็ ต้น การอาร์กจะแผ่รังสีออกไปทำให้ผู้ที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง ได้รับอันตรายเกิดแผลไฟไหม้ที่ รนุ แรงถึงแก่ชีวิตได้ รังสีความร้อนและแสงจ้า สามารถทำให้เกิดการไหม้ได้ ปัจจัยที่มีส่งผลต่อระดับ ความรุนแรงของการบาดเจบ็ มหี ลายประการ เช่น สีผิว พ้ืนทีข่ องผิวหนังท่ีสัมผัสและชนดิ ของเสื้อผ้าที่ สวมใส่ การลดความเสี่ยงของการไหม้ดังกล่าวสามารถทำได้โดยการใช้เส้ือผ้า มีช่วงระยะห่างในการ ทำงานและการป้องกนั กระแสเกนิ ทเ่ี หมาะสม การอาร์กจากไฟฟ้าแรงสูงสามารถทำให้ชิน้ สว่ นอปุ กรณ์ไฟฟา้ ทเี่ ป็นทองแดงและอะลมู ิเนียม หลอมละลายได้ หยดโลหะหลอมเหลวดังกล่าวอาจถูกแรงระเบิดจากคลื่นความดันผลักให้กระเด็นไป เป็นระยะทางไกล ๆ ได้ ถึงแม้ว่าหยดโลหะเหล่านี้จะแข็งตัวอย่างรวดเร็ว แตก่ ็ยังมีความร้อนเหลืออยู่ มากพอที่จะทำให้เกดิ การไหม้อย่างรุนแรงได้ หรือ ทำให้เส้ือผ้าปกติท่ัวไปลุกติดไฟได้ แมว้ ่าจะอยู่ห่าง จากจุดเกดิ เหตมุ ากกวา่ 3 เมตร แลว้ กต็ าม 1.1.4.3 การระเบิด ปกตกิ ารระเบิดมักจะเปน็ สบื เนื่องจาก การเกดิ อารก์ ในปริมาตร ท่ีจำกัด เมื่อเกิดอาร์กอากาศที่ได้รับความร้อนจะขยายตัวอย่างรวดเร็ว ถ้าการขยายตัวอยู่ในปริมาตร ท่ีจำกัดและกล่องหรือเคร่ืองห่อหุ้มน้ันไม่สามารถทนได้ก็จะระเบิด การเกิดระเบิดจากอาร์กอาจมี อณุ หภูมิสูงถึง 19,400 องศาเซลเซียส (C) และแรงจากการระเบิดน้ีสูงมากจนเป็นอันตรายต่อบุคคล ได้ เนอ่ื งจากความดันท่ีเกิดจากการอาร์กมีพลังงานสูง แต่ก็อาจจะโชคดีท่ีความดนั น้ี จะพัดพาร่างของ ผปู้ ระสบอนั ตรายหลุดลอยออกไปจากแหล่งความร้อน อยา่ งไรก็ตามผู้เคราะห์ร้ายอาจเสียชีวิตไดจ้ าก สาเหตอุ ื่น เชน่ กระแทกกบั ของแข็ง หรือตกจากที่สงู แรงผลกั นี้อาจรุนแรงมาก ซง่ึ ขน้ึ อยู่กบั ความรุนแรง ของการลดั วงจร ทำใหต้ ้หู รือแผงสวติ ซ์ลอยกระเด็นไปได้ไกล ๆ

7 รปู ที่ 1.3 ตวั อย่างการระเบิดของหม้อแปลงไฟฟ้า ท่ีมา (http://www.bsa.or.th) 1.1.5 หลกั การปอ้ งกันอันตรายจากไฟฟ้าดูด หลักการป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าดูด ไฟฟ้าดูดคือการที่บุคคลมีกระแสไฟฟ้าไหล ผ่านร่างกาย การที่กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านได้น้ันเพราะร่างกายสัมผัสกับส่วนท่ีมีไฟฟ้า แบ่งลักษณะ การสมั ผัสไดเ้ ปน็ 2 แบบ ดังน้ี 1.1.5.1 การสัมผัสโดยตรง (Direct Contact) คือการที่ร่างกายมนุษย์สัมผัสกับส่วน ท่ีมีแรงดันไฟฟ้าโดยตรง เช่น มือจับสายไฟฟ้าส่วนที่มีแรงดันไฟฟ้า หรือส่วนของอุปกรณ์ที่เปิดโล่ง โดยเท้ายนื บนพ้นื ดนิ ทำให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายระหวา่ งมือกับเท้า เป็นการไหลครบวงจรทาง ไฟฟา้ รปู ที่ 1.4 ตัวอย่างการสัมผัสโดยตรง ทีม่ า (ลอื ชยั ทองนลิ , ความปลอดภัยทางไฟฟา้ ในสถานประกอบการ, 2557, หน้า 5)

8 ในรูปท่ี 1.4 โครงตู้จ่ายไฟที่เป็นโลหะเกิดชำรุดมีไฟร่ัว เมื่อบุคคลสัมผัสจึงเกิดอันตรายจาก ไฟฟา้ ดดู ถงึ แมต้ ัวเองจะสวมรองเท้าก็ตาม แต่เพราะอยู่ในบรเิ วณท่ีมีความชืน้ หรือนำ้ ซึง่ เป็นสือ่ ไฟฟ้า การป้องกันการสัมผัสโดยตรง เป็นการป้องกันเบื้องต้นที่จะต้องปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือ ทำงานกับไฟฟ้า การป้องกันสามารถทำได้หลายวิธี โดยอาจเลือกวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีก็ได้ตาม ความเหมาะสม ดังนี้ 1) หุ้มฉนวนส่วนท่ีมไี ฟ (Insulation of Live Parts) เช่น การหุ้มฉนวนสายไฟฟา้ 2) ปอ้ งกันโดยมสี ่งิ ก้ันหรือตู้ (Barrier or Enclosures) เช่น ตู้หรอื แผงสวิตซ์ 3) ปอ้ งกนั โดยมสี ่งิ ท่ีกดี ขวาง (Obstacles) เชน่ ลานหม้อแปลง 4) ยกให้อยู่ในระยะทเี่ อื้อมไม่ถึง (Placing Out of Reach) เชน่ ติดต้งั สายบนเสาไฟฟ้า 5) ใชอ้ ปุ กรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบคุ คล (Personnel Protective Equipment, PPE) เม่ือต้องทำงานกับไฟฟ้าขณะทม่ี ีไฟ 6) ใช้เคร่ืองตัดไฟร่วั เป็นการป้องกันเสริม หมายเหตุ เคร่อื งตดั ไฟร่วั ใหใ้ ช้เปน็ อปุ กรณ์ปอ้ งกันเสรมิ เน่อื งจากอาจชำรุดได้ระหวา่ งการ ใชง้ าน เมือ่ ชำรดุ ก็ไมส่ ามารถปอ้ งกันได้ 1.1.5.2 การสัมผัสโดยอ้อม (Indirect Contact) คือการสัมผัสส่วนของอุปกรณ์ ไฟฟ้าท่ีปกติไม่มีไฟ แต่อาจมีไฟได้เม่ือเคร่ืองใช้ไฟฟ้าร่ัวหรือชำรุด โดยปกติเครื่องใช้หรือวัสดุอุปกรณ์ ไฟฟ้าท่ีเราสัมผัสจากการใช้งานตามปกติเป็นส่วนที่ถือว่าไม่มีไฟฟ้า เช่น ส่วนโครงโลหะของมอเตอร์ ไฟฟ้าและโครงโลหะของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า เป็นต้น แต่จากการชำรดุ ภายในของเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าทำให้มี ไฟฟา้ รว่ั ออกมายังส่วนท่ีสมั ผัส เมื่อมีการสัมผัสจะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายลงดิน ครบวงจรทาง ไฟฟา้ รปู ที่ 1.5 ตัวอย่างการสัมผัสโดยออ้ มเนอื่ งจากไฟรว่ั ทเี่ คร่ืองซกั ผ้า ทมี่ า (ลอื ชัย ทองนิล, ความปลอดภัยทางไฟฟ้าในสถานประกอบการ, 2557, หน้า 7)

9 หลกั การป้องกันอันตรายจากการสัมผัสโดยอ้อม มดี ังน้ี 1) มีการต่อลงดนิ เปลือกหมุ้ ท่ีเปน็ ตัวนำและมีเครื่องปลดวงจรอัตโนมัติ 2) ใช้เคร่อื งใช้ไฟฟา้ ชนิดฉนวน 2 ชน้ั หรือประเภท II (Nouble Insulation) 3) ใชใ้ นสถานท่ีไมเ่ ปน็ ส่ือตัวนำ (Non - Conducting Location) 4) ใช้ระบบไฟฟ้าท่ีแยกจากกัน (Electrical Separation) หรือระบบไม่ต่อลงดนิ 5) ใช้เครอื่ งตัดไฟรั่วเปน็ การป้องกนั เสรมิ หลักการปอ้ งกนั อนั ตรายท้งั สัมผัสโดยตรงและสัมผสั โดยออ้ ม มีอยู่ 2 วธิ ี ดังนี้ 1) ใช้เคร่ืองใช้ทมี่ แี รงดันตำ่ ที่ไมเ่ กิน 50 V (Safety Extra - Low Voltage หรอื SELV) โดยตอ่ ผ่านหม้อแปลง Safety Isolating Transformer 2) ใชว้ ิธจี ำกดั พลงั งาน (Limitation of Discharge Energy) วธิ นี จี้ ะใชว้ ธิ ีจำกัด ขนาดของกระแสไฟฟา้ ท่ีไหลผ่านร่างกาย ให้อยู่ในระดับท่ีจะไม่ทำอนั ตรายตอ่ มนุษย์ หลกั การป้องกนั อนั ตรายจากอารก์ และการระเบิด อันตรายส่วนใหญ่เป็นอันตรายท่ีเกิดจากการทำงานหรือใกล้ส่วนที่มีไฟฟ้า โดยปกติ ผู้ปฏิบัติงานต้องพยายามหลีกเลี่ยงการทำงานในขณะท่ีมีไฟฟ้าหรืออยู่ในระยะห่างท่ีปลอดภัย แต่ถ้า ไมส่ ามารถหลีกเลี่ยงได้ จะตอ้ งเลือกใช้อุปกรณ์ความปลอดภัยที่เหมาะสมและมีมาตรการความปลอดภัย ท่ีดดี ้วย ตามตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 ตัวอยา่ งอุปกรณแ์ ละมาตรการในทางปฏิบตั ใิ นป้องกนั อนั ตรายจากไฟฟ้า ลักษณะของ การใช้อปุ กรณ์ มาตรการในทางปฏบิ ตั ิ อนั ตราย (ใชก้ บั อนั ตรายทง้ั 3 แบบ) ไฟฟ้าดูด - อุปกรณห์ ุ้มฉนวนยางรวมทง้ั ถุงมือ - ดับไฟฟา้ ทกุ วงจรและสายตัวนำทอ่ี ยู่ใน ที่ใชร้ ว่ มกับหนัง แขนเส้ือยาง พื้นท่ีทำงาน ผา้ หม่ ยาง ทหี่ ุ้ม - จดั ทำและปฏิบตั ติ ามวธิ ีการ - เครื่องมือหุ้มฉนวน เมื่อทำงานใกล้ lockout/tag out ตัวนำที่มไี ฟฟา้ - รกั ษาระยะหา่ งในการทำงานทีป่ ลอดภัย จากสว่ นท่ีมไี ฟฟ้า - ใช้อุปกรณ์ความปลอดภยั เฉพาะอย่าง

10 ตารางที่ 1 (ต่อ) ลกั ษณะของ การใชอ้ ุปกรณ์ มาตรการในทางปฏิบัติ อันตราย (ใช้กบั อนั ตรายทัง้ 3 แบบ) - สวมเครอ่ื งนุ่งห่มชนดิ ทนไฟ - ปฏบิ ตั ิตามวธิ ีการและข้อกำหนด ประกายไฟจาก - ใชช้ ดุ ปอ้ งกันประกายไฟ ความปลอดภัย อารก์ เมอื่ ทำงานใกลจ้ ดุ ที่มีความเส่ียงต่อ - ตรวจสอบอปุ กรณท์ ้ังหมดอย่างระมัด การเกิดอาร์กที่รนุ แรง ระวังกอ่ นนำกลับไปใช้งานการตรวจนี้ ระเบิดจากอาร์ก - ใช้เคร่อื งมือฮอทสติก (hot รวมถงึ เครื่องมือ อุปกรณท์ ดสอบ อปุ กรณ์ sticks) และอยู่ในระยะหา่ งเท่าท่ีจะ จา่ ยไฟฟ้าและชุดตอ่ ลงดนิ ทำได้ เพ่ือความปลอดภยั - สวมใส่อปุ กรณป์ กปอ้ งดวงตา - สวมถุงมือยางพรอ้ มหนัง และ/ - ดำเนนิ การให้มั่นใจว่าอุปกรณ์ทไ่ี มม่ ี หรือถุงมือป้องกนั ประกายไฟ ไฟฟา้ ไดม้ กี ารตอ่ ลงดินแล้วอย่างเหมาะสม - สวมเครอ่ื งน่งุ ห่มชนดิ ป้องกัน วิธกี ารนใ้ี ชก้ บั ทั้งการต่อลงดินของระบบ ประกายไฟ/เปลวไฟ เพ่ือป้องกัน ไฟฟ้าปกติและการต่อลงดนิ การกระเดน็ ของโลหะทห่ี ลอม เพื่อความปลอดภยั ละลาย - ออกแบบและทบทวนระบบการ - สวมเครื่องนุ่งหม่ ชนดิ ป้องกัน ออกแบบให้มีความปลอดภยั ในตัวเอง ประกายไฟ เมือ่ ท่ีทำงานมคี วาม เสยี่ งสงู ต่อการเกดิ อารก์ ซ่ึงจะช่วย ป้องกันกระเด็นของโลหะที่หลอม ละลาย ที่มา (ลอื ชยั ทองนลิ , ความปลอดภยั ทางไฟฟา้ ในสถานประกอบการ, 2557, หนา้ 10)

11 (ก) หมวกนริ ภัย (ข) ถุงมอื นิรภยั รปู ที่ 1.6 ตัวอย่างอุปกรณ์ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ 1.1.6 มาตรการป้องกัน ชนิดของมาตรการท่ีใช้ในการป้องกันอันตรายท้ัง 3 แบบ จากไฟฟ้าน้ันมีส่วนท่ี คล้ายกัน ในตารางท่ี 1 เป็นการรวมมาตรการการป้องกันต่าง ๆ ท่ีอาจนำมาใช้ได้ มีข้อสังเกตว่าข้อความ ในตารางท่ี 1 เป็นเร่ืองทั่ว ๆ ไป การเลือกวิธีการและอุปกรณ์จะต้องพิจารณาให้ละเอียดลงไปอีก ขอ้ ควรระวังคือในแต่ละวิธกี ารท่ีกำหนด อาจไม่สามารถประยกุ ต์ใช้กบั บางสถานการณ์ได้ แตล่ ะสถาน ประกอบการต้องกำหนดมาตรการของตนเองข้ึนมาใช้งานตามความเหมาะสม และผู้มีหน้าที่ก็จะต้อง ปฏิบัติอย่างเครง่ ครดั ดว้ ย ตวั อย่างมาตรการทอ่ี าจไม่สามารถประยุกตใ์ ช้ได้ มดี งั น้ี 1.1.6.1 เมอ่ื มีการแก้ไขอุปกรณ์ การดบั ไฟฟ้าอาจไมส่ ามารถทำได้ 1.1.6.2 การดบั ไฟฟา้ อาจก่อใหเ้ กิดอนั ตรายทีย่ อมรับไม่ได้ตามมา ตวั อย่างเช่น การดับไฟเป็นผลใหพ้ ัดลมระบายอากาศของสถานท่อี ันตรายหยดุ ทำงาน กรณนี ี้พนักงานก็อาจต้อง ทำงานขณะทีม่ ไี ฟ 1.1.6.3 การดบั ไฟกบั กระบวนการผลิตแบบตอ่ เน่ืองเพ่ือซ่อมอปุ กรณช์ นิ้ เล็ก ๆ อาจ ไมค่ ุ้มคา่ ในทางเศรษฐศาสตร์ 1.2 ข้อแนะนำในการซ่อมบำรุงรกั ษาระบบไฟฟา้ 1.2.1 หลีกเล่ียงการซอ่ มระบบไฟฟ้าขณะทม่ี ีกระแสไฟฟา้ 1.2.2 ผปู้ ฏิบัตงิ านตอ้ งมีความรู้ ความเชย่ี วชาญเก่ยี วกบั การปฏิบตั ิงานทางดา้ นไฟฟา้ เปน็ อยา่ งดี 1.2.3 กอ่ นลงมือปฏิบตั งิ าน ผู้ปฏบิ ตั งิ านจะต้องตรวจสอบตำแหน่งของแผงควบคุมระบบ ไฟฟ้าว่าอยู่ท่ใี ด เมื่อเกิดเหตจุ ะไดต้ ัดวงจรได้ทันท่วงที 1.2.4 กอ่ นลงปฏบิ ัตงิ าน ผู้ปฏิบัตงิ านจะต้องทำการวเิ คราะหป์ ญั หา เพื่อกำหนดระยะเวลา ท่ีใชใ้ นการซ่อมบำรุงและการจดั ซื้อวสั ดุอปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการซอ่ มบำรุง

12 1.2.5 ถา้ พืน้ ทปี่ ฏิบัติงานมคี วามเปียกชนื้ จะต้องทำความสะอาดพืน้ ที่กอ่ นทำการซ่อมบำรงุ หรือปลดเซอร์กติ เบรกเกอร์ใหอ้ ย่ใู นสภาวะเปดิ วงจร (Open Circuit) ทกุ คร้ัง 1.2.6 ไมส่ วมกำไล นาฬิกา แหวน ในขณะซ่อมระบบไฟฟา้ 1.2.7 ไม่เปิดโทรศัพท์ในขณะซ่อมระบบไฟฟา้ 1.2.8 การซ่อมบำรงุ ระบบไฟฟา้ ทต่ี ้องเปลี่ยนฟิวส์ (Fuse) ถ้าพิกัดของฟิวสท์ ร่ี ะบุไวล้ บเลอื น หายไปจะต้องพิจารณาขนาดของสายไฟฟ้า และต้องเลือกใชฟ้ ิวส์ทสี่ ามารถป้องกันสายไฟฟา้ นน้ั ได้ 1.2.9 กรณฟี ิวส์ขาด ก่อนเปลย่ี นฟิวสจ์ ะตอ้ งหาจุดบกพร่องใหพ้ บและแก้ไขให้เสร็จกอ่ นเสมอ 1.2.10 ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานต้องใช้อุปกรณ์เพ่ือป้องกันอันตรายทอี่ าจจะเกิดขึน้ ได้ เชน่ สวมถุงมือ ยางสวมหมวกนิรภัย เปน็ ต้น 1.3 ความปลอดภยั ในงานติดตง้ั ไฟฟา้ แสงสว่าง ในการติดต้งั ไฟฟ้าแสงสว่าง ไม่ว่าจะเป็นดวงโคมไฟฟ้า อุปกรณ์ประกอบดวงโคมและสวิตซ์ ตอ้ งเป็นไปตามมาตรฐานเป็นท่ียอมรับ ของการไฟฟ้านครหลวงหรือ NEC โดยอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ติดต้ัง ภายในดวงโคม เช่น หลอดไฟบัลลาสต์และสตาร์ทเตอร์ รวมถึงขั้วหลอด ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรมหรือมาตรฐาน BS, VDE, DIN และ JIS ซึ่งอุปกรณท์ ี่นำมาใชใ้ นงานตดิ ตง้ั ไฟฟ้า แสงสว่าง เป็นผลิตภณั ฑท์ ไ่ี ด้รบั มาตรฐานดงั ที่กลา่ วมา ก็จะทำใหเ้ กิดความปลอดภยั ในการตดิ ต้ัง ไปจน ถึงผู้ใช้งานระบบไฟฟ้าแสงสว่างเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการติดตั้งไฟฟ้าระบบแสงสว่าง จึงต้อง เป็นไปตามมาตรฐานการติดต้ังไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 (มาตรฐาน วสท.) ซ่ึงข้อกำหนด มีดงั น้ี 1.3.1 ขอ้ กำหนดการติดต้งั โคมไฟฟ้าและเครื่องประกอบการติดต้ัง 1.3.1.1 ใหใ้ ช้โคมไฟฟา้ ขว้ั รับหลอด สายเข้าดวงโคมชนดิ แขวน หลอดไส้ หลอดไฟ อารก์ หลอดไฟปล่อยประจุ การเดินสายของดวงโคมและบริภัณฑ์ทีเ่ ป็นสว่ นประกอบของดวงโคม 1.3.1.2 โคมไฟฟา้ และเครื่องประกอบการติดตั้งต้องไมม่ ีส่วนท่ีมีไฟฟ้าเปิดโล่งให้ สมั ผัสได้ 1.3.1.3 ดวงโคมไฟฟา้ และเคร่อื งประกอบการติดต้ังตอ้ งเหมาะสมกับสภาพแวดลอ้ ม ท่ตี ิดตง้ั เม่ือการติดตงั้ ในสถานทเ่ี ปยี กหรอื สถานทีช่ ื้น ต้องใชด้ วงโคมชนดิ ท่ีนำ้ ไมส่ ามารถเข้าไปในดวง โคมหรอื เคร่ืองประกอบการติดต้งั ได้ เม่ืออยู่ในสภาพการใช้งานตามปกติ 1.3.1.4 ดวงโคมใกลว้ ัสดุติดไฟ ตอ้ งมีส่งิ ป้องกันหรือก้ันไม่ใหว้ ัสดุติดไฟได้รับความร้อน เกิน 90 องศาเซลเซียส

13 1.3.1.5 ดวงโคมและข้วั รับหลอด ตอ้ งมีการจับยึดอย่างแขง็ แรงและเหมาะสมกบั น้ําหนกั ดวงโคม ดวงโคมที่มีนํ้าหนักเกิน 2.5 กิโลกรัม หรือมีขนาดใหญ่กว่า 400 มม. ห้ามใช้ขั้วรับ หลอดเปน็ ตัวรบั น้าํ หนักของดวงโคม 1.3.2 ขอ้ กำหนดการเดนิ สายดวงโคม 1.3.2.1 การเดนิ สายดวงโคม ตอ้ งจดั ทำให้เรยี บร้อย เพ่ือป้องกันความเสียหายทาง กายภาพและใหใ้ ชส้ ายเทา่ ท่จี ำเปน็ เท่านน้ั และจะต้องไมท่ ำใหอ้ ณุ หภมู ิของสายนั้นสูงกวา่ อุณหภูมิ ใชง้ านสงู สดุ ของสาย 1.3.2.2 ขนาดของสายต้องไม่เลก็ กวา่ 0.5 ตร.มม. และต้องเป็นชนดิ ทเี่ หมาะสมกับ สภาพการใช้งาน 1.3.2.3 ข้วั รับหลอดชนิดเกลียวเมอ่ื ใชก้ ับระบบไฟฟ้าที่มีตัวนำนิวทรลั ส่วนเกลียว โลหะท่ีเปน็ ทางเดนิ ของกระแสไฟฟ้าต้องตอ่ กับตวั นำนิวทรัลเทา่ น้ัน 1.3.2.4 ดวงโคมตอ้ งตดิ ตั้งให้สามารถตรวจสอบการต่อสายระหวา่ งสายดวงโคมกบั สายของวงจรย่อยไดส้ ะดวก 1.3.3 ฉนวนของสายดวงโคม 1.3.3.1 สายท่ใี ชใ้ นดวงโคมต้องมฉี นวนที่เหมาะสมกบั กระแส แรงดันและอุณหภมู ิใช้งาน 1.3.3.2 ดวงโคมท่ตี ดิ ตัง้ ในสถานท่ีเปยี กช้ืน หรอื สถานท่ีที่มีการผุกรอ่ นไดต้ ้องใชส้ าย ชนดิ ท่ไี ด้รับการรับรองเพื่อใชส้ ำหรบั จุดประสงค์นน้ั แลว้ 1.3.4 การตอ่ และการต่อแยก 1.3.4.1 จดุ ตอ่ หรือจุดต่อแยกของสายต้องไม่อยู่ในกา้ นดวงโคม 1.3.4.2 การตอ่ หรือการต่อแยกของสายให้มีในดวงโคมได้เท่าท่ีจำเปน็ เทา่ นัน้ 1.3.4.3 สายไฟท่ีอยใู่ นตู้แสดงสินค้าตอ้ งเดนิ ในชอ่ งเดนิ สาย และส่วนท่ีมีไฟฟ้าต้องไม่ อยูใ่ นทเ่ี ปิดเผย 1.3.4.4 กลอ่ งจดุ ต่อไฟฟ้าเขา้ ดวงโคมต้องมฝี าครอบ หรือปิดดว้ ยฝาครอบ ดวงโคม ขว้ั รับหลอด เต้ารับ เต้าเพดาน หรอื อุปกรณ์ที่คลา้ ยกัน 1.3.5 ขอ้ กำหนดของ สวติ ซ์เต้ารับ (Receptacle) และ เต้าเสียบ (Plug) 1.3.5.1 สวิตซ์และเต้ารับทใี่ ช้ตอ้ งมีพกิ ดั กระแสเกิน แรงดัน และประเภทเหมาะสม กบั สภาพการใช้งาน เตา้ รบั ต้องไม่เป็นประเภททใี่ ชเ้ ป็นขวั้ หลอดได้ด้วย 1.3.5.2 สวติ ซ์และเต้ารบั ทใี่ ช้กลางแจง้ หรือสถานทีเ่ ปียกช้นื ตอ้ งเปน็ ชนิดทร่ี ะบุ IP ให้เหมาะสมกับสภาพการใชง้ าน กรณีปอ้ งกนั นํา้ สาดใหใ้ ช้ไม่ตาํ่ กวา่ IPX4 กรณีป้องกันนํ้าฉดี ให้ใช้ ไม่ต่ํากว่า IPX5

14 1.3.5.3 เตา้ รบั แบบติดกับพน้ื หรือฝงั พืน้ การตดิ ตั้งต้องป้องกันหรอื หลีกเลย่ี งจาก ความเสยี หายทางกายภาพเน่ืองจากการทำความสะอาดพนื้ และการใชง้ าน 1.3.5.4 สวิตซ์และเต้ารับต้องติดต้ังอยู่เหนือระดับนา้ํ ที่อาจทว่ มหรือขังได้ 1.3.5.5 ขนาดสายสำหรับเต้ารับตอ้ งไม่เลก็ กวา่ 2.5 ตร.มม. 1.4 การชว่ ยผู้บาดเจ็บออกจากบริเวณท่ีโดนไฟฟ้าดดู ผู้ทจ่ี ะช่วยเหลือผบู้ าดเจบ็ ออกจากบริเวณทโี่ ดนไฟดูดจะต้องปฏิบัติ ดงั นี้ 1.4.1 ห้ามสัมผัสตวั ผทู้ ี่โดนไฟฟ้าดูดดว้ ยมือเปล่าโดยเดด็ ขาด รวมถึงตอ้ งระวงั การสมั ผสั โดน ตวั นำทีอ่ าจนำไฟฟา้ มาถงึ ตวั ผู้ช่วยเหลอื ได้ เช่น พนื้ ทเี่ ปียกน้ำ 1.4.2 ตัดกระแสไฟฟ้าในบริเวณท่ีเกิดเหตุทันที ยกเวน้ สายไฟฟ้าแรงสูง ควรแจ้งเจ้าหน้าท่ี การไฟฟา้ เพ่อื ทำการตัดไฟอยา่ งปลอดภัย 1.4.3 ในกรณีท่ีผู้ป่วยไม่สามารถลุกเดินเองไหว ไม่ควรทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเองหากผู้ ช่วยเหลือไม่ทราบวิธีการเคลื่อนย้ายท่ีปลอดภัยเพราะอาจทำให้ผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บมากย่ิงขึ้ นยกเว้น สถานทน่ี ้ันอาจเป็นอันตราย เช่น ยังมีกระแสไฟฟ้าร่ัวไหล หรือตึกถล่ม กอ่ นสัมผัสตวั ผู้บาดเจ็บควรใช้ วัสดุที่ไมเ่ ป็นตวั นำไฟฟ้าในการป้องกนั ตัวเสียก่อน เช่น ถงุ มือยาง ผา้ แหง้ พลาสติกแหง้ เปน็ ต้น 1.5 การช่วยเหลือและปฐมพยาบาลผปู้ ระสบภยั ทางไฟฟ้า ผทู้ ถ่ี ูกกระแสไฟฟา้ ดูดจะมีอาการกลา้ มเนื้อกระตุกและอาจมีอาการช๊อก (Shock) หมดสติ เนือ่ งจากไม่สามารถชว่ ยเหลือตัวเองได้ใหห้ ลุดพน้ จากการถูกกระแสไฟฟา้ ดดู ได้ ถ้าชว่ ยเหลือไม่ทัน อาจทำให้เสยี ชวี ิตหรอื หมดสติ หวั ใจหยดุ ทำงานได้ ดงั น้ัน การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นจะชว่ ยเหลอื และ ปอ้ งกนั อันตรายท่เี กิดการสญู เสยี ชีวติ ตามมาได้ ดังนั้น ผู้ท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า มีความจำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องมีความรู้และทักษะ เบื้องตน้ ในการช่วยฟน้ื คนื ชีพ (Cardio Pulmonary Resuscitation : CPR) ซ่ึงการช่วยฟ้ืนคืนชีพ หมายถึง กระบวนการท่ีทำให้หัวใจสามารถนำเลือดท่ีมีออกซิเจนไป เล้ียงอวัยวะสว่ นต่างๆ ที่สำคัญของร่างกาย ได้แก่ สมอง หวั ใจและไต เพื่อท่ีประสบภัยสามารถหายใจ และฟน้ื คนื ชพี กลับมาสู่สภาวะปกติ โดยผ้ทู ีป่ ฏบิ ัตงิ านเกีย่ วกับไฟฟ้าสามารถเรียนรู้และปฏบิ ตั ิได้ 1.5.1 การชว่ ยเหลือผูถ้ ูกไฟฟ้าดูดให้หลดุ พน้ จากกระแสไฟฟา้ เม่ือพบเห็นผู้ประสบภัยจากไฟฟ้า ผู้ที่จะทำการช่วยเหลือต้องมีสติก่อนและพิจารณา วธิ ีการช่วยเหลือดว้ ยวธิ ีใด กรณีผ้ปู ระสบภัยถกู ไฟฟา้ ดดู บรเิ วณทเ่ี ปียกชืน้ ผู้ช่วยเหลอื จะต้องระมัดระวัง เป็นพิเศษและอย่างลงไปในบริเวณที่เปียกชื้น ซ่ึงอาจจะทำให้ได้รับอันตรายได้ การตัดกระแสไฟฟ้าท่ี แผงจ่ายไฟฟา้ เช่น สะพานไฟ คตั เอาต์ เซอร์กิตเบรกเกอร์ ตู้คอนซูมเมอร์ เป็นอกี วธิ ีหน่ึงทีล่ ดอนั ตราย

15 แกผ่ ชู้ ่วยเหลอื และหลกี เล่ียงการไมส่ มั ผัสกบั รา่ งกายของผปู้ ระสบภัยโดยตรง เพราะจะทำใหผ้ ู้ชว่ ยเหลือ ได้รบั อันตรายด้วย แต่ถ้าหลีกเล่ียงไม่ได้ผู้ช่วยเหลือตอ้ งหาวัสดุที่เป็นฉนวน เช่น ท่อ พีวีซี หรอื ไม้แห้ง เปน็ อปุ กรณช์ ่วยดงึ ผปู้ ระสบภัยออกจากบรเิ วณไฟฟ้าดูด 1.5.2 การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ เม่ือช่วยเหลือผู้ท่ีถูกไฟฟ้าดูดได้แล้วให้พิจารณาว่าผู้ประสบภัยมีอาการเป็นอย่างไร กรณีมีสติอยู่ถ้ามีบาดแผลก็รักษาตามอาการบาดเจ็บก่อนนำส่งแพทย์ กรณีผู้ประสบภัยหมดสติหรือ พบวา่ นอนอยู่คล้ายหมดสติ ต้องรบี ปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1.5.2.1 ประเมินระดบั ความรู้สึกตวั เพื่อสังเกตผู้ประสบภยั หมดสติจรงิ หรอื ไม่ โดยทำ การเรียกและเขย่าตวั หรือตบที่ไหล่ ถา้ ผปู้ ระสบภัยหมดสติจะไม่มกี ารโต้ตอบ ไมม่ เี สยี งครางหรอื มีการ เคลอ่ื นไหวเพยี งเล็กน้อย แสดงดังรปู ท่ี 1.7 รูปที่ 1.7 การประเมนิ ระดับความร้สู ึกตวั ของผู้ประสบภัย ที่มา (http//:www.CPRCertified.com) 1.5.2.2 ประเมินการหายใจโดยใชว้ ิธี ตาดู หูฟัง แก้มแนบ (Look Listen and Feel) 1) ตาดู (Look) คอื ดูการเคลื่อนไหวของทรวงอกและหน้าท้องว่ามีการยกตัว ขึน้ ลงหรือไม่ และดูว่ามีการหายใจหรอื ไม่ 2) หฟู ัง (Listen) คือ ฟงั เสยี งลมหายใจ โดยเอียงหขู องผชู้ ว่ ยเหลอื เข้าไปใกล้ บริเวณจมูก และปากของผู้ประสบภัยว่าได้ยินเสยี งอากาศผ่านออกมาทางจมูกและปากหรอื ไม่ 3) แก้มแนบ (Feel) คอื การสัมผัส โดยใชแ้ กม้ ของผชู้ ่วยเหลือสมั ผัสกับ ความรู้สกึ ว่ามลี มหายใจทีผ่ า่ นออกจากปากหรอื จมกู อาจใช้สำลีหรือวสั ดบุ างเบาจอ่ บริเวณจมกู ก็ได้

16 1.5.2.3 โทรศัพท์ขอความช่วยเหลือหรือติดต่อประสานเรียกรถโรงพยาบาลหรือ หน่วยกู้ชีพนำส่งโรงพยาบาล (โทร.1669) ที่อยู่ใกล้ท่ีบริเวณเกิดเหตุของผู้ประสบภัย เพื่อให้ ผปู้ ระสบภยั ได้รับการชว่ ยเหลือจากทีมเจ้าหนา้ ท่ีแพทย์และพยาบาลต่อไป แสดงดังรูปที่ 1.8 โทรศพั ทเ์ รยี ก รถพยาบาลใหด้ ้วยค่ะ รูปที่ 1.8 เรียกขอความชว่ ยเหลือจากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ท่ีมา (http//:www.CPRCertified.com) หากพบวา่ ผู้ประสบภยั มภี าวะหยุดหายใจ แต่หวั ใจยังเต้นอยู่ประมาณ 2-3 นาที ให้ผายปอด ทนั ที จะชว่ ยป้องกันภาวะหัวใจหยุดเต้นและสมองขาดออกซเิ จนได้ แตห่ ากพบผู้ประสบภัยมีภาวะหยุด หายใจ และหัวใจหยดุ เตน้ พร้อมกนั ให้ปฏิบตั ิการชว่ ยฟื้นคืนชพี ทันที จะชว่ ยปอ้ งกนั การเกิดภาวะเนอ้ื สมองขาดออกซิเจนหรือภาวะสมองตายได้ วัตถุประสงค์การชว่ ยฟ้นื คืนชีพ 1. เพ่ือเพมิ่ ออกซิเจนใหก้ บั ร่างกาย 2. เพ่อื ปอ้ งกนั ภาวะสมองตายถาวร 3. เพอ่ื ทำใหเ้ ลือดไปเลย้ี งอวยั วะทส่ี ำคัญในร่างกาย เช่น หวั ใจ ไต สมองไดเ้ พยี งพอ ลำดับขน้ั ในการปฏิบัติการช่วยฟ้นื คนื ชีพขั้นพ้ืนฐาน (Basic Life Support) ประกอบดว้ ย 3 ขนั้ ตอนสำคญั คอื C A B ดงั นี้ C : Circulation หมายถงึ การนวดหัวใจภายนอก ทำในรายที่พบว่ามีภาวะหัวใจหยุด เต้น เพอื่ ช่วยใหม้ ีการไหลเวยี นของเลือด ให้ปฏิบตั ดิ งั น้ี

17 ขั้นตอนที่ 1 ให้ผู้ประสบภัยท่ีหมดสตนิ อนราบกับพื้นแข็ง ผู้ช่วยเหลือคุกเข่าลงด้านข้าง ของผู้ประสบภัยด้านใดด้านหน่ึงและจัดท่าให้ผู้ประสบภัยนอนแหงนหน้าข้ึน คลำหาส่วนล่างสุดของ กระดูก หนา้ อกที่ต่อกับกระดกู ซีโ่ ครง แสดงดังรูปท่ี 1.9 รูปท่ี 1.9 การเตรยี มนวดหวั ใจ ทม่ี า (http//:www.CPRCertified.com) ข้นั ตอนท่ี 2 วัดตำแหน่งสำหรับการนวดหัวใจ โดยใช้นิ้วชี้และน้ิวกลางขา้ งท่ีถนดั วัดจาก ขอบชายโครงล่างของผู้ประสบภัยข้ึนไป จนถึงปลายกระดูกหน้าอกแล้วใช้นิ้วท้ังสองวางทาบเหนือ ปลายกระดูกหน้าอกข้ึนมา 2 นิ้วมอื จากน้ันให้ใช้สันมือข้างท่ีไมถ่ นัดวางบนตำแหน่งดังกล่าวและใช้สัน มอื ข้างทถี่ นัดวางทับลงไปอีกคร้ัง แสดงดังรูปที่ 1.10

18 รปู ที่ 1.10 การวางตำแหน่งมือทหี่ น้าอก ที่มา (http//:www.CPRCertified.com) ขั้นตอนท่ี 3 ยกปลายนวิ้ มือสองข้างข้ึนจากหนา้ อกโดยเหยยี ดน้ิวมือและแขนให้ตรงแล้ว ไขว่เก่ียวนิ้วมือสองข้างเข้าด้วยกัน แสดงดังรูปท่ี 1.11 โน้มตัวตั้งฉากกับหน้าอกของผู้ประสบภัย ทง้ิ นำ้ หนักลงแขนแล้วกดหนา้ อกของผปู้ ระสบภัยให้ยบุ ลงประมาณ 1.5-2 นวิ้ (อย่าใช้นิ้วมอื กดกระดูก ซ่ีโครงเม่อื กดสุดใหผ้ ่อนมอื ขน้ึ ทันที รปู ท่ี 1.11 การวางมืออีกขา้ งทับบนหลังมอื ทว่ี างในตำแหนง่ ท่ีถกู ต้อง ท่มี า (http//:www.CPRCertified.com)

19 ขน้ั ตอนที่ 4 ชว่ งเวลาและจังหวะการกดแตล่ ะครั้ง ให้นับสองพยางค์ คือ “1 และ 2 และ 3 และ 4…และ 14 และ 15” แล้วทำสลับกับการช่วยหายใจ 2 คร้ัง (15:2) โดยจะต้องทำการช่วยหายใจ และนวดหัวใจภายนอก รวม 4 รอบ แล้วจบด้วยการช่วยหายใจ 2 คร้ัง จึงประเมินชีพจรผู้ประสบภัย หากยังไม่พบชีพจรให้รีบช่วยหายใจและนวดหัวใจรอบต่อไป โดยประเมินชีพจรทุก 2-3 นาที พร้อม ทั้งสังเกตดูผู้ประสบภัยว่าหัวใจเต้นเองได้อย่างต่อเน่ืองสีผิว การหายใจ ความรู้สึกดีขึ้น ม่านตาหดลง หรือไม่ และตอ้ งช่วยเหลือจนกว่าจะอยู่ในความดูแลของแพทย์ แสดงดงั รูปท่ี 1.12 (ก) การผายปอดดว้ ยวธิ ีนวดหัวใจ (ข) การผายปอดด้วยวิธีเป่าลมเขา้ จมูก รูปที่ 1.12 การปฏิบตั ิ 2 วิธีสลับกัน ทีม่ า (http//:www.CPRCertified.com) ขอ้ ควรระวังในการช่วยฟ้ืนคืนชีพ 1. การวางมือผดิ ตำแหนง่ จะทำให้ซี่โครงหักทม่ิ อวัยวะสำคญั เช่น ตับ ม้าม เกิดการตกเลือด ถึงตายได้ 2. การกดดว้ ยอัตราเรว็ เกนิ ไป เบาไป ถอนแรงหลงั กดไมห่ มด ทำให้ปรมิ าณเลอื ดไปถงึ อวยั วะ สว่ นตา่ งๆ ที่สำคญั ได้น้อยและทำให้ผปู้ ระสบภัยขาดออกซิเจน 3. การกดแรงและเร็วมากเกินไป ทำให้กระดูกหน้าอกกระดอนข้ึนลงอย่างรวดเร็ว หัวใจช้ำ เลอื ดหรอื กระดูกหกั ได้ 4. การเปิดทางเดินหายใจไม่เต็มท่ี เป่าลมมากเกินไป จะทำให้ลมเข้ากระเพาะอาหารเกิด ภาวะทอ้ งอืด อาเจียน ลมเขา้ ปอดไมส่ ะดวก ปอดขยายตวั ไม่เตม็ ที่ 5. ระหว่างการช่วยฟื้นคืนชีพต้องล้วงเศษอาหารออกก่อน เพราะจะเป็นสาเหตุของการอุด ตนั ทางเดนิ หายใจ

20 A : Airway หมายถึง การเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง เพื่อป้องกันโคนลิ้นและกล่องเสียง ตกลงไปอุดทางเดินหายใจส่วนบนในผทู้ ี่หมดสติ โดยปฏิบัติดงั น้ี 1. จัดทา่ ผู้ประสบภยั ท่ีหมดสติ นอนหงายราบบนพื้นเรียบแข็ง แขนสองข้างแนบลำตัว 2. ใหผ้ ู้ชว่ ยเหลอื นั่งคกุ เขา่ ลงตรงระดบั ไหลข่ องผปู้ ระสบที่หมดสติ 3. เปิดทางเดนิ หายใจให้โล่ง แหงนศีรษะผู้ประสบภัยทหี่ มดสตใิ ช้ฝ่ามอื ขา้ งหนง่ึ ดนั หน้าผากพร้อมกับใชน้ ิ้วช้แี ละนวิ้ กลางของมืออีกข้างหนึง่ เชดิ คางขึน้ (Head Tilt Chin Lift) แสดง ดังรปู ท่ี 1.13 เพ่ือทำให้ทางเดินหายใจโลง่ รปู ท่ี 1.13 การเปิดทางเดนิ หายใจใหโ้ ล่ง โดยการแหงนหน้าเชิดคาง ที่มา (http//:www.CPRCertified.com) B : Breathing หมายถงึ การชว่ ยหายใจ เป็นวิธีท่ีจะช่วยใหอ้ อกซิเจนเขา้ สู่ปอดของ ผปู้ ระสบภยั ทห่ี ยดุ หายใจได้ด้วยการเปา่ ปากและเปา่ จมูก 1. วิธีการเป่าลมเขา้ ปาก (Mouth to Mouth) ขน้ั ตอนท่ี 1 จัดท่าใหผ้ ู้ประสบภัยท่ีหมดสติและหยดุ หายใจนอนราบเพ่ือเปิดชอ่ งทางให้ อากาศเข้าสู่ปอด โดยผู้ช่วยเหลือน่ังอยู่ทางด้านซ้ายมือหรอื ขวามือของผู้ประสบภัย ใช้มือดันคางของ ผ้ปู ระสบภยั ลงไปด้านล่าง ส่วนมืออีกข้างจับหน้าผากดันไปทางทิศใดทิศหน่ึง เพ่ือไม่ให้ลิ้นตกไปอุดปิด ทางเดนิ อากาศหายใจ แสดงดงั รูปที่ 1.14

21 รปู ท่ี 1.14 การจัดท่าผ้ปู ระสบภัย เพือ่ เปดิ ทางให้อากาศเข้าสูป่ อด ทีม่ า (http//:www.CPRCertified.com) ข้ันตอนที่ 2 สอดนิ้วหัวแม่มือเข้าไปในปาก จับขากรรไกรล่างยกขึ้นจนปากอ้า ใช้มือ ล้วงส่งิ ของที่ปิดกั้นทางลมภายในปากออกใหห้ มด เชน่ ฟนั ปลอม เศษอาหาร ขั้นตอนที่ 3 ผู้ช่วยเหลืออ้าปากให้กว้าง หายใจเข้าเต็มที่ 2-3 ครั้ง ใช้มือข้างหนึ่งบีบ จมูกผู้ประสบภัยให้สนิท ในขณะท่ีมอื อีกข้างยังดึงคางผู้ประสบภัยไว้ แลว้ ประกบปากให้แนบสนิทกับ ปากของผู้ประสบภัยพร้อมกับเป่าลมเข้าไปในปอดของผู้ประสบภัยอย่างเต็มที่ แสดงดงั รปู ท่ี 1.15 รูปที่ 1.15 การผายปอดด้วยวธิ ีเปา่ ลมเขา้ ปาก ที่มา (http//:www.CPRCertified.com)

22 ข้ันตอนท่ี 4 ขณะเป่าปากตอ้ งสังเกตหนา้ อกของผปู้ ระสบภัยว่ามีการกระเพือ่ มขึ้นลงหรือไม่ หากไม่มกี ารกระเพื่อมขึ้นลง แสดงวา่ ท่านอนไม่ดหี รอื มีสิ่งกดี ขวางทางลมหายใจต้องรบี แก้ไข โดยเปลีย่ นทา่ ใหม่ แสดงดังรปู ท่ี 1.16 รปู ท่ี 1.16 การสงั เกตและฟงั เสียงการหายใจของผู้ประสบภัย ทม่ี า (http//:www.CPRCertified.com) 2. วิธีการเป่าลมเข้าจมูก (Mouth to Nose) ใช้ในกรณีที่ผู้ประสบภัยอ้าปากไม่ได้หรือ ด้วยสาเหตใุ ดท่ีไม่สามารถเปา่ ปากได้ ใหเ้ ป่าลมเข้าทางจมูกแทน ในรายที่เป็นเด็กเล็กหรือเด็กแรกเกิด ใหเ้ ปา่ ลมเขา้ ทางปากและจมูกพรอ้ มกนั แสดงดังรปู ท่ี 1.17 รูปท่ี 1.17 การผายปอดดว้ ยวิธีการเป่าลมเข้าจมูก ทีม่ า (http//:www.CPRCertified.com)

23 ขณะเป่าให้สังเกตทย่ี อดอกของผปู้ ระสบภัยวา่ มีการยกตัวข้ึนหรอื ไม่ การเป่าลมหายใจของ ผชู้ ว่ ยเหลือผ่านทางปากหรือจมกู จะตอ้ งทำอยา่ งชา้ ๆ ให้ผายปอด 2 คร้งั ๆ ละ 1-15 วินาที อตั ราความเร็ว ในการเป่า 12-15 คร้ังต่อนาที ซง่ึ ใกล้เคยี งกบั การหายใจปกติ 1.6 มาตรฐาน ในการติดตงั้ ระบบไฟฟา้ จะตอ้ งตดิ ตงั้ ระบบไฟฟ้าตามมาตรฐานและข้อกำหนดตา่ ง ๆ ซึง่ แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 อยา่ ง คอื - มาตรฐานอปุ กรณไ์ ฟฟา้ - มาตรฐานการติดตั้งระบบและอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ซึง่ มาตรฐานแตล่ ะอยา่ ง ยังสามารถแบง่ ออกได้อีก 2 อย่าง คือ มาตรฐานประจำชาติ (National Standards) และมาตรฐานสากล (International Standards) 1.6.1 มาตรฐานประจำชาติ ประเทศอตุ สาหกรรมส่วนใหญท่ ่ีสำคัญในโลก ต่างมมี าตรฐานของตนเองมานานแล้ว โดยมาตรฐานประจำชาติของแต่ละประเทศต่างร่างข้ึนมาใช้ภายในประเทศของตนเอง เพ่ือให้ตรงกับ อุตสาหกรรมภายในประเทศและตรงกับวิธีปฏิบัติของตนเอง นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศ และสภาพแวดล้อมของประเทศนั้นๆ ด้วย มาตรฐานประจำชาตทิ ี่สำคญั ได้แก่ - ANSI (American National Standard Institute) ของประเทศสหรฐั อเมรกิ า - BS (British Standard) ของประเทศสหราชอาณาจักร - DIN (German Industrial Standard) ของประเทศเยอรมันนี - VDE (Verband Deutscher Elektrotechniker) ของประเทศเยอรมนั นี - JIS (Japanese Industrial Standard) ของประเทศญ่ีปุน่ - มอก. (มาตรฐานผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรม) ของประเทศไทย 1.6.2 มาตรฐานสากล มาตรฐานสากลเป็นมาตรฐานท่ีมีสมาชิกอยหู่ ลายประเทศ เชน่ มาตรฐาน ISO, IEC และ EN 1) ISO (International Organization for Standardization) ISO เป็นองค์กรกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ มีหน้าที่กำหนดมาตรฐาน ท่ัวไปทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ยกเว้นทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์) โดยมาตรฐานของ ISO จะใช้หน่วย SI จึงเป็นทีน่ ิยมมากเพราะเปน็ มาตรฐานสากลอยา่ งแทจ้ รงิ มาตรฐานท่รี ู้จักกนั ดี ไดแ้ ก่

24 ISO 9000, 9001, 9002 (เกย่ี วกบั การควบคมุ คณุ ภาพของผลติ ภัณฑ์สินคา้ ) ISO 14000 (เกย่ี วกับ การรักษาสงิ่ แวดลอ้ ม) เป็นต้น 2) IEC (International Electrotechnical Commission ) IEC เปน็ องค์กรระหวา่ งประเทศท่ีร่างมาตรฐานทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีสำนักงานใหญ่ที่กรุงเจนีวาประเทศสวิสเซอร์แลนด์ และร่วมมือกับ ISO อย่างใกล้ชดิ มาตรฐานของ IEC ได้รับความนิยมมากขึ้นเร่ือยๆ ตามแนวโน้มความเป็นสากลของโลก และตามโลกาภิวัฒน์ (Globalization) โดยขณะน้ี IEC มีประเทศสมาชกิ เกอื บทกุ ประเทศในโลก 3) EN (European Standard) หลายประเทศในทวีปยุโรปได้รวมตัวกันจัดตั้งคณะกรรมการท่มี ีหน้าที่กำหนด มาตรฐานทางไฟฟ้าซึ่งเรียกว่า European Committee for Electrotechnical Standardization CENELEC ไดจ้ ัดทำมาตรฐานทางไฟฟ้าของยุโรป คอื EN มาตรฐาน EN เป็นมาตรฐานบงั คับ กลา่ วคอื ถา้ อุปกรณไ์ ฟฟา้ ไม่ไดต้ ามมาตรฐานนี้ จะนำ เข้ามาขายในกลุ่มประเทศสมาชิกไม่ได้ จุดประสงค์ของมาตรฐานน้ี คือ ทำให้เกิดการค้าเสรีเพราะถ้า อปุ กรณ์ได้มาตรฐานนีแ้ ล้วก็สามารถนำเขา้ ขายไดท้ กุ ประเทศ และนอกจากน้ียังต้องการใหท้ ุกประเทศ ในกลุม่ มมี าตรฐานเดียวกัน ในขณะนี้มาตรฐานประจำชาติของชาติอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ได้ลดความสำคัญลงมากตาม โลกาภิวัฒน์ และเน่ืองจากมาตรฐานประจำชาติถือเป็นกำแพงการค้า (Trade Barrier) อย่างหน่ึง หลายประเทศจึงได้พยายามปรับปรุงมาตรฐานประจำชาติของตนเอง ให้ตรงตามมาตรฐานสากล เรียกว่า (Trade Barrier) อย่างหน่ึง หลายประเทศจึงได้พยายามปรับปรุงมาตรฐานประจำชาติของ ตนเองให้ตรงตามมาตรฐานสากล เรียกว่า Harmonization และหลายประเทศได้ยกเลิกมาตรฐาน ของตนเอง โดยนำมาตรฐานสากลท้ังฉบับมาใช้เป็นมาตรฐานประจำชาติของตน โดยไม่มีการแปล เป็นภาษาของตนเอง สำหรับประเทศไทย ในอดีตการทำมาตรฐานทางไฟฟ้าส่วนมากจะแปลและเรียบเรียงจาก มาตรฐาน IEC การแปลน้ันต้องใช้เวลามากและความหมายอาจไม่ตรงความหมายเดิม แต่ในขณะนี้ มาตรฐานหลายฉบบั สำหรับอุปกรณไ์ ฟฟา้ นั้นไม่มีการแปลและเรยี บเรยี งอกี ตอ่ ไป แตน่ ำมาตรฐาน IEC ทั้งฉบับซึ่งเขียนเป็นภาษาอังกฤษมาเป็นมาตรฐานไทยเลยตามแนวปฏิบัติซึ่งหลายประเทศในโลก กำลังทำอยู่

25 1.6.3 มาตรฐานอุปกรณไ์ ฟฟา้ อปุ กรณ์ไฟฟา้ ทใี่ ช้ในระบบไฟฟา้ มีอยู่มากมายหลายชนิด ส่วนมากจะมีมาตรฐานควบคุม คุณภาพอยู่แล้ว โดยมาตรฐานอุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีนิยมใช้กันมาก คือ มาตรฐานของ IEC จะสังเกตได้จาก แคตตาลอ็ กของอุปกรณ์ไฟฟ้าจะอ้างถึงมาตรฐานน้ีอยู่เสมอ เช่น เซอร์กิตเบรกเกอร์ จะอ้างมาตรฐาน IEC 60947-2 “Low Voltage Switchgear and Control Gear Part 2” ดังน้ันสำหรับผู้ออกแบบระบบไฟฟ้าในประเทศไทย ในการเขียนรายละเอียด ขอ้ กำหนด (Specification) ของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ควรใช้มาตรฐานไทย (มอก.) และมาตรฐาน IEC เป็นหลักไม่ควรใช้มาตรฐานประจำชาติของประเทศอ่ืน ยกเว้นอุปกรณ์ดังกล่าวไม่มีในมาตรฐานไทย และมาตรฐาน IEC 1.6.4 มาตรฐานการตดิ ต้งั ระบบและอุปกรณ์ไฟฟา้ มาตรฐานการติดต้งั ระบบและอุปกรณ์ไฟฟ้า อาจแบ่งออกเปน็ - มาตรฐานต่างประเทศ - มาตรฐานสากล - มาตรฐานการตดิ ตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย 1) มาตรฐานตา่ งประเทศในการติดต้ังระบบและอปุ กรณ์ไฟฟา้ มาตรฐานต่างประเทศที่นิยมใช้กันมากในประเทศไทย คือ NEC (National Electrical Code) ซ่ึงเป็นมาตรฐานการออกแบบติดต้ังระบบ และอุปกรณ์ไฟฟ้าของประเทศ สหรัฐอเมริกา เร่ิมมีคร้ังแรกต้ังแต่ปี 1897 และมีแก้ไขปรับปรุงทุกๆ 3 ปี จึงนับได้ว่าเป็นมาตรฐาน การออกแบบและติดต้ังที่สมบูรณ์มาก มาตรฐาน NEC ได้แพร่เข้ามาในประเทศไทยอย่างมากในช่วงที่ ประเทศสหรัฐอเมริกามีฐานทัพในประเทศไทย วิศวกรไฟฟ้าของไทยส่วนมากจึงนิยมใช้ NEC เป็น พ้ืนฐานในการออกแบบ และติดตงั้ ระบบไฟฟ้า แม้ว่า NEC จะเป็นมาตรฐานที่ดีมาก ทำจากประสบการณ์ซึ่งมีอยู่มากมายในประเทศ สหรัฐอเมรกิ า แต่ก็มขี ้อกำหนดที่วศิ วกรไฟฟ้าไทยต้องอ่านและทำความเข้าใจอย่างระมดั ระวัง เพ่ือให้ การประยุกต์ใช้เป็นไปอย่างถูกต้อง เนื่องจากระบบต่างๆ ท่ีใช้ในประเทศสหรัฐอเมริกาตาม NEC น้ัน มขี อ้ แตกต่างจากระบบทใ่ี ชภ้ ายในประเทศไทยหลายอยา่ งด้วยกัน แสดงในตารางที่ 1.2 ดังน้ี

26 ตารางท่ี 1.2 เปรยี บเทยี บมาตรฐานตา่ งประเทศในการตดิ ตั้งกบั ประเทศไทย รายละเอยี ด ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศไทย ความถี่ 60 Hz 50 Hz ระบบไฟฟ้า 120/280 V,277/480V 230/400V สายไฟฟ้า AWG mm2 m, mm มติ ิ Inch, feet Kg. นำ้ หนัก pound ที่มา (ประสิทธ์ิ พทิ ยพัฒน์, การออกแบบระบบไฟฟ้า, 2556, หนา้ 5) แม้วา่ NEC (รวมท้ังมาตรฐานอย่างอน่ื ของสหรัฐอเมริกา เชน่ ANSI) จะเป็นมาตรฐานท่ีดมี าก แต่เน่ืองจากระบบ และมิติต่างๆ ดังท่ีกล่าวมาแล้วมีใช้เฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกาเท่านั้น ดังน้ัน มาตรฐาน NEC คงจะเส่ือมความนิยมไปอย่างช้าๆ และในท่ีสุดก็อาจมีใช้อยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา เท่าน้ัน หรอื อีกกรณีหนง่ึ กค็ ือ ประเทศสหรฐั อเมริกาต้องปรับปรุงมาตรฐาน NEC ของตนใหส้ อดคล้อง กับมาตรฐานสากล 2) มาตรฐานสากลในการตดิ ตั้งระบบและอปุ กรณ์ไฟฟ้า เนื่องจากหลาย ๆ ประเทศโดยเฉพาะประเทศในทวีปยุโรปมีมาตรฐานการ ตดิ ตง้ั ระบบและอปุ กรณ์ไฟฟา้ เป็นของตนเอง ซ่งึ จะมีความแตกต่างในรายละเอียดต่างๆ เป็นอย่างมาก ดังนั้น IEC จึงได้จัดทำมาตรฐานเก่ียวกับการติดต้ังระบบ และอุปกรณ์ไฟฟ้าข้ึนในปี 1972 คือ IEC 60364 “Electrical Installation of Buildings” ซึ่งมหี ลายฉบับ ไดแ้ ก่ IEC 60364-1 “ Scope, Object and Definitions ” IEC 60364-2 “ Fundamental Principles ” IEC 60364-3 “ Assessment of General Characteristics ” IEC 60364-4 “ Protection for Safety ” IEC 60364-5 “ Selection and Erection of Electrical Equipment ” IEC 60364-7 “ Requirement for Special Installations or Locations ” มาตรฐาน IEC 60364 นี้ไดร้ ับการแก้ไข และปรบั ปรงุ อยูต่ ลอดเวลา เพ่ือให้สมบรู ณย์ ิ่งขึ้น ในขณะนีป้ ระเทศในทวีปยโุ รปหลายประเทศ ได้นำมาตรฐานน้ีมาใชก้ ันแล้ว โดยเฉพาะประเทศสหราช

27 อาณาจักร ( United Kingdom ) ได้เลกิ ใชม้ าตรฐานของตนเอง ซงึ่ มีมานับร้อยปี โดยหนั มาใช้ IEC- 650364 แทน ตั้งแต่ปี 1983 คอื Regulation for Electrical Installation ของ The Institute of Electrical Engineers (IEE) 3) มาตรฐานการตดิ ตง้ั ทางไฟฟา้ สำหรับประเทศไทย การติดต้ังทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทยน้ัน ในอดีตการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) และการไฟฟ้าสว่ นภูมิภาค (กฟภ.) ตา่ งมีมาตรฐานของตนเอง ข้อกำหนดส่วนมากจะเหมือนกัน แตก่ ม็ ี บางส่วนที่ต่างกันทำให้ผู้ออกแบบระบบไฟฟ้าและผู้ติดตั้งระบบและอุปกรณ์ไฟฟ้าเกิดความสับสน ด้วยเหตุน้ีสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ด้วยความร่วมมือ จากการไฟฟ้าท้ังสองแห่งดังกล่าวได้จัดทำ “มาตรฐานการติดต้ังทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย” ข้ึน เพ่อื ใหท้ ั้งประเทศมีมาตรฐานเร่ืองการติดตง้ั ทางไฟฟ้าเพยี งฉบบั เดยี ว มาตรฐานการติดต้ังทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทยฉบับใหม่นี้ เน้ือหาส่วนมากจะแปลและ เรียบเรียงจาก National Electrical Code และก็มีความพยายามที่จะนำมาตรฐานของ IEC มาใช้ด้วย โดยเฉพาะส่วนท่ีเกี่ยวกับอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น เซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ใช้จะต้องได้มาตรฐาน IEC 60898 และ IEC 60947-2 เป็นต้น 1.7 มาตรฐานแรงดนั ไฟฟ้าทางด้านแรงดันต่ำ เมอ่ื ก่อนหลายประเทศในยโุ รปมรี ะบบแรงดนั ไฟฟ้าไม่เหมือนกนั เช่น ประเทศสหราชอาณาจักร ใช้ระบบแรงดนั ไฟฟา้ 240/415V 3 เฟส 4 สาย ประเทศเยอรมนั นี ใช้ระบบแรงดันไฟฟา้ 230/400V 3 เฟส 4 สาย ประเทศฝรั่งเศษ ใชร้ ะบบแรงดนั ไฟฟ้า 220/380V 3 เฟส 4 สาย ซ่ึงทำให้เกิดความสับสนในการออกแบบระบบไฟฟ้า และผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าข้ามประเทศ และในขณะน้ีหลายประเทศในทวีปยุโรป จึงได้ตกลงใช้ระบบแรงดนั ไฟฟ้า ตามมาตรฐานของ IEC 60038 “Standard Voltage”ตามมาตรฐาน IEC60038 กำหนดให้ระบบแรงดันไฟฟ้าทางด้านแรงดันต่ำ พิกัด คอื 230/400V 3 เฟส 4 สาย แต่ยอมใหค้ ลาดเคลือ่ นได้ ± 10 % สำหรับระบบแรงดันไฟฟ้าทางด้านแรงดันต่ำของประเทศไทยน้ัน ระบบแรงดันไฟฟ้าถูก กำหนด โดย 2 หน่วยงาน ซง่ึ มรี ะบบแรงดันไฟฟ้าทางดา้ นแรงดนั ตำ่ ไม่เหมือนกนั คือ - การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) กฟน. ใชพ้ ิกดั แรงดันไฟฟ้าทางด้านแรงดนั ตำ่ ของหม้อแปลงจำหนา่ ย คือ 240/416V 3 เฟส 4 สาย แต่ กฟน. ใช้พิกัดแรงดันไฟฟ้าทางด้านไฟฟ้าแรงดนั ตำ่ เป็น 220/380V 3 เฟส 4 สาย

28 - การไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าค (กฟภ.) กฟภ. ใช้พิกัดแรงดันไฟฟา้ ทางด้านแรงดันต่ำของหม้อแปลงจำหนา่ ย คือ 230/400V 3 เฟส 4 สาย และใช้พิกัดแรงดนั ไฟฟ้าทางดา้ นไฟฟ้าแรงดนั ตำ่ เป็น 220/380V 3 เฟส 4 สาย ตามมาตรฐานการติดต้ังทางไฟฟ้า สำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 ของ สมาคมวิศวกรรม สถานแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ได้กำหนดให้แรงดนั ไฟฟ้าระบุ เป็น 230/400 V เพื่อใช้อา้ งองิ ในการออกแบบและคำนวณหาคา่ ต่าง ๆ ทางไฟฟา้ สรปุ การติดต้ังระบบไฟฟ้า สิ่งที่ต้องคำนึงถึงเป็นอันดับหน่ึงคือ ความปลอดภัย เพราะโอกาสใน การเกิดอุบัติเหตุเก่ียวกับผู้ปฏิบัติงานมีอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นผู้ปฏิบัติงานจะต้องให้ความระมัดระวัง อย่างสูง ตลอดจนการมีเคร่ืองป้องกันอุบัติเหตุทางร่างกาย เพ่ือช่วยลดความรุนแรงเสียหายท้ังบุคคล และทรัพย์สิน การปฐมพยาบาลก็เป็นสิ่งสำคัญในการช่วยเหลือชีวิตของผู้ประสบภัย ถ้ารู้จักวิธีการ และปฏิบัติการช่วยเหลือเบื้องต้นก่อนส่งโรงพยาบาลหรือแพทย์ผู้ชำนาญ การเกิดอุบัติเหตุมีสาเหตุ หลายประการ แตส่ าเหตุหน่ึงคือมาตรฐานทางไฟฟ้าที่ใช้ในงานเก่ียวกับไฟฟ้าในประเทศไทย ไม่ว่าจะ เป็นมาตรฐานของอุปกรณ์ไฟฟ้า มาตรฐานของการติดต้ังระบบและอุปกรณ์ไฟฟ้า ควรได้รับการ รบั รองมาตรฐานอตุ สาหกรรมในประเทศหรอื นานาชาติ

29 แบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยที่ 1 ความปลอดภัยและมาตรฐานในงานไฟฟา้ คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท ( X ) ลงหน้าข้อทถี่ กู มากท่สี ดุ ลงในกระดาษคำตอบ 1. ความปลอดภัยหมายถึงข้อใด ก. การพฒั นาส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม ข. การป้องกันอบุ ัตภิ ยั ค. สภาพทไ่ี ม่เกิดภัยอันตรายในงานไฟฟา้ ง. การปฏิบัตงิ านด้วยความไม่ประมาท จ. การรณรงคล์ ดอุบัติเหตุ 2. ขอ้ ใดถูกต้องท่ีสดุ เกย่ี วกับข้อกำหนดความปลอดภัยในงานตดิ ตั้งไฟฟ้า ก. ปฏิบัติงานด้วยความต้งั ใจในงานติดตง้ั ไฟฟ้า ข. ปฏบิ ตั ิงานตามแบบแผนในงานติดตง้ั ไฟฟ้า ค. ปฏบิ ัติงานตดิ ตงั้ ไฟฟ้าต้องเปน็ ไปตามกฎและมาตรฐาน ง. ใช้เครอ่ื งมอื ปฏบิ ัตงิ านได้อยา่ งถูกต้อง จ. ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความไมป่ ระมาทในงานติดต้ังไฟฟ้า 3. ข้อใด ไม่ใช่ ข้อแนะนำในการซอ่ มบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า ก. หลกี เล่ียงการซ่อมระบบไฟฟ้าขณะท่ีมีกระแสไฟฟา้ ข. ใช้โทรศพั ท์ในขณะปฏบิ ตั งิ านซ่อมระบบไฟฟ้า ค. ไมส่ วมกำไล นาฬิกา แหวน ในขณะซ่อมระบบไฟฟ้า ง. กรณีฟวิ สข์ าด ก่อนเปลีย่ นฟวิ ส์จะต้องหาจุดบกพรอ่ งให้พบและแก้ไขใหเ้ สร็จก่อนเสมอ จ. ผ้ปู ฏิบัตงิ านตอ้ งมคี วามรู้ ความเช่ยี วชาญเกี่ยวกบั การปฏิบัตงิ านทางดา้ นไฟฟ้าเปน็ อย่างดี 4. ข้อใดคือข้อกำหนดการติดตั้งโคมไฟฟ้าและเคร่ืองประกอบการตดิ ตงั้ ก. ดวงโคมใกล้วสั ดุตดิ ไฟ ต้องมสี งิ่ ปอ้ งกันหรอื กั้นไม่ใหว้ สั ดุตดิ ไฟไดร้ ับความร้อนเกนิ 100 องศาเซลเซยี ส ข. ขนาดของสายไฟฟ้าตอ้ งไม่เลก็ กว่า 1.0 ตร.มม. และต้องเปน็ ชนดิ ทเ่ี หมาะสมกับสภาพ การใชง้ าน ค. จดุ ต่อหรอื จุดต่อแยกของสายต้องไม่อยู่ในกา้ นดวงโคม ง. ขนาดสายไฟฟ้าสำหรับเตา้ รับตอ้ งไม่เล็กกวา่ 1.5 ตร.มม. ข้อผิดพลาดของผ้ปู ฏิบตั ิงาน จ. โคมไฟฟ้าและเครื่องประกอบการตดิ ต้งั ต้องเปิดโลง่ ให้สมั ผสั ได้

30 5. ข้อใด ควร ปฏบิ ตั ใิ นการชว่ ยผู้บาดเจ็บออกจากบริเวณท่ีโดนไฟฟ้าดดู ก. สัมผัสตัวผ้ทู ีโ่ ดนไฟฟ้าดดู ด้วยมอื เปลา่ ข. แจง้ เจ้าหนา้ ท่ปี อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ค. แจ้งเจา้ หนา้ ทท่ี เ่ี กีย่ วกับการพยาบาลมาชว่ ย ง. แจ้งเจ้าหน้าทีก่ ารไฟฟ้าในทอ้ งที่ จ. ตดั กระแสไฟฟ้าในบริเวณท่เี กิดเหตทุ นั ที 6. ตัวอักษรยอ่ CPR มีความหมายตรงกบั ข้อใด ก. Circulation Pulmonary Resuscitation ข. Circulation Pulmonary Reactive ค. Cardio Pulmonary Resue ง. Cardio Pulmonary Reactive จ. Cardio Pulmonary Resuscitation 7. มาตรฐานการติดตั้งไฟฟา้ ในขอ้ ใด ที่ใชก้ ำหนดมาตรฐานสำหรบั ประเทศไทย ก. มาตรฐาน มอก. ข. มาตรฐาน วสท. ค. มาตรฐาน IEC ง. มาตรฐาน NEC จ. มาตรฐาน ANSI 8. ข้อใด ไม่ใช่ มาตรฐานประจำชาติในงานตดิ ตงั้ ไฟฟ้า ก. มาตรฐานผลติ ภัณฑ์อตุ สาหกรรม ข. มาตรฐาน American National Standard Institute ค. มาตรฐาน German Industrial Standard ง. มาตรฐาน Japanese Industrial Standard จ. มาตรฐาน International Electrotechnical Commission 9. ขอ้ ใดคือมาตรฐานอุปกรณ์ไฟฟ้าของเซอร์กิตเบรกเกอร์ ก. IEC 60364-1 ข. IEC 60702-1 ค. IEC 61008 ง. IEC 60947-2 จ. IEC 60536

31 10. ตามมาตรฐานการติดต้งั ทางไฟฟ้า สำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 ของสมาคมวิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ (วสท.) ได้กำหนดให้แรงดันไฟฟ้าระบุ คือ ข้อใด ก. 240/415V ข. 230/400 V ค. 220/380V ง. 240/416V จ. 220/400V

32 แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 1 ความปลอดภัยและมาตรฐานในงานไฟฟ้า คำช้แี จง จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้ 1. การเกดิ อนั ตรายจากไฟฟ้าเกิดขึน้ ได้กลี่ กั ษณะ พร้อมอธบิ าย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จงอธิบายข้ันตอนการปฐมพยาบาลผปู้ ว่ ยที่ไดร้ ับอนั ตรายจากไฟฟ้าดูด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จงยกตัวอย่างการปฏบิ ตั ิงานทางไฟฟ้าด้วยความปลอดภัย มา 5 ขอ้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. มาตรฐานการติดตัง้ ระบบและอปุ กรณไ์ ฟฟ้ามีกอ่ี ยา่ ง อะไรบ้าง พรอ้ มอธิบาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ระบบไฟฟ้าแรงดันตำ่ ของประเทศไทย มีก่รี ะบบ อะไรบ้าง พรอ้ มอธบิ าย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

33 แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยท่ี 1 ความปลอดภัยและมาตรฐานในงานไฟฟา้ คำสงั่ จงทำเครื่องหมายกากบาท ( X ) ลงหนา้ ข้อท่ถี ูกมากท่สี ุดลงในกระดาษคำตอบ 1. ความปลอดภยั หมายถึงข้อใด ก. การรณรงค์ลดอบุ ัติเหตุ ข. การพัฒนาส่งเสรมิ คุณภาพสงิ่ แวดล้อม ค. การป้องกนั อุบัติภัย ง. สภาพที่ปราศจากภัยอนั ตรายและความเสย่ี งต่างๆ จ. การปฏิบตั งิ านดว้ ยความไม่ประมาท 2. ขอ้ ใดถูกต้องทส่ี ุด เกยี่ วกับขอ้ กำหนดความปลอดภัยในงานติดตง้ั ไฟฟ้า ก. ปฏิบตั งิ านติดตัง้ ไฟฟา้ ตอ้ งเปน็ ไปตามกฎและมาตรฐาน ข. ใชเ้ ครอื่ งมือปฏบิ ตั ิงานได้อยา่ งถูกต้อง ค. ปฏิบตั ิงานด้วยความไมป่ ระมาทในงานตดิ ตั้งไฟฟ้า ง. ปฏบิ ัตงิ านด้วยความตงั้ ใจในงานตดิ ต้ังไฟฟ้า จ. ปฏิบตั ิงานตามแบบแผนในงานตดิ ต้ังไฟฟ้า 3. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ข้อแนะนำในการซอ่ มบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า ก. ไม่สวมกำไล นาฬิกา แหวน ในขณะซอ่ มระบบไฟฟ้า ข. กรณีฟิวส์ขาด กอ่ นเปลีย่ นฟวิ ส์จะตอ้ งหาจุดบกพรอ่ งให้พบและแก้ไขให้เสร็จก่อนเสมอ ค. ผปู้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งมีความรู้ ความเช่ียวชาญเกี่ยวกบั การปฏิบัติงานทางด้านไฟฟา้ เปน็ อย่างดี ง. หลีกเลย่ี งการซ่อมระบบไฟฟ้าขณะท่ีมีกระแสไฟฟา้ จ. ใช้โทรศพั ทใ์ นขณะปฏบิ ัติงานซอ่ มระบบไฟฟา้ 4. ข้อใดคือข้อกำหนดการติดตั้งโคมไฟฟ้าและเครอื่ งประกอบการตดิ ตงั้ ก. โคมไฟฟา้ และเครื่องประกอบการตดิ ตั้งต้องเปิดโล่งให้สัมผัสได้ ข. ดวงโคมใกลว้ ัสดตุ ิดไฟ ตอ้ งมสี ่งิ ป้องกันหรอื ก้นั ไมใ่ ห้วสั ดตุ ดิ ไฟได้รบั ความร้อนเกนิ 100 องศาเซลเซยี ส ค. ขนาดของสายไฟฟ้าตอ้ งไม่เลก็ กว่า 1.0 ตร.มม. และต้องเป็นชนิดทเี่ หมาะสมกบั สภาพ การใช้งาน ง. จุดต่อหรือจดุ ต่อแยกของสายตอ้ งไม่อยูใ่ นกา้ นดวงโคม จ. ขนาดสายไฟฟา้ สำหรบั เต้ารับตอ้ งไม่เลก็ กวา่ 1.5 ตร.มม.ข้อผิดพลาดของผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน

34 5. ขอ้ ใด ควร ปฏบิ ัตใิ นการชว่ ยผู้บาดเจบ็ ออกจากบรเิ วณทีโ่ ดนไฟฟ้าดูด ก. แจง้ เจ้าหนา้ ทก่ี ารไฟฟา้ ในทอ้ งที่ ข. ตัดกระแสไฟฟา้ ในบริเวณที่เกิดเหตทุ ันที ค. สมั ผสั ตวั ผู้ทโ่ี ดนไฟฟ้าดดู ด้วยมือเปล่า ง. แจ้งเจ้าหน้าทีป่ อ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย จ. แจง้ เจา้ หน้าทท่ี ีเ่ กย่ี วกบั การพยาบาลมาชว่ ย 6. ตวั อกั ษรยอ่ CPR มีความหมายตรงกับขอ้ ใด ก. Cardio Pulmonary Reactive ข. Cardio Pulmonary Resuscitation ค. Circulation Pulmonary Resuscitation ง. Circulation Pulmonary Reactive จ. Cardio Pulmonary Resue 7. มาตรฐานการติดต้งั ไฟฟา้ ในขอ้ ใด ท่ใี ช้กำหนดมาตรฐานสำหรบั ประเทศไทย ก. มาตรฐาน NEC ข. มาตรฐาน ANSI ค. มาตรฐาน มอก. ง. มาตรฐาน วสท. จ. มาตรฐาน IEC 8. ข้อใด ไมใ่ ช่ มาตรฐานประจำชาติในงานติดต้งั ไฟฟา้ ก. มาตรฐาน Japanese Industrial Standard ข. มาตรฐาน International Electrotechnical Commission ค. มาตรฐานผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรม ง. มาตรฐาน American National Standard Institute จ. มาตรฐาน German Industrial Standard 9. ข้อใดคือมาตรฐานอุปกรณ์ไฟฟ้าของเซอรก์ ติ เบรกเกอร์ ก. IEC 60702-1 ข. IEC 61008 ค. IEC 60947-2 ง. IEC 60536 จ. IEC 60364-1

35 10. ตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า สำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 ของสมาคมวิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ (วสท.) ได้กำหนดให้แรงดันไฟฟ้าระบุ คือ ข้อใด ก. 220/380V ข. 240/416V ค. 220/400V ง. 240/415V จ. 230/400 V

36 แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม วิชา..................................สาขางาน.......................ระดบั ชั้น...............กลมุ่ ...........วนั ท.่ี .....เดือน..........พ.ศ............. พฤตกิ รรมของนกั ศกึ ษา เลขท่ี ชื่อ-นามสกุล ขยัน ประหยัด ซือ่ สัตย์ มวี นิ ยั สะอาด สุภาพ สามัคคี มีนำ้ ใจ รวม 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 (24) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑ์การวดั ผล บันทกึ ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ....................................................................... ระดับคะแนน 4 3 2 1 ....................................................................... ....................................................................... 1. เกณฑ์ผ่านแต่ละพฤติกรรม คือ 2 ข้นึ ไป 2. เกณฑ์คะแนนรวมทกุ พฤตกิ รรม คือ 24 ผู้ประเมิน.............................................. 3. เกณฑก์ ารผ่านรวมทุกพฤตกิ รรม คอื 12 (นายชัยณรงค์ บุตรจำนง) 4. พฤตกิ รรมใดไมผ่ ่านเกณฑใ์ ห้มีการปรบั ปรงุ โดยทำกิจกรรมเพ่ิม ครผู สู้ อน

37 ใบบันทึกคะแนนแบบทดสอบ (รายกลมุ่ ) วชิ า..................................สาขางาน.......................ระดบั ชน้ั ...............กลุม่ ...........วันที.่ .....เดือน..........พ.ศ.................. ลำดับที่ ชือ่ -นามสกลุ คะแนนเตม็ หมายเหตุ ก่อนเรยี น หลังเรียน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 บนั ทึก ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงช่อื ...................................... (นายชยั ณรงค์ บตุ รจำนง) ครผู สู้ อน

38 ใบบนั ทึกคะแนนแบบฝึกหัด (รายกลุม่ ) วิชา.............................สาขางาน.......................ระดับชนั้ ...............กลุม่ ...........วนั ท.่ี .....เดือน..........พ.ศ................. ลำดับที่ ชื่อ-นามสกลุ คะแนนเตม็ หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 บันทึก ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ...................................... (นายชัยณรงค์ บตุ รจำนง) ครูผสู้ อน

39 เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรยี น หน่วยท่ี 1 ความปลอดภยั และมาตรฐานในไฟฟา้ ขอ้ สอบก่อนเรียน ข้อสอบหลงั เรยี น ข้อ เฉลย ขอ้ เฉลย 1ค 1ง 2ค 2ก 3ข 3จ 4ค 4ง 5จ 5ข 6ง 6ก 7ก 7ค 8จ 8ข 9ง 9ค 10 ข 10 จ

40 เฉลยแบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 1 ความปลอดภัยและมาตรฐานในงานไฟฟา้ 1. การเกิดอันตรายจากไฟฟ้าเกดิ ขน้ึ ได้กี่ลกั ษณะ พรอ้ มอธบิ าย ตอบ ลกั ษณะของการเกดิ อันตรายจากไฟฟา้ เกดิ ไดใ้ น 3 ลกั ษณะ คือ ไฟฟา้ ดดู การอาร์ก หรอื การเกิดประกาย และการระเบดิ 1. ไฟฟา้ ดดู คือ การที่บุคคลมกี ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นร่างกาย ไฟฟ้าดูดเกิดได้ทัง้ กบั บุคคล หรือสิ่งมชี ีวติ อ่ืน เมื่อร่างกายมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะมอี าการต่าง ๆ ตามปรมิ าณกระแสไฟฟ้าทไ่ี หล เส้นทางท่ีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน และระยะเวลาที่ถูกไฟฟ้าดูด ผลกระทบของกระแสไฟฟ้าต่อร่างกาย ของแตล่ ะบคุ คลอาจเปลีย่ นแปลงไปไดไ้ มเ่ หมือนกันในแต่ละคน 2. การอาร์กหรือการเกิดประกายไฟ เกิดขนึ้ เมื่อมกี ระแสไฟฟ้าสงู และกำลังไฟฟ้าสูง การอาร์กเปน็ การปล่อยไฟฟ้าออกสู่อากาศออกมาเปน็ แสง 3. การระเบิด ปกติการระเบิดมักจะมีสาเหตุสืบเนื่องจากการเกดิ อาร์กในปริมาตรที่จำกัด เมื่อเกิดอาร์กอากาศท่ีได้รับความร้อนจะขยายตัวอย่างรวดเร็ว ถ้าการขยายตัวอยู่ในปริมาตรท่ีจำกัด และกลอ่ งหรือเคร่อื งหอ่ หุ้มน้นั ไม่สามารถทนได้กจ็ ะระเบิด 2. จงอธิบายข้นั ตอนการปฐมพยาบาลผ้ปู ่วยที่ไดร้ บั อันตรายจากไฟฟา้ ดูด ตอบ เม่อื ช่วยเหลือผู้ท่ีถูกไฟฟ้าดดู ไดแ้ ล้วให้พิจารณาว่าผู้ประสบภัยมีอาการเป็นอยา่ งไร กรณี มีสติอยู่ถ้ามีบาดแผลก็รักษาตามอาการเจบ็ ก่อนนำส่งแพทย์ กรณีผู้ประสบภัยหมดสติหรือพบว่านอน อยู่คล้ายหมดสติ ตอ้ งรีบปฏิบัติ ดังนี้ 1. ประเมินระดบั ความรู้สึกตวั เพอื่ สังเกตผู้ประสบภยั หมดสตจิ รงิ หรือไม่ โดยเรียกและ เขย่าตัวหรือตบที่ไหล่ ถา้ ผปู้ ระสบภัยหมดสตจิ ะไม่มีการโต้ตอบ ไม่มีเสียงครางหรอื มีการเคล่อื นไหว เพียงเล็กน้อย 2. ประเมนิ การหายใจโดยใชว้ ิธี ตาดู หฟู ัง แก้มแนบ (Look Listen and Feel) 2.1 ตาดู (Look) คือ ดูการเคลือ่ นไหวของทรวงอกและหน้าท้องว่ามีการยกตวั ขึ้นลง หรอื ไม่ และดวู ่ามีการหายใจหรอื ไม่ 2.2 หูฟงั (Listen) คอื ฟงั เสยี งลมหายใจ โดยเอยี งหขู องผชู้ ่วยเหลอื เขา้ ไปใกล้บรเิ วณ จมูก และปากของผปู้ ระสบภัยว่าได้ยนิ เสียงอากาศผา่ นออกมาทางจมกู และปากหรอื ไม่ 2.3 แก้มแนบ (Feel) คือ การสัมผัส โดยใช้แก้มของผู้ช่วยเหลือสัมผัสกับความรู้สึก วา่ มีลมหายใจท่ีผา่ นออกจากปากหรอื จมกู อาจใช้สำลีหรอื วสั ดุบางเบาจ่อบรเิ วณจมกู ก็ได้

41 3. โทรศัพทข์ อความช่วยเหลือหรือติดต่อประสานเรยี กรถโรงพยาบาลหรือหน่วยกูช้ ีพ นำสง่ โรงพยาบาล (โทร.1669) ทอี่ ยู่ใกล้ท่ีบริเวณเกดิ เหตุของผู้ประสบภยั เพอื่ ให้ผู้ประสบภัยได้รับ การช่วยเหลือจากทีมเจา้ หนา้ ท่แี พทย์และพยาบาลต่อไป 1. C : Circulation หมายถึง การนวดหวั ใจภายนอก ทำในรายท่พี บวา่ มภี าวะหวั ใจ หยุดเต้น เพอ่ื ชว่ ยใหม้ ีการไหลเวยี นของเลอื ด 2. A : Airway หมายถงึ การเปดิ ทางเดนิ หายใจให้โล่ง เพื่อปอ้ งกันโคนลน้ิ และกล่อง เสียงตกลงไปอุดทางเดินหายใจส่วนบนในผู้ท่หี มดสติ 3. B : Breathing หมายถงึ การชว่ ยหายใจ เป็นวิธีที่จะชว่ ยให้ออกซิเจนเขา้ สูป่ อดของ ผปู้ ระสบภัยท่ีหยดุ หายใจได้ด้วยการเป่าปากและเป่าจมูก 3. จงยกตัวอยา่ งการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าด้วยความปลอดภยั มา 5 ขอ้ ตอบ 1. หลกี เล่ยี งการซอ่ มระบบไฟฟ้าขณะท่ีมกี ระแสไฟฟา้ 2. ก่อนลงมือปฏิบัตงิ าน ผ้ปู ฏิบตั ิงานจะต้องตรวจสอบตำแหน่งของแผงควบคุมระบบ ไฟฟา้ ว่าอยู่ท่ีใด เมื่อเกิดเหตจุ ะได้ตัดวงจรได้ทันทว่ งที 3. กอ่ นลงปฏิบัตงิ าน ผู้ปฏบิ ัติงานจะต้องทำการวเิ คราะหป์ ัญหา เพอื่ กำหนดระยะเวลา ท่ใี ชใ้ นการซ่อมบำรุงและการจดั ซ้อื วสั ดอุ ุปกรณ์ท่ีใช้ในการซ่อมบำรงุ 4. ไมเ่ ปดิ โทรศัพท์ในขณะซ่อมระบบไฟฟ้า 5. ผู้ปฏิบัติงานต้องใชอ้ ปุ กรณ์เพอ่ื ป้องกันอันตรายที่อาจจะเกดิ ข้ึนได้ เชน่ สวมถงุ มอื ยาง สวมหมวกนิรภยั เป็นตน้ 4. มาตรฐานการตดิ ตง้ั ระบบและอปุ กรณไ์ ฟฟ้ามีกอ่ี ยา่ ง อะไรบา้ ง พร้อมอธิบาย ตอบ ซ่ึงมาตรฐานแต่ละอย่าง ยังสามารถแบ่งออกได้อีก 2 อย่าง คือ มาตรฐานประจำชาติ (National Standards) และมาตรฐานสากล (International Standards) 1. มาตรฐานประจำชาติ ประเทศอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ทสี่ ำคัญในโลก ตา่ งมมี าตรฐาน ของตนเองมานานแล้ว โดยมาตรฐานประจำชาติของแต่ละประเทศต่างรา่ งขึ้นมาใช้ภายในประเทศ ของตนเอง เพ่ือให้ตรงกบั อุตสาหกรรมภายในประเทศและตรงกบั วธิ ีปฏบิ ตั ิของตนเอง นอกจากนยี้ ัง ขึ้นอยกู่ ับสภาพภูมิอากาศและสภาพแวดล้อมของประเทศนนั้ ๆ ด้วย มาตรฐานประจำชาติทส่ี ำคญั ได้แก่ - ANSI (American National Standard Institute) ของประเทศสหรฐั อเมริกา - BS (British Standard) ของประเทศสหราชอาณาจักร - DIN (German Industrial Standard) ของประเทศเยอรมนั นี

42 - VDE (Verband Deutscher Elektrotechniker) ของประเทศเยอรมันนี - JIS (Japanese Industrial Standard) ของประเทศญปี่ ุ่น - มอก. (มาตรฐานผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรม) ของประเทศไทย 2. มาตรฐานสากล มาตรฐานสากลเป็นมาตรฐานท่มี ีสมาชกิ อยู่หลายประเทศ เชน่ มาตรฐาน ISO, IEC และ EN 1. ISO (International Organization for Standardization) 2. IEC (International Electrotechnical Commission ) 3. EN (European Standard) 5. ระบบไฟฟ้าทางด้านแรงดันต่ำของประเทศไทย มีก่รี ะบบ อะไรบ้าง พรอ้ มอธิบายมา ตอบ สำหรับระบบแรงดันไฟฟา้ ทางด้านแรงดันต่ำของประเทศไทยน้ัน ระบบแรงดนั ไฟฟ้าถูก กำหนด โดย 2 หน่วยงาน ซึ่งมีระบบแรงดนั ไฟฟ้าทางด้านแรงดนั ต่ำไมเ่ หมือนกนั คอื - การไฟฟา้ นครหลวง (กฟน.) กฟน. ใช้พิกดั แรงดันไฟฟ้าทางด้านแรงดนั ตำ่ ของหม้อแปลงจำหน่าย คือ 240/416V 3 เฟส 4 สาย แต่ กฟน. ใช้พิกดั แรงดันไฟฟ้าทางด้านไฟฟ้าแรงดันต่ำ เป็น 220/380V 3 เฟส 4 สาย - การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) กฟภ. ใชพ้ ิกัดแรงดันไฟฟ้าทางด้านแรงดันต่ำของหมอ้ แปลงจำหน่าย คือ 230/400V 3 เฟส 4 สาย และใชพ้ กิ ัดแรงดันไฟฟา้ ทางด้านไฟฟา้ แรงดนั ตำ่ เปน็ 220/380V 3 เฟส 4 สาย ตามมาตรฐานการติดตง้ั ทางไฟฟา้ สำหรบั ประเทศไทย พ.ศ. 2556 ของ สมาคมวิศวกรรม สถานแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ไดก้ ำหนดให้แรงดนั ไฟฟ้าระบุ เปน็ 230/400 V เพือ่ ใชอ้ า้ งอิงในการออกแบบและคำนวณหาค่าต่าง ๆ ทางไฟฟ้า

43 เอกสารอ้างอิง ไวพจน์ ศรีธัญ. (2558). การตดิ ต้ังไฟฟา้ 1 . กรงุ เทพฯ : สำนกั พิมพ์ซีเอ็ดยเู คชน่ั จำกดั . ลือชยั ทองนิล. (2553). ความปลอดภยั ทางไฟฟา้ ในสถานประกอบการ. กรุงเทพฯ : สมาคมสง่ เสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปนุ่ ). ประสิทธิ์ พทิ ยพฒั น์. (2558). การออกแบบระบบไฟฟ้า. กรุงเทพฯ : ห.จ.ก. โชคตอิ นันต์ ครเี อทีฟ. การชว่ ยเหลือผู้ประสบภัยทางไฟฟา้ http//:www.CPRCertified.com (20 พฤษภาคม 2559).