Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรมการศึกษา โดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) อลงกรณ์

นวัตกรรมการศึกษา โดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) อลงกรณ์

Published by alongkorn.arsa, 2021-03-25 07:21:10

Description: เรื่อง การจัดการเรียนการสอน เรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือ
วิธีสอนโดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Keywords: นวัตกรรม

Search

Read the Text Version

1 โรงเรยี น 1 นวัตกรรม โรงเรยี นโนนเพ็กวิทยาคม การจัดการเรยี นร้แู บบวธิ ีสอน โดยใช้กระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ Geographic Inquiry Process Model Geographic Inquiry Process Model โรงเรียนโนนเพ็กวทิ ยาคม ตาบลหนองค้า อาเภอพยุห์ จงั หวดั ศรสี ะเกษ สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาศรสี ะเกษ ยโสธร สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

รายงานนวัตกรรมการศกึ ษา เรือ่ ง การจดั การเรียนการสอน เร่อื ง ทวีปอเมรกิ าเหนือ วธิ ีสอนโดยใช้กระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ (Geographic Inquiry Process) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 นายอลงกรณ์ อาษา ครูชำนาญการ กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปี พ.ศ. 2563 โรงเรียนโนนเพ็กวิทยาคม อำเภอพยหุ ์ จงั หวดั ศรสี ะเกษ สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

รายงานนวัตกรรมการศึกษา โรงเรยี นโนนเพ็กวทิ ยาคม สพม.ศกยส โดย นายอลงกรณ์ อาษา รายงานนวตั กรรมการศึกษา โรงเรียนโนนเพก็ วทิ ยาคม อำเภอพยุห์ จงั หวดั ศรสี ะเกษ ช่ือเร่ือง การจัดการเรยี นการสอนเร่ืองทวีปอเมริกาเหนอื วิธีสอนโดยใช้กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ผ้จู ัดทำ นายอลงกรณ์ อาษา ปี พ.ศ. 2563 ประเภทนวตั กรรม ดา้ นการบรหิ ารจัดการ ด้านหลกั สูตร  ด้านการจดั การเรียนรู้ ดา้ นสอ่ื และเทคโนโลยี ดา้ นการวัดและประเมนิ ผล 1. หลกั การและเหตผุ ล ภูมิศาสตร์ หมายถึง วิชาที่ศึกษาพื้นผิวโลกท่ีเก่ียวกับภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ผลิตผล และคน รวมท้ังการกระจายของส่ิงต่างๆ เหล่านี้ หรือคือวิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างโลกกับ มนุษย์ สิ่งแวดล้อมกับมนุษย์ ภูมิศาสตร์กายภาพเป็นสาขาหนึ่งของวิชาภูมิศาสตร์ที่มุ่งศึกษาสภาพแวดล้อม ตามธรรมชาติ และกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรมชาติท่ีเกิดขึ้นบนพื้นผิวโลก การศึกษาภูมิศาสตร์เป็นสิ่ง สำคญั ท่ีจะช่วยให้เข้าใจปรากฎการณ์ต่าง ๆ บนพ้นื ผวิ โลกดียิง่ ขน้ึ อันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาพ้นื ทน่ี ้ัน ๆ ภูมิศาสตร์ภูมิภาค (Regional Geography) คือ การเข้าถึงระบบเทศสัมพันธ์ (Spatial interaction) ด้วยการแบ่งพื้นที่ออกเป็นส่วนๆ ในการอธิบายผิวโลกท่ีมีมนุษย์อาศัยน้ัน นักภูมิศาสตร์ใช้วิธีการแบ่งพ้ืนท่ี ออกเป็นขนาดต่างๆ กันตามเกณฑ์และวัตถุประสงค์ เกณฑ์ในการกำหนดพื้นท่ีนั้นมีหลายอย่าง โดยทั่วไปต้อง รวมเอาปัจจัยทางด้านกายภาพและวัฒนธรรมเข้าไว้ด้วยกัน นักภูมิศาสตร์นิยมแบ่งภูมิภาคออกตามระบบ อากาศ เช่น ภูมิภาคเขตร้อนชื้น ภูมิภาคเขตอบอุ่น และภูมิภาคเขตทะเลทราย เป็นต้น หรือแบ่งภูมิภาคตาม กลุ่มวฒั นธรรม เช่น กลุ่มละตนิ -อเมริกัน หรือกลุ่มอาหรับ เป็นต้น แต่ท่นี ิยมกนั มากคือการแบ่งพ้ืนทศ่ี ึกษาตาม รูปแบบการปกครอง คือ ยึดเอาเนื้อท่ีของประเทศต่างๆ เป็นเกณฑ์ เพราะสะดวกในเร่ืองข้อมูลภายในพ้ืนท่ีน้ัน ในปัจจุบันได้มีการแบ่งภูมภิ าคออกตามบทบาทหนา้ ท่เี ด่นของพื้นท่ีนัน้ เชน่ ภูมิภาคของเมืองหรือเขตท่ีเมอื งมี อิทธิพลต่อบริเวณรอบนอกตลอดจนเขตบริการต่าง ๆ อันจัดเป็นภูมิภาคขนาดเล็กแต่ก็มีประสิทธิภาพในการ จัดพน้ื ที่ (Hartshorne, 1959) จากการที่ผู้วิจัยได้ทำการจัดการเรียนการสอน รายวิชาภูมิศาสตร์ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ใน โรงเรียนโนนเพ็กวิทยาคม น้ีพบวา่ มีนกั เรียนจำนวนมากที่ยังมีข้อบกพร่องทางดา้ นการศึกษา ด้วยเหตุน้ีจึงทำ 1

รายงานนวตั กรรมการศกึ ษา โรงเรยี นโนนเพ็กวทิ ยาคม สพม.ศกยส โดย นายอลงกรณ์ อาษา ใหผ้ ู้วจิ ัยเล็งเห็นถึงปัญหาทางด้านการศึกษาด้วยว่า หากการศึกษาไทยปัจจุบันไม่มีการพัฒนา และสอนแบบไม่ มีข้ันตอน ไม่มีระบบระเบียบในการสอนของครูแล้ว ด้วยเหตุนี้อาจจะส่งผลให้นักเรียนและการศึกษาไทยใน ภาคภายหนา้ ถดถอยลง ดงั นั้น ผู้วจิ ัย จึงมีความสนใจที่จะศึกษาทำการวจิ ัยเร่ืองการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือ วิธีสอนโดยใช้กระบวนการทาง ภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนโนนเพ็กวิทยาคม อำเภอพยุห์ จงั หวัดศรีสะเกษ นขี้ น้ึ มา 2. วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ัย 1. เพื่อจัดการเรียนรู้เรื่องทวีปอเมริกาเหนื อ วิธีสอนโดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนโนนเพก็ วิทยาคม 3. วธิ ีดำเนินการ การจัดการเรียนการสอน เรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือ วิธีสอนโดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนโนนเพ็กวิทยาคม ดำเนินการ 5 ขัน้ ตอน ดงั นี้ 1. การต้งั คำถามเชิงภูมศิ าสตร์ การศึกษาภูมิศาสตร์จะต้องอาศัยความสามารถในการตั้งคำถามเกี่ยวกับว่า คำถามที่ใช้ศึกษาในวิชา ภมู ิศาสตร์จะเป็นคำถามท่ีเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง โดยเป็นปัญหาเก่ียวกับคำถามที่ถามว่า ที่ไหน และเพราะ เหตุใดจึงต้องเป็นท่ีน่ัน (Where and Why There) จึงเป็นส่ิงสำคัญอย่างย่ิงที่นักเรียนจะต้องพัฒนาและฝึก ทักษะเกยี่ วกับการต้งั คำถาม แนวคำถาม ตัวอยา่ งคำถาม • เพราะเหตุใดสิ่งต่างๆ จึงปรากฏและเปน็ อยู่ท่ตี รงนั้น เพราะเหตุใดมนั จึงอยู่ท่ีนน่ั (Why is it there?) ทำไมแผน่ ดินไหวจึงเกิดที่ประเทศญ่ปี ุ่น • บางสิ่งบางอยา่ งน้ันสัมพันธ์กับอะไรบา้ ง (With what is it associated?) ประเทศที่เกดิ แผ่นดินไหว ยงั เกิดภูเขาไฟปะทุและ สนึ ามิดว้ ย เพราะอะไร • ปรากฏการณ์ทีเ่ กดิ ขึน้ ตรงนี้คล้ายกบั ท่ีไหนบ้าง (What is this place like?) นอกจากประเทศญป่ี นุ่ แลว้ ยังมปี ระเทศใดอกี บ้างท่ีเกิดแผ่นดนิ ไหว • อะไรทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ เนื่องจากทำเลที่ตั้งและความสมั พนั ธ์เหลา่ น้ัน (What are the consequences of its location and associations?) ประเทศญ่ีปนุ่ และประเทศอื่นท่ีเกดิ แผ่นดินไหว ตั้งอยู่บนทตี่ งั้ ท่มี ีลักษณะร่วมกันคืออะไร การต้ังคำถามน้ันจะต้องเป็นคำถามท่ีมีความเป็นไปได้ในการหาคำตอบ นำมาสู่การตั้งสมมติฐานของ คำตอบ สะท้อนให้เห็นถึงแนวทางในการรวบรวมข้อมูลเพ่ือหาคำตอบด้วย ในระดับเริ่มต้นการฝึกต้ังคำถาม ควรเริ่มต้นแยกคำถามทางด้านภูมิศาสตร์ออกจากคำถามท่ีไม่ใช่ภูมิศาสตร์ ครูร่วมกันสร้างคำถามด้วยกันโดย ชวนใหน้ กั เรยี นสงสัยเพอ่ื กระตนุ้ ให้เกดิ คำถาม 2

รายงานนวัตกรรมการศึกษา โรงเรยี นโนนเพ็กวทิ ยาคม สพม.ศกยส โดย นายอลงกรณ์ อาษา 2. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาภูมิศาสตร์ เรียกว่า สารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information) เป็น ข่าวสารข้อมูลที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับทำเลที่ต้ัง ลักษณะทางกายภาพและมนุษย์บนทำเลท่ีตั้งเหล่านั้นเม่ือ นักเรียนตั้งคำถามเชิงภูมิศาสตร์ นักเรียนจะต้องรวบรวมข้อมูลจากการอ่านและแปลความหมายจากแผนที่ ภาพถ่าย ข้อมูลสถิติ ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมถึงการเก็บข้อมูลจากการสอบถาม การออก ภาคสนาม และการอา้ งอิงจากเอกสาร การออกภาคสนาม นับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมากในการศึกษาทางภูมิศาสตร์ เป็นการฝึกทักษะ การสังเกตในพ้ืนท่ีจริง จากการสัมภาษณ์ การสอบถาม การบันทึกภาพ การออกภาคสนามจะช่วยกระตุ้นให้ ความอยากรู้อยากเห็น เพลิดเพลิน ช่วยให้เกิดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จากการเก็บข้อมูลจะทำ ให้นกั เรียนเข้าใจลักษณะทางกายภาพและกจิ กรรมของมนษุ ย์ที่เกิดขึ้นในที่ต่างๆ 3. การจดั การข้อมูล นักเรียนทำแผนผัง Timeline แสดงช่วงเวลาของประเพณีและเทศกาลของไทยในภูมิภาคต่างๆ เพ่ือ วเิ คราะห์ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งฤดกู าลกับประเพณี เม่ือนักเรียนได้ข้อมูลแล้ว ก็ต้องดำเนินจัดการและนำเสนอออกไปด้วยวิธีการต่างๆ เพ่ือให้ง่ายต่อการ วิเคราะห์ข้อมูล เพราะข้อมูลที่ได้อาจจะกระจัดกระจาย และไม่เพียงพอ นักเรียนจะต้องนำข้อมูลมาจำแนก และจัดกลุ่มให้อยู่ในรูปแบบแผนภาพ แผนผัง แผนที่ และกราฟ ทำให้เห็นภาพสรุปที่ชัดเจน ในการจัดการ ข้อมลู นน้ั นกั เรียนต้องมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ในการออกแบบวธิ ีการนำเสนอข้อมูลท่เี ปน็ ระบบ การทำแผนที่เป็นวิธีการที่นิยมมากในการจัดการข้อมูล ด้วยการเขียนข้อความหรือบันทึกจากการ สำรวจที่ต้องการนำเสนอไว้ในแผนท่ี การใช้สัญลักษณ์แสดงข้อมูลในแผนที่ เช่น ที่ต้ังของทรัพยากรท่ีมีอยู่บน โลก จดุ ตั้งถังขยะในโรงเรยี น ตำแหน่งทีเ่ กดิ แผน่ ดินไหว พื้นทท่ี ่ปี รากฏปญั หาสิง่ แวดล้อม เป็นการพัฒนาทกั ษะ ในการแปลความหมายและสร้างสรรค์สัญลักษณ์ในแผนที่ การค้นหาทำเลที่ตั้งบนแผนที่ การกำหนดทิศทาง และการใช้มาตราสว่ น 4. การวเิ คราะหข์ ้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการศึกษารูปแบบ ความสัมพันธ์ และความเชื่อมโยงท่ีเกิดขึ้นของ ปรากฏการณ์ต่างๆ ทางภมู ิศาสตร์ ตลอดจนศึกษาแนวโน้ม ความสัมพันธ์ และความต่อเนื่องของปรากฏการณ์ หาความสัมพันธ์สอดคล้องกันและลักษณะท่ีคล้ายกันระหว่างพื้นท่ี เปรียบเทียบกับข้อมูลจากแผนท่ี กราฟ แผนภาพ ตาราง และอน่ื ๆ ด้วยการใช้สถิติอย่างงา่ ยๆ เพื่อใหไ้ ด้คำตอบสำหรับคำถามแผนที่ศึกษารูปแบบและ ความสัมพันธ์ทางพื้นท่ี ตาราง กราฟศึกษาแนวโน้มและความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นต่างๆ เอกสาร ตำรา ศึกษาความหมาย อธิบาย และสงั เคราะห์ คณุ ลักษณะของแต่ละสิ่งท่สี นใจ 3

รายงานนวตั กรรมการศกึ ษา โรงเรยี นโนนเพ็กวทิ ยาคม สพม.ศกยส โดย นายอลงกรณ์ อาษา 5. การสรปุ ข้อมูลเพอื่ หาคำตอบ การสรปุ คำตอบบนฐานข้อมูลทถ่ี ูกเก็บรวบรวม จัดการและการวิเคราะห์อย่างเป็นขัน้ ตอน โดยอ้างอิง ข้อมูล ด้วยการนำเสนอด้วยวาจาและข้อเขียน แสดงคำตอบท่ีแสดงออกถึงความสามารถในการให้เหตุผล และความสามารถในการส่อื สารทช่ี ัดเจน 4. สรปุ ผล การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระที่ 5 เรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือ วิธีสอนโดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) สำหรับ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนโนนเพ็กวิทยาคม อำเภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ สามารถใช้ปัญหาเป็น ตัวกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ เน้นให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะการคิดการเรียนรู้ร่วมกัน ทำให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะใน การคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ เป็นรูปแบบการสอนที่สามารถนำมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของ ผู้เรียนท่ีดีมากวิธีหนึ่งที่ทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา และคิดอย่างสร้างสรรค์ ผู้เรียนมี ส่วนร่วมในการเรียนและได้ลงมือปฏิบัติมากข้ึน ยังมีโอกาสออกไปสู่สถานท่ีจริง สามารถแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ส่งผลให้ครูมีบทบาทในการจัดการเรียนรู้ท่ีชัดเจนมากขึ้นโดยการ เป็นผู้อำนวยความสะดวก โดยการกระตุ้นและให้คำแนะนำเพื่อส่งเสริมให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ และเป็นผ้รู ่วม เรียนรู้ได้เป็นอย่างดี โดยมีการกำหนดขั้นตอนการเรียนรู้เป็น 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 การต้ังคำถามเชิง ภูมิศาสตร์ ขั้นท่ี 2 การเก็บรวบรวมข้อมูล ข้ันท่ี 3 การจัดการข้อมูล ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล ข้ันที่ 5 การ สรุปข้อมูลเพื่อหาคำตอบ ทำให้ครูมีบทบาทให้กำลังใจผู้เรียนในการอภิปรายและเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์และ ช่วยกลุ่มขับเคลื่อนการอภิปรายและรักษาเวลา ให้กลุ่มได้ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ รวมถึงตรวจสอบความ เข้าใจของกลุ่ม และประเมนิ การแสดงออกของสมาชกิ ในกลุม่ 5. ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 1. ได้พัฒนารปู แบบการสอนวิชาสังคมศกึ ษา สาระท่ี 5 ภมู ศิ าสตร์ สำหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรยี นโนนเพก็ วทิ ยาคม อำเภอพยุห์ จังหวดั ศรสี ะเกษ 2. นักเรยี นมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนภมู ศิ าสตร์ เรอื่ ง ทวีปอเมริกาเหนอื ดขี ้ึน 3. ไดท้ ราบเจตคติความพงึ พอใจของนักเรยี นต่อการจดั การเรยี นรู้แบบวธิ ีสอนโดยใช้กระบวนการทาง ภมู ศิ าสตร์ (Geographic Inquiry Process) 4. ได้ทดลองใช้วิธกี ารจัดการเรียนร้แู บบวิธสี อนโดยใช้กระบวนการทางภูมศิ าสตร์ (Geographic Inquiry Process) 5. ได้จดั กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้ที่เนน้ ให้นกั เรยี นได้ลงมือปฏิบตั ิ และศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง 6. การเผยแพร่ (ถา้ ม)ี – 4

รายงานนวัตกรรมการศึกษา โรงเรยี นโนนเพ็กวทิ ยาคม สพม.ศกยส โดย นายอลงกรณ์ อาษา 7. บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2551). ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด. กรรณิการ์ กวางคีร.ี (2554). “การพัฒนาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์และความเข้าใจทีค่ งทนของนักเรยี น ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ที่จัดการเรยี นรแู้ บบสืบเสาะหาความร้.ู ” วิทยานพิ นธ์ปริญญา ศกึ ษาศาสตรม์ หาบณั ฑิต สาขาหลักสตู รและการนิเทศ. นครปฐม บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร. กติ ติคุณ ร่งุ เรือง. (2556). การจัดการเรียนการสอนภูมศิ าสตร์. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน์ . กุหลาบ หงส์ทอง. (2546). “การพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่เก่ยี วข้องกับชุมชน สำหรบั นกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3.” ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลกั สูตร และการนเิ ทศภาควิชาหลกั สูตรและวธิ ีสอน บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. นวลจติ ต์ เชาวกรี ตพิ งศ.์ (2558). ศาสตร์การคดิ : รวมบทความเร่อื งการคิดและการสอนคดิ . กรงุ เทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรุ กจิ บัณฑติ ย์. นาตยา ภัทรแสงไทย. (2525). ยุทธวธิ กี ารสอนสังคมศึกษา. กรงุ เทพฯ : พีรพัฒนา. พรพัฒน์ สธั นรกั ษาเวศ. (2553). “การศึกษาผลการเรียนรแู้ ละความสามารถในการคิด อยา่ งมวี จิ ารณญาณ เร่ือง วิกฤตการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของนักเรยี น ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 โดยการจดั การเรียนรู้แบบสบื เสาะหาความรู้”. ปริญญาศกึ ษา ศาสตรมหาบัณฑติ สาขาสังคมศกึ ษา ภาควิชาหลักสูตรและวธิ ีสอน บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. ลัดดา ศิลาน้อยและคณะ. (2553). โครงการสมั มนาเชิงปฏิบัตกิ าร การพัฒนาสมรรถนะครู สังคมศึกษา ด้วยกระบวนการวิจยั สู่ความเชีย่ วชาญ ตามแนวการจัดการเรียนรูใ้ น ศตวรรษท่ี 21. ขอนแก่น : สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสรา้ งการเรยี นรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ : มูลนธิ สิ ดศรี-สฤษดวิ์ งศ์. สิรวิ รรณ ศรีพหล. (2552). การจัดการเรยี นการสอนกลุม่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. นนทบุรี : โรงพมิ พ์มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. สวุ ทิ ย์ มูลคำและอรทยั มลู คำ. (2546). 21 วิธีการจัดการเรยี นรู้เพ่อื พฒั นากระบวนการคิด. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 5 กรุงเทพฯ: ภาพพมิ พ์. สุวทิ ย์ มูลคำ. (2547). กลยทุ ธ์การสอนคดิ เชิงมโนทัศน์. กรงุ เทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์. สุรางค์ โคว้ ตระกลู . (2553). จิตวทิ ยาการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . Michaelis, John U. (1992). Social Studies for Children A Guide to Basic Instruction. 5

รายงานนวัตกรรมการศึกษา โรงเรยี นโนนเพ็กวทิ ยาคม สพม.ศกยส โดย นายอลงกรณ์ อาษา Tenth Edition. Boston: Allyn and Bacon Nelson, Murry R. (1992). Children and Social Studies. New York: Harcourt Brace Jocanvich College Publishers. 8. ภาคผนวก - Geographic Inquiry Process Model 6

ชื่อเรือ่ ง การจัดการเรยี นรู้แบบวิธีสอนโดยใช้กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) เร่อื ง ทวีปอเมริกาเหนอื ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ผู้จดั ทำ นายอลงกรณ์ อาษา ตำแหนง่ ครชู ำนาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปี พ.ศ. 2563 โรงเรียน โนนเพก็ วทิ ยาคม อำเภอพยหุ ์ จงั หวดั ศรีสะเกษ สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาศรสี ะเกษ ยโสธร

Geographic Inquiry Process Model โรงเรียนโนนเพ็กวทิ ยาคม ตาบลหนองค้า อาเภอพยุห์ จังหวัดศรสี ะเกษ สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาศรสี ะเกษ ยโสธร สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร