บทท่ี 3: การจัดการความปลอดภัยอาหาร (Food Safety Management)
1. ความปลอดภยั อาหาร 2. ประเภทของอนั ตรายในอาหาร หัวข้อ 3. สารทีก่ อ่ ให้เกิดภมู แิ พ้ในอาหาร 4. การป้ องกนั อนั ตรายในอาหาร 5. เคร่ืองหมายรับรองมาตราฐาน อาหารปลอดภยั
Your Food 1. ความปลอดภยั อาหาร is SAFE ????
FOOD & SAFETY • อาหาร คอื อะไร??? • ความปลอดภยั คอื อะไร???
FOOD • อาหาร หมายถึง ของกิน หรื อเครื่องคา้ จุนชีวิต ได้ แก่ วัตถุทุกชนิดท่ีคนกิน ด่ืม อม หรือนาเข้ าสู่ ร่างกาย ไม่ว่าด้วยวิธีใดก็ตาม หรือรูปลกั ษณใดแต่ไม่ รวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท หรือยา เสพติดให้โทษตามกฏหมาย
SAFETY • ความปลอดภัยทางอาหาร คือ ไม่มีสิ่งท่ีเป็ น อนั ตรายต่อการบริโภคท่ีเกิดจากส่วนประกอบตาม ธรรมชาติของอาหาร หรือพิษภัยที่เกิดจากการ กระทาของมนษุ ย์ • Food Safety คือ อาหารท่ีเข้าสรู่ ่างกายไม่ว่า ด้วยวิธีใดก็ตามจะต้อง ไม่มี ส่ิงท่ีเป็ นอันตรายต่อ การบริโภคที่เกิดจากส่วนประกอบตามธรรมชาติ หรือพิษภยั ที่เกิดจากการกระทาของมนษุ ย์ • Food Poisoning คือ อาหารเป็ นพิษโดยเกิด จากการบริ โภคสารพิษที่จุลินทรี ย์สร้ าง , ติด เชือ้ จุลินทรีย์จากอาหารที่บริโภค, สารเคมีที่มีใน อาหารตามธรรมชาติ, สารเคมีที่ปนเปื อ้ นในอาหาร
2. อนั ตรายในอาหาร “ค้นุ ๆว่า...เคยเจอ”
ประเภทของอนั ตรายในอาหาร • อนั ตรายในอาหาร (Hazard in Food) คือ เป็ นสงิ่ ที่มีคณุ ลกั ษณะทางกายภาพ เคมี หรือชีวภาพที่มีอย่ใู นอาหาร หรือสภาวะของอาหารที่มีศกั ยภาพในการก่อให้เกิดปัญหาต่อ สขุ ภาพ แบง่ เป็น 3 กลมุ่ ได้แก่ • อนั ตรายทางกายภาพ (Physical Hazard) • อนั ตรายทางเคมี (Chemical Hazard) • อนั ตรายทางชีวภาพ (Biological Hazard) • อนั ตรายจากสารก่อภมู แิ พ้
อนั ตรายทางกายภาพ (Physical Hazard) สาเหต:ุ 1. ปนเปื อ้ นมาในวตั ถดุ ิบ 2. ใช้เครื่องมอื เครื่องจกั รไมถ่ กู วธิ ี 3. การบารุงรักษาเครื่องมือเครื่องจกั รไมเ่ พียงพอ 4. ผ้ปู ฏิบตั งิ าน ตวั อยา่ งแหลง่ ท่ีมาของอนั ตรายทางกายภาพ • แก้ว: เศษหลอดไฟ และภาชนะอปุ กรณ์ท่ีทาจากแก้ว • โลหะ: เศษภาชนะอปุ กรณ์จากโลหะในครัว และช้อนส้อม ลวดเย็บกระดาษ ฝอยขดั หม้อ และอน่ื ๆ • พลาสติก: เศษอปุ กรณ์ท่ีทาจากพลาสตกิ ภาชนะบรรจุ • หิน: จากสวน,ไร่ • ไม้: เศษภาชนะอปุ กรณ์จากไม้ การเกบ็ รักษา และการขนสง่ • ส่งิ ปลอมปนจากธรรมชาติ: สว่ นท่ีแขง็ และแหลมคมของอาหาร ที่ผ้บู ริโภคไมค่ าดคิดว่าจะอย่ใู น อาหาร เชน่ ก้างปลา กระดกู เปลอื กก้งุ เป็นต้น
อนั ตรายทางเคมี ตวั อยา่ งเช่น นา้ มนั ทอดซา้ (Chemical Hazard) ยาฆ่าแมลง กลอ่ งโฟม ฟอร์มาลิน สารเร่งเนือ้ แดง สารบอแรกซ์ สารกนั รา สารฟอกขาว
นา้ มันทอดซา้ ยาฆ่าแมลง
ฟอร์ มาลนิ
ฟอร์ มาลนิ
สารเร่งเนือ้ แดง
สารเร่งเนือ้ แดง
สารบอแรกซ์
สารกันรา
สารฟอกขาว
อนั ตรายทางชีวภาพ (Biological Hazard) ปรสิต หรือ พาราไซต์ (Parasite) • เป็นสงิ่ มชี ีวิตขนาดเลก็ ต้องอาศยั สง่ิ มีชีวิตอ่ืน (Host) • Food Infection ไมเ่ จริญในอาหาร • บริโภคปลานา้ จืดท่ีมเี กลด็ มพี ยาธิหรือซีสต์ (Cyst) โดยไมผ่ ่าน ความร้ อนเพียงพอ • แยง่ อาหาร และทาให้เป็นโรคขาดธาตอุ าหาร • ก่อให้เกิดอาการปวดท้อง คลืน่ ไส้ อาเจียน อ่อนเพลยี เหน่ือยงา่ ย โลหติ จางเน่ืองจากขาดสารอาหาร • ตวั อยา่ งเช่น พยาธิตวั กลม พยาธิตวั ตืด และพยาธิใบไม้
อนั ตรายทางชีวภาพ (Biological Hazard) โปรโตซัวร์ (Protozoa) • มาจากอจุ จาระของคนและสตั ว์ • ปนเปื อ้ นจากมลู สตั ว์ท่ีเป็ นป๋ ยุ นา้ ไม่สะอาดที่ใช้รดผักผลไม้ หรือจากสขุ ลกั ษณะของคนไมด่ ีพอ • ก่อให้เกิดอาการท้องเสีย เพลีย เจ็บท้อง คล่ืนไส้ นา้ หนักลด เกิดโรคบดิ ถงึ ขนั ้ รุนแรงถ่ายอจุ จาระเป็นเลอื ด • ตัวอย่างเช่น Entamoeba histolytica, Giardia lamblia, Cryptosporidium paravum
อนั ตรายทางชีวภาพ (Biological Hazard) ไวรัส (Virus) • มีชีวติ และเพิ่มจานวนอยภู่ ายในเซลล์ของ Host ไม่เจริญในอาหาร • ปนเปือ้ นสอู่ าหาร/นา้ ผ่านทางสารคดั หลง่ั นา้ มกู นา้ ลาย อาเจียน • ทาลายโดยใช้ความร้อนในการฆา่ เชือ้ • กอ่ ให้เกิดอาการเวียนศรี ษะ ท้องเสยี อาเจียนเกิดเฉียบพลนั เบ่ืออาหาร ตาลาย ท้องผกู อาเจียน ปัสสาวะสีคลา้ อจุ จาระสีซดี แสดงวา่ นา้ ดผี ิดปกติและอาการ บกพร่องของตบั • ตวั อย่างเชน่ Hepatitis A, Norwalk and Norwalk-like virus
3. สารทก่ี ่อให้เกดิ ภูมแิ พ้ในอาหาร
อนั ตรายจากสารก่อภูมแิ พ้ • Allergens หมายถึง สารก่อภมู ิแพ้ที่ก่อให้เกิด ภูมิแพ้ มักเป็ นสารอาหารประเภทโปรตีนท่ีทนต่อ ความร้อน ทนต่อการย่อยในระบบทางเดินอาหาร เช่น การย่อยด้วยกรดในกระเพาะอาหาร และ เอนไซม์ในลาไส้เลก็ • การบริโภคอาหารที่แตกต่างกนั ของแต่ละประเทศ ส่งผลให้อาหารที่ก่อให้เกิดภมู ิแพ้มีความแตกต่าง กัน อีกทัง้ ความแตกต่างทางกรรมพันธ์ุของคน พบว่าอาหารก่อภมู ิแพ้หลกั สาหรับเดก็ ได้แก่ ไข่ไก่ นมววั เนือ้ ววั เนือ้ หมู เนือ้ ไก่ ข้าวสาลี ถ่ัวลิสง ถั่ว เหลือง เมล็ดงา ธัญพืชที่มีกลูเตน (gluten) ปลา ก้งุ กงั้ ปู ซลั เฟอร์ไดออกไซด์ เป็นต้น
อนั ตรายจากสารก่อภูมแิ พ้
4. การป้ องกนั อนั ตรายในอาหาร
การป้ องกนั อนั ตรายทาง กายภาพในอาหาร อันตรายทางกายภาพมีการแพร่กระจายที่ไม่ สม่าเสมอ การสุ่มตวั อย่างอาหารเพ่ือตรวจสอบอันตราย ทางกายภาพจึงไม่ได้ผล ดงั นนั้ ผ้ผู ลิตอาหารจึงต้องเน้นการ ป้ องกนั เป็ นหลกั โดยใช้เคร่ืองมือตรวจจบั วตั ถแุ ปลกปลอม โดยต้องติดตงั้ ในตาแหน่งท่ีเหมาะสม มีการซอ่ มบารุงรักษา เป็นประจา ปรับสภาวะการทางานของเครื่องมือให้ใช้งานได้ จ ริ ง ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร ท า ง า น แ ล ะ มี ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ก า ร ทางานของเครื่องมือเหล่านัน้ เพ่ือความม่ันใจว่าสามารถ ควบคุมอันตรายทางกายภาพได้จริง รวมทัง้ ให้พนักงาน ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบด้านสขุ ลกั ษณะสว่ นบคุ คล ฝึ กอบรม ให้คาแนะนาแก่พนกั งานอยา่ งสม่าเสมอ
เคร่ืองมอื สาหรับตรวจจับหรือกาจดั อนั ตรายทางกายภาพ เคร่ืองมือ หน้าท่ี การตรวจสอบแก้ไข 1. แม่เหลก็ แยกโลหะอนั ตราย การติดตงั ้ การซอ่ มบารุง 2. เคร่ืองจบั โลหะ ตรวจจับวตั ถุที่ทาด้วยเหล็กเฟอรัสท่ีเป็ นอนั ตรายซึ่งมีขนาด การติดตัง้ การซ่อมบารุง การปรับความ ใหญ่กวา่ 1 มิลลิเมตร และวตั ถทุ าด้วยเหลก็ ท่ีไม่ใช่เฟอรัสซึ่ง แมน่ ยา มีขนาดใหญ่กว่า 2 มลิ ลเิ มตร 3. ตะแกรง เคร่ืองร่อน เคร่ืองกรอง เคร่ือง แยกวตั ถแุ ปลกปลอมที่มีขนาดใหญ่กว่ารูตะแกรง เช่น เศษ ธรรมชาติของวัตถุ ขนาดรูตะแกรง การซ่อม แยกหนิ หนิ เศษไม้ เสยี ้ นไม้ บารุง 4. แผ่นรองอาหารในเคร่ืองเขย่า แยกหินจากเมลด็ ถัว่ ขณะทาให้แห้งหรือทวั ร์ที่เก็บมาจากไร่ การตดิ ตงั ้ การซอ่ มบารุง นา
การป้ องกนั อนั ตรายทางเคมีในอาหาร โรงงานอตุ สาหกรรมอาหารต้องมีมาตรการดาเนินการเพ่ือการป้ องกนั ตรายทางเคมี ท่ีก่อให้เกิดโรคอาหารเป็ นพิษ ทงั้ นีอ้ ันตรายทางเคมีไม่ มีการเพ่ิมปริมาณเชน่ อนั ตรายทางชีวภาพ ทาให้ต้อง ใช้การป้ องกนั ในขนั้ ต้นมากกวา่ การสมุ่ ตวั อยา่ งเพื่อตรวจสอบดงั ตอ่ ไปนี ้ 1. การป้ องกันตรายทางเคมีในอาหารตามธรรมชาติ มีหลกั ดงั นี ้ 1.1) คดั เลือกวตั ถดุ ิบโดยกาหนดคณุ ภาพ ตรวจสอบแหลง่ ที่มา ขอใบรับรองจากแหล่งขาย เชน่ การคดั เลอื กรับซอื ้ อาหารแห้ง เชน่ ถว่ั ลิสง พริกแห้ง ข้าวโพด หอมแดง กระเทียมท่ีใหมๆ่ ไม่ขนึ ้ รา โดยการสงั เกตรามีสีเขยี ว สเี ขยี วอมเหลือง สีดา สีขาว ดมวตั ถดุ ิบดตู ้องไม่มีกล่ินเหม็นอบั หรือกิน เหม็นหืน ไมถ่ กู แมลงสตั ว์กดั แทะ ถ้ามีลกั ษณะดงั กลา่ วไม่ควรรับซอื ้ 1.2) รับซอื ้ วตั ถดุ บิ อาหารให้พอเหมาะในแตล่ ะครัง้ และควรเก็บไว้เหอะดิบไว้ให้ในที่แห้งและสะอาด โดยใช้ระบบการจดั เก็บแบบวตั ถดุ บิ ที่ รับเข้ามาผลิตอาหารกอ่ นให้นาไปใช้ก่อน (FIFO, first in first out) และควรมีการสมุ่ ตรวจสารพษิ ทกุ ครัง้ ท่ีเปล่ยี นแปลงแหล่งวตั ถดุ บิ 1.3) ไมน่ าพืชและสตั ว์ท่ีมีพษิ มาใช้เป็นวตั ถดุ ิบในการแปรรูปอาหาร
การป้ องกนั อนั ตรายทางเคมีในอาหาร 2. การป้ องกันตรายทางเคมจี ากสารพษิ ตกค้าง สารปนเปื้อนและสารปรุงแต่งอาหาร มีหลกั ดงั นี ้ 2.1) คดั เลอื กซอื ้ วตั ถดุ ิบที่มีสารพษิ ปนเปือ้ นในปริมาณท่ีน้อยท่ีสดุ ท่ีได้คณุ ภาพตามกฎหมาย มาตรฐานความ ปลอดภยั ด้านอาหารและมีการตรวจติดตามการปนเปือ้ นตามเวลาท่ีเหมาะสม 2.2) ควบคมุ แหลง่ ผลติ วตั ถดุ บิ โดยการจดั ทาสญั ญาสญั ญาผกู พนั ควบคมุ การใช้สารเคมีท่ีแหลง่ ผลิต เช่น ยา ปฏิชีวนะ คณุ ภาพอาหารสตั ว์ ฝึกอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา รวมทงั้ ตรวจสอบสารพิษตกค้างตาม ชว่ งเวลา 2.3) นากฎหมายและมาตรฐานอาหารมาใช้ควบคมุ การผลิต การใช้วตั ถเุ จือปนอาหารและภาชนะบรรจุ อาหาร ศกึ ษาคณุ สมบตั ิ วธิ ีการใช้ท่ีถกู วธิ ีและปริมาณท่ีเหมาะสม
การป้ องกนั อนั ตราย โรงงานอตุ สาหกรรมอาหารต้องนาหลกั การสขุ าภิบาลอาหาร ทางชีวภาพในอาหาร ไปดาเนินการเพ่ือการป้ องกนั อนั ตรายทางชีวภาพจากแบคทีเรีย ไวรัส พยาธิและโปรโตซวั ที่กอ่ ให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษ ดงั ตอ่ ไปนี ้ 1. การคัดเลือกวตั ถุดบิ 2. การทาความสะอาด 3. การเก็บรักษา 4. การแยกอาหารเป็ นหมวดหมู่ 5. กระบวนการแปรรูปอาหาร 6. สุขลักษณะส่วนบุคคล 7. การกาจดั ของเสีย
การป้ องกนั อนั ตรายทางชีวภาพในอาหาร
การป้ องกนั อนั ตรายทางชีวภาพในอาหาร
การป้ องกนั อนั ตรายทางชีวภาพในอาหาร
การป้ องกนั อนั ตรายจากสารก่อภูมแิ พ้ • ต้องมกี ารทบทวนแหลง่ ผลติ วตั ถดุ ิบท่ีรับเข้ามา โดยเลือกผ้ขู ายที่มีระบบการจดั การภายในท่ี ดี ก่อนจดั ซือ้ ต้องมีการตรวจสอบโรงงานผ้ขู ายวตั ถดุ ิบ เพ่ือให้มน่ั ใจถึงการจดั การกบั สารก่อ ภมู แิ พ้ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ • การปนเปื ้อนข้ ามในระหว่างกระบวนการและการทาความสะอาด พิจารณาดูว่า สายการผลิตใดที่มีส่วนประกอบของสารก่อภูมิแพ้และไม่มีสารก่อภูมิแพ้ โดยต้องมีระบบ การเปลี่ยนหรือการล้างทาความสะอาดท่ีมนั่ ใจได้ว่าสารก่อภูมิแพ้ไม่ตกค้ างก่อนท่ีเปล่ียน สตู รใหม่ • ต้องมีการทวนสอบโดยวิธีทางห้องปฏบิ ตั ิการ • การจดั การสนิ ค้าท่ีนามาผลติ ใหมต่ ้องมนั่ ใจวา่ ไมน่ าผลติ ภณั ฑ์ที่ เกิดจากการนามาผลิตใหม่ และมีสารก่อภมู แิ พ้มาใช้ในการผลติ สตู รท่ีต้องการปลอดสารก่อภมู แิ พ้ • สแลร้ าะงทครวาบามถตึงอรนะั หตนราักยใขนอเรงื่อสงาอรกา่อหภามูรกแิ ่อพภ้ทูมี่สิแง่ ผพล้ ดต้ว่อยผก้บู ารริโจภัดคฝึ กอบรมเพื่อให้ทราบการจดั การ • ฉลากต้องมกี ารระบสุ ารก่อภมู แิ พ้ที่ใช้ในสตู รของการผลติ ให้ผ้บู ริโภคทราบเพ่ือให้เกิดความ ระมดั ระวงั ในการเลือกซือ้ และบริโภค
5. เคร่ืองหมายรับรองมาตราฐานอาหารปลอดภยั
เครื่องหมายรับรองมาตรฐาน อาหารปลอดภยั : GAP • Good Agriculture Paractice (GAP) คือ การปฏิบตั ิในการผลิตพืชเพื่อให้ ผลผลิตได้มาตรฐานปลอดภยั ปลอดศตั รูพืช และคณุ ภาพถกู ใจ • “Food Safety Begins on the Farm”
เครื่องหมายรับรองมาตรฐาน อาหารปลอดภยั : GHP • Good Hygiene Practice (GHP) คือ มาตรฐาน สขุ ลกั ษณะท่ีดีในการผลติ อาหาร • ประยกุ ต์ใช้หลกั เกณฑ์วิธีการท่ีดีในการผลติ อาหาร (GMP) ให้เหมาะสมและสอดคล้องกบั กจิ กรรมการผลติ อาหารของ กลมุ่ ชมุ ชน
เคร่ืองหมายรับรอง มาตรฐานอาหารปลอดภยั : GMP • GMP (Good Manufacturing Practice) • สขุ ลกั ษณะสถานที่ตงั ้ อาคารผลติ • เครื่องมอื เครื่องจกั ร อปุ กรณ์การผลิต • การควบคมุ กระบวนการผลติ • การสขุ าภิบาล • การบารุงรักษา และการทาความสะอาด • บคุ ลากรและสขุ ลกั ษณะเพ่ือการปฏบิ ตั ิงาน
เครื่องหมายรับรอง มาตรฐานอาหาร ปลอดภัย: GMP
เครื่องหมายรับรอง มาตรฐานอาหาร ปลอดภัย: GMP
เคร่ืองหมายรับรองมาตรฐานอาหาร ปลอดภยั : HACCP • HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Point) คือ ระบบวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมเพื่อ ควบคมุ อนั ตราย ณ จุด หรือขนั้ ตอนการผลิตท่ีอนั ตรายเหล่านัน้ มีโอกาส เกิดขนึ ้ จงึ สามารถประกนั ความปลอดภยั ของอาหารที่ยอมรับกนั ว่าสามารถ ป้ องกันอันตรายและส่ิงปนเปื ้อนได้ดีกว่าการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ขัน้ สดุ ท้าย หรือควบคมุ คณุ ภาพท่ีใช้กนั อยู่ • โดยระบบ HACCP จะเน้นการควบคมุ กระบวนการผลติ ในจดุ หรือขนั้ ตอน ท่ีสาคญั ที่สามารถประยกุ ต์วิธีการควบคมุ เข้าไปใช้ได้ โดยพิจารณาตงั้ แต่ วัตถุดิบ กระบวนการผลิต การขนส่ง จนถึงผู้บริโภค นอกจากนัน้ ระบบ HACCP ยงั มีศกั ยภาพในการระบบุ ริเวณหรือขนั้ ตอนการผลิตที่มีโอกาส เกิดความผิดพลาดขนึ ้ ได้ แม้ว่าจุดหรือในขนั้ ตอนดงั กล่าวจะยังไม่เคยเกิด อนั ตรายมาก่อนซงึ่ นบั วา่ เป็นประโยชน์อยา่ งย่ิง
เครื่องหมายรับรองมาตรฐาน อาหารปลอดภยั : BRC • BRC (The British Retail Consortium) คือ สมาคมผู้ประกอบธุรกิจค้าปลีกแห่งสหราชอาณาจักร เป็ น มาตรฐานความปลอดภยั ทางอาหาร (Food Safety) ท่ี เกิดจากการรวมกลุ่มขององค์กรค้ าปลีกขนาดใหญ่ เช่น Tesco, Sainsbury’s, Iceland Foods, Waitrose, Safeway, The Co-operative Group, และ Asda Stores • มาตรฐาน BRC ฉบบั ปัจจบุ นั เป็ นฉบบั ท่ี 4 (Issue 4) มี ผลบงั คบั ใช้เมอ่ื ปี ค.ศ.2005
เคร่ืองหมายรับรองมาตรฐาน อาหารปลอดภัย: HALAL • อาหารฮาลาล (Halal Food) หมายถึง อาหารหรือ ผลิตภัณ ฑ์ อ า หา รซ่ึง อนุมัติต ามบัญญัติ ศา สน า อิ ส ล ามให้ มสุ ลมิ บริโภคหรือใช้ประโยชน์ได้ • “เคร่ืองหมายฮาลาล” คือเครื่องหมายท่ีคณะกรรมการฝ่ าย กิจการฮาลาลของคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศ ไทย หรือคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดต่าง ๆ ได้ อนุญาตให้ผู้ประกอบการทาการประทับ หรือแสดงลงบน สลาก หรือผลติ ภณั ฑ์ หรือกิจการใด ๆ
เครื่องหมายรับรองมาตรฐาน อาหารปลอดภัย:อาหารปลอดภัย • โครงการ “อาหารปลอดภยั ” (Food Safety) • เป็ นสัญลักษณ์ให้ กับฟาร์ม แหล่งปลูกท่ีดาเนินการตาม GAP, COC และ GMP รับผิดชอบโดยกรมวิชาการ เกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • เป็ นการรับรองสินค้าอาหารและรับรองระบบการจดั การด้าน ความปลอดภยั คุณภาพอาหาร เช่น ระบบ GAP, COC (Code of Conduct), GMP, HACCP เป็นต้น • รับรองสนิ ค้าท่ีไมใ่ ช่อาหาร เชน่ ปัจจยั การผลติ ทางการเกษตร รั บรองระบบอ่ื นๆที่ไม่ใช่ด้ านความปลอดภัยและคุณ ภาพ อาหาร
เคร่ืองหมายรับรองมาตรฐานอาหาร ปลอดภยั :สุขภาพดี เริ่มทอี่ าหารปลอดภยั • เคร่ืองหมาย “สขุ ภาพดี เริ่มท่ีอาหารปลอดภยั ” (Safe Food Good Health) • ใช้กับอาหารสด เป็ นสัญลักษณ์ให้กับร้ านค้าที่แผงที่ จาหน่ายอาหารสด ในตลาดสดและซปุ เปอร์มาเก็ต • รับผิดชอบโดย สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ
Search