Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียน​รู้​1_63

แผนการจัดการเรียน​รู้​1_63

Published by pennapa29darknight, 2020-10-07 13:07:36

Description: แผนการจัดการเรียน​รู้​1_63

Search

Read the Text Version

43 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 7 มุ่งเนน้ สมรรถนะอาชีพและบูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง วิชา เครื่องมือวดั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์ รหสั วชิ า 30105-1002 สปั ดาหท์ ี่ 17 ช่ือเร่อื ง เคร่อื งกำเนดิ สัญญาณ จำนวน 5 ช่วั โมง สาระสำคัญ เครือ่ งกำเนิดสัญญาณ หรอื เรียกว่า ซิกแนล เจนเนอเรเตอร์ ( Signal Generator ) เปน็ เคร่ืองมอื วดั และทดสอบทส่ี ำคัญชนิดหนง่ึ ทำหน้าทเี่ ป็นตวั กำเนดิ สัญญาณต่าง ๆ ข้ึนมา สมรรถนะรายหน่วย 1. ใช้เครอ่ื งกำเนิดสัญญาณในการทำงาน จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ทั่วไป เพ่ือศึกษาหลกั การทำงาน การใชง้ านและชนดิ ของซิกแนล เจนเนอเรเตอร์ ( Signal Generator ) แบบต่าง ๆ จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 7.1 นกั ศึกษาสามารถอธบิ ายหลักการทำงานของเครื่องกำเนิดสัญญาณแบบฟงั กช์ นั ก์ 7.2 นกั ศกึ ษาสามารถอธบิ ายวิธีการใชง้ านของฟงั กช์ นั เจนเนอเรเตอร์ ได้ 7.3 นกั ศกึ ษาสามารถอธบิ ายหลักการทำงานของเครื่องกำเนิดสญั ญาณพลั ส์ ได้ 7.4 นักศกึ ษาสามารถอธิบายหลักการทำงานของเคร่ืองกำเนิดสญั ญาณความถ่ีเสียงได้ 7.5 นกั ศึกษาสามารถอธบิ ายหลักการทำงานของเครื่องกำเนิดสญั ญาณความถ่วี ิทยุ ได้ 7.6 นกั ศกึ ษาสามารถอธิบายหลักการทำงานของเคร่ืองกำเนิดสญั ญาณแบบกวาด ได้ 7.7 นักศกึ ษาสามารถอธิบายวธิ กี ารบำรงุ รักษาเคร่ืองกำเนิดสญั ญาณ ได้ การบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 3 ห่วง 1. หลกั ความพอประมาณ 1. แบง่ งานและความรับผิดชอบตามศักยภาพของแตล่ ะคน 2. ทำงานให้สำเรจ็ ตามเวลาท่ีกำหนด 3. จัดเตรียมวัสดุ - อุปกรณ์และสื่อการสอนที่ใช้ในการเรียนการสอน ให้เหมาะสมกับกิจกรรม และจำนวนผู้เรยี น 2. หลักความมีเหตุผล 1. เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้นและเป็นส่วนช่วยให้ปฏิบัติได้ถูกต้อง ทำให้กิจกรรมดำเนินบรรลุ วตั ถปุ ระสงค์ 2. เพือ่ ใหง้ านออกมาสำเรจ็ ตามเป้าหมายทก่ี ำหนด

44 3. หลักภูมคิ ุ้มกัน 1. วางแผนการทำงานรว่ มกันภายในกลุ่มด้วยความรอบคอบ 2. ระมัดระวังการใช้อปุ กรณไ์ ม่ใหเ้ กดิ อันตรายและความเสยี หาย 3. จดั เก็บอปุ กรณ์ใหเ้ ป็นระเบยี บหลงั การใช้งาน 2 เงอื่ นไข 1. เง่ือนไขความรู้ 1. นักเรียนเขา้ ใจหลักการเครอื่ งกำเนดิ สัญญาณได้ 2. นักเรียนสามารถวดั และอา่ นคา่ ได้ 2. เงอ่ื นไขคุณธรรม 1. เปน็ ผมู้ ีความอดทนในการทำงานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ 2 เปน็ ผ้มู ีความรับผิดชอบงานทไี่ ด้รับมอบหมาย 3. เป็นผู้มีน้ำใจ เออื้ เฟอื้ 4. การทำงานเปน็ ทีม 5. เปน็ ผู้มคี วามเพียรและใฝ่รู้ สาระการเรียนรู้ 7.1 เครือ่ งกำเนิดสัญญาณแบบฟังก์ชนั ( Function Generator ) หรือ เรียกว่า ฟงั ก์ชันเจน เนอเรเตอร์ เปน็ เครอ่ื งกำเนดิ ท่สี ามารถผลติ สญั ญาณออกมาไดห้ ลายรปู แบบใหเ้ ลือกตามลักษณะการใช้ งาน ยกตวั อย่างเช่น สญั ญาณรูปคล่นื ซายน์ ( Sine Wave ) สญั ญาณรปู คล่ืนส่ีเหลยี่ ม ( Square Wave ) สัญญาณรปู คลืน่ ฟันเลอื่ ย ( Sawtooth Wave ) ซ่ึงฟังกช์ ันเจนเนอเรเตอร์ เปน็ เคร่ืองกำเนดิ ที่มี การใช้งานอย่างกวา้ งขวาง สามารถผลติ รูปคล่นื สญั ญาณตงั้ แต่ความถต่ี ่ำไปจนถึง ความถ่ีทีเ่ ปน็ เมกะเฮิรตซ์ (MHz) วงจรชมติ ทรกิ เกอร์ ( Schmit trigger ) ทำหนา้ ทีเ่ ปล่ียนสัญญาณรูปคลน่ื สามเหลย่ี ม ให้ เปน็ สัญญาณรูปคลืน่ สเี่ หลี่ยม แล้วสง่ ต่อไปยังสวิตช์เลือกสัญญาณออกไปใช้งาน วงจรซายนเ์ วฟ คอนเวอร์เตอร์ ( Sine wave Converter ) ทำหนา้ ทีเ่ ปลยี่ นสญั ญาณ รูปคลื่นซายน์ ( Sine Wave ) แลว้ สอ่ งสญั ญาณต่อไปยังสวิตช์เลอื กสัญญาณออกไปใช้งาน สวติ ชเ์ ลอื กสญั ญาณออกไปใช้งานหรอื เรยี กว่า ซีเลก็ เตอรส์ วติ ช์ ( Selecter Switch ) เป็น สวิตช์ทใี่ ชส้ ำหรบั เลอื กสญั ญาณของรูปคลื่นต่างๆ ออกไปใช้งาน ตามทเี่ ราต้องการ โดยต่อ ผา่ นวงจรการควบคมุ ความแรงของสัญญาณเอาท์พุท ( Out put ) วงจรนี้เรยี กว่า แอ็ ดเทน็ นเู อเตอร์ ( Attenuator ) 7.2 เครอ่ื งกำเนิดสญั ญาณพัลส์ หรอื พัลซเ์ จนเนอเรเตอร์ คือ เคร่ืองกำเนิดสัญญาณพัลซ์รปู สีเ่ หลย่ี ม ซึ่งสามารถปรับคา่ ดิวตี้ไซเก้ิล ดวิ ต้ไี ซเก้ลิ ( Duty Cycle ) คือ อัตราสว่ นระหว่างความกวา้ งของพลั ซ์หรือชว่ งท่ีมีพัลซ์ต่อ คาบเวลาของพลั ซ์ โดยคดิ ออกมาเป็น %

45 7.3 เครอื่ งกำเนิดสญั ญาณความถเ่ี สยี ง ( Audio Frequency Generator ) ใชอ้ กั ษรยอ่ ว่า เอ. เอฟ AF เป็นเครอื่ งกำเนิดสัญญาณความถี่ต่ำซ่ึงเปน็ ย่านความถีเ่ สียงเป็นตัวกำเนดิ สัญญาณรูปคลื่นซายน์ ( Sine Wave ) และรปู สเ่ี หล่ียมในย่านความถเี่ สยี ง ในชว่ ง 20 Hz - 20 KHz ใช้เปน็ ตัวทดสอบวงจร อเิ ล็กทรอนิกส์ ในยา่ นความถี่เสยี ง สามารถปรบั ความแรงของสญั ญาณได้สงู สุดประมาณ 25 V มี ความตา้ นทานทางด้านเอาท์พุท 75 โอหม์ หรือ 600 โอหม์ 7.4 เครื่องกำเนดิ สัญญาณความถี่วิทยุ เป็นเครอื่ งกำเนิดท่ีมคี วามถี่สงู กวา่ เคร่ืองกำเนิดสัญญาณความถ่ี เสียง น่ันคอื มคี วามถี่ที่ผลติ ออกมา ต้ังแต่ 20 KHz –30 MHz ใชใ้ นการทดสอบวงจรทใี่ ช้ความถใี่ น ย่านวิทยุเข้าดว้ ยกนั เรยี กว่า การมอดเู รทเคร่ืองกำเนดิ สญั ญาณแบบกวาด 7.5 เครอ่ื งกำเนิดกำเนดิ สัญญาณแบบกวาด หรือ เรียกวา่ สวีฟ เจนเนอเรเตอร์ เป็นเครือ่ งกำเนดิ สญั ญาณรูปคลืน่ ซายน์ ในชว่ งคล่นื ความถว่ี ิทยุ หรือ เรดิโอ ฟรีเควนซี (Radio Frequency) โดยสา มาถเปลี่ยนแปลงความถี่ได้โดยสม่ำเสมอตลอดผ่านความถ่ี ใช้ในการตรวจสอบหาคุณสมบตั ิ ของอปุ กรณ์ และวงจรต่าง ๆ เช่น วงจรขยายความถี่กลาง หอื ไอเอฟ แอมปลิไฟเออร์ ในเคร่ืองรบั วงจรขยายย่าน ความถีว่ ทิ ยุ กจิ กรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรมครู กจิ กรรมนกั เรยี น ขั้นท่ี 1 ขนั้ การนำเขา้ สบู่ ทเรยี น (Motivation) 1. ครขู านช่ือ 1. นกั เรียนขานช่ือ 2. ครทู บทวนเนื้อหาท่ไี ด้เรียนไปในสัปดาหท์ ผ่ี ่านมา 2. นักเรียนตัง้ ใจฟงั เน้ือหาท่ีครทู บทวน ขั้นที่ 2 ขน้ั การสอน (Information) 1. นกั เรียนตอบคำถาม 2. นกั เรียนจดบันทกึ 1. ครสู อนเนื้อหาสาระท้ังหมด โดยบรรยาย ถามตอบ ประกอบสื่อ PowerPoint 2. ครูสาธติ วิธีการคำนวณคา่ ผดิ พลาดจาก ขน้ั ที่ 3 ขน้ั การประยกุ ตใ์ ช้ (Application) 1.มอบงาน ใบงานท่ี 7 เร่ือง เครอ่ื งกำเนดิ สัญญาณ 1. นักเรยี นทำใบงานท่ี 7 เครอ่ื งกำเนิด สญั ญาณ ขนั้ ท่ี 4 ขน้ั สมั ฤทธผิ์ ล (Progress) 1. ครูตรวจสอบความถูกต้องของแบบฝกึ หดั 1. นักเรยี นฟังผลการประเมนิ จากครู 2. ครูบนั ทกึ ข้อมลู เกี่ยวกบั กจิ กรรมการเรยี นหลังการ 2. นกั เรียนช่วยกันทำความสะอาดห้องเรยี น สอน จัดโตะ๊ เก้าอีใ้ ห้เรียบร้อย

46 สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ 1. ส่ือการเรียนรู้ หนังสอื เรียนวิชาเครอ่ื งมือวดั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์ หนว่ ยที่ 7, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรยี น 2. แหล่งการเรยี นรู้ หนังสือ วารสารเก่ียวกบั เครื่องมือวดั ไฟฟา้ , สือ่ ออนไลน์ การวดั และประเมนิ ผล การวัดผล การประเมินผล (ใช้เคร่อื งมอื ) (นำผลเทียบกับเกณฑ์และแปล ความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre–test) หน่วยที่ 7 (ไว้เปรียบเทียบกับคะแนนสอบหลังเรยี น) 2. แบบสงั เกตการทำงานกลมุ่ และนำเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่าน 60% 3. แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 7 เกณฑผ์ า่ น 50% 4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนว่ ยท่ี 7 เกณฑผ์ ่าน 50% 5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจริง เกณฑ์ผา่ น 60%


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook