คตชิ นอาเซียน อ.ดร.สุกญั ญาโสภี ใจกลา่ํ
ความหมายของ “คตชิ น” Folklore กลุ่มชนใด ๆ ทมี่ สี ่วนร่วมกนั ในปัจจยั หรือกจิ กรรม folk อย่างน้อยหน่ึงอย่างซึ่งกจิ กรรมทร่ี ่วมกนั อาจเกยี่ วกบั สัญชาติ เชื้อชาติ ศาสนา อาชีพ เครือญาติ หรือ ปัจจยั ใด ๆ ทคี่ ล้ายคลงึ กนั lore ความรู้ทถี่ ่ายทอดสืบต่อกนั มา
คตชิ น คติ น. แบบอย่าง, วธิ ี, แนวทาง ชน, ชน- (ชนนะ-) น. คน (มักใช้ในภาษาหนังสือ) คตชิ น จงึ หมายถงึ แบบอย่างหรือแนวทางของปวงชน สรุปได้ว่า คติชนเป็ นมรดกทางวัฒนธรรมที่รับช่วงกัน ต่อ ๆ มา มีวิธีถ่ายทอดจากคนรุ่นหน่ึงไปยงั คนอีกรุ่นหน่ึง โดย วธิ ีบอกเล่าเป็ นข้อมูลมุขปาฐะ ปฏิบตั แิ ละจดจาํ กนั ต่อ ๆ มา
ราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติศัพท์คําว่า Folklore เป็ นคําไทยว่า คติชาวบ้าน ซึ่งหมายถึง น. เร่ืองราวของ ชาวบ้านท่ีเป็ นของเก่าเล่าต่อปากและประเพณีสืบ ๆ กันมา หลายชั่วอายุคนในรูปคติความเช่ือ ประเพณี นิทาน เพลง ภาษิต ปริศนา คําทาย ศิลปะ สถาปัตยกรรม การละเล่น ของเดก็ เป็ นต้น (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, 2556, หน้า 226)
คตชิ น วฒั นธรรม ทุกสิ่งทุกอย่างท่ีเป็ นผลผลิตของมนุษย์ในสังคม เป็ นต้นว่าความคดิ ความรู้สึก ความประพฤติ กริ ิยาอาการ ศิลปะ ประเพณี กฎหมาย ประดิษฐกรรมต่าง ๆ ท่ีสังคม ยอมรับและปฏบิ ตั สิ ืบต่อกนั มาต้งั แต่อดตี จนถงึ ปัจจุบนั คตชิ นอาเซียน จงึ หมายรวมเป็ นการศึกษาวฒั นธรรมต่าง ๆ ในประเทศอาเซียนเช่นเดยี วกนั
ประเภทของคตชิ นอาเซียน 1. ประเภทมุขปาฐะ (Verbal Folklore) ข้อมูลประเภทที่มีการเล่าแบบปากต่อปากกันมา จากคนรุ่นหน่ึงไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง โดยมิได้จดบันทึก เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร ได้แก่ 1.1 ภาษาถนิ่ 1.2 นิทานพนื้ บ้าน 1.3 ปริศนาคาํ ทาย 1.5 เพลงพนื้ บ้าน 1.4 สํานวน สุภาษติ
2. ประเภทอมุขปาฐะ (Non Verbal Folklore) ข้อมูลประเภทท่ีไม่ได้เป็ นการเล่าแบบปากต่อปาก หรือเป็ นข้อมูลที่ไม่ได้ใช้ภาษาในการส่งต่อมาสู่คนอีกรุ่น หน่ึง ได้แก่ 2.1 ศิลปะพนื้ บ้าน 2.2 หัตถกรรมพนื้ บ้าน 2.3 สถาปัตยกรรมพนื้ บ้าน 2.4 การแต่งกายพนื้ บ้าน 2.5 ดนตรีพนื้ บ้าน 2.6 อาหารพนื้ บ้าน
3. ประเภทผสม (Partly Verbal Folklore) เป็ นข้อมูลผสมระหว่างชนิดท่ตี ้องใช้ภาษาและไม่ใช้ ภาษาประกอบกัน และยังมีการกระทําหรือกิจกรรม ผสมผสานไว้ด้วย ได้แก่ 3.1 ความเช่ือ โชคลาง 3.2 การละเล่นพนื้ บ้าน 3.3 การร้องรํา 3.4 ประเพณี พธิ ีกรรม
บทเพลงหลกั ของประเทศ คอื เพลงชาติ เพลงชาติส่วนใหญ่เกดิ ขนึ้ จากเพลงท่ปี ระชาชนนิยม คือ ไม่ว่าจะ ทุกข์หรือสุข หรือโอกาสสําคัญใด ๆ ประชาชนก็มักร้องเพลงนี้ ซ่ึง เพลงที่นิยมนี้จะมีลักษณะความเป็ นลัทธิชาตินิยมหรือก่อให้เกิด ความรักชาติของตน บางทีนักประพันธ์เพลงก็ไม่ได้ต้องการ ประพันธ์เพลงชาติโดยตรง แต่ผลงานของเขาไปกระตุ้นให้เกิด ความรักชาตแิ ละเป็ นทน่ี ิยมเอง นอกจากจะเป็ นเครื่องมือในการสร้ างให้คนในชาติมีความ ภาคภูมิใจและรักชาติแล้ว ยังแสดงให้เห็นถึงจุดมุ่งหมายและ เอกลกั ษณ์ของคนในชาตอิ กี ด้วย
1. เพลงชาตไิ ทย ทาํ นอง พระเจนดุริยางค์ (ปิ ติ วาทยะกร) คาํ ร้อง พนั เอก หลวงสารานุประพนั ธ์ (นวล ปาจณิ พยคั ฆ์) 2. เพลงชาตฟิ ิ ลปิ ปิ นส์ บทร้องฉบับทางการภาษาฟิ ลปิ ิ โน ชื่อ เพลงลูปังฮินิรัง (Lupang Hinirang) แปลว่า “แผ่นดนิ อนั เป็ นทรี่ ัก” 3. เพลงชาตมิ าเลเซีย ชื่อเพลง เนการากู (Negaraku) แปลว่า “ประเทศของฉัน”
4. เพลงชาตสิ ิงคโปร์ ช่ือเพลง มาจูละห์ ซีงาปูรา (MajulahSingapura) แปลว่า “สิงคโปร์จงเจริญ” 5. เพลงชาติอนิ โดนีเซีย ชื่อเพลง อนิ โดนีเซีย รายา (Indonesia Raya) แปลว่า “อนิ โดนีเซียอนั ยง่ิ ใหญ่” 6. เพลงชาตบิ รูไน ช่ือเพลง อลั เลาะห์เปอลฮิ ารากนั สุลต่าน (Allah Peliharakan Sultan) แปลว่า “ขอพระเจ้าทรงพทิ กั ษ์องค์สุลต่าน”
7. เพลงชาติเวยี ดนาม ชื่อเพลง เต๋ยี น เกวนิ กา (TiếnQuânCa) แปลว่า “มาร์ชทหารเวยี ดนาม” 8. เพลงชาตเิ มยี นมาร์ ช่ือเพลง คาบา มา จี (Kaba ma kyei) แปลว่า “ขอประเทศเมยี นมาร์คงอยู่ชั่วนิรันดร์” 9. เพลงชาตลิ าว ชื่อ เพงซาดลาว 10. เพลงชาติกมั พูชา ช่ือเพลง นครราช (Nokoreach) แปลว่า “เมอื งของพระเจ้าแผ่นดนิ ”
สํานวน สุภาษติ อาเซียน พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2554 ไดใ้ ห้ ความหมายของสุภาษิต (2556, หน้า 1245.) ไวว้ ่า “ถอ้ ยคาํ หรือขอ้ ความที่กล่าวสืบต่อกนั มาช้านานแลว้ มีความหมาย เป็ นคติสอนใจ เช่น รักยาวให้บนั่ รักส้ันให้ต่อ น้าํ เช่ียวอย่า ขวางเรือ” ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงการสอนเร่ืองดีงาม จึงสรุปได้ วา่ สุภาษิตเป็นขอ้ ความท่ีมีลกั ษณะเป็นคาํ สอน เพ่ือใหเ้ ป็นคติ สอนใจ
สํานวน มีความหมายวา่ “ถอ้ ยคาํ ที่เรียบเรียง, โวหาร, บางทีก็ใช้ว่าสํานวนโวหาร, เช่น สารคดีเร่ืองน้ีสํานวน โวหารดี, ถอ้ ยคาํ ที่แสดงออกมาเป็ นขอ้ ความพิเศษ เฉพาะ ภาษาหน่ึง ๆ เช่น สาํ นวนฝรั่ง จึงสรุปไดว้ า่ สาํ นวนเป็ นขอ้ ความท่ีมีความหมายแฝงอยู่ ใช้ เปรียบกับพฤติกรรมของมนุษย์ เช่น ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น หรือ ลิ้นกับฟัน เป็ นต้น ซ่ึงส่วนใหญ่เรามกั จะใช้คู่กันเป็ น “สาํ นวนสุภาษิต” เสมอ
กจิ กรรมหลงั เรียน 1. ให้นักศึกษาตอบคาํ ถาม “กจิ กรรมที่ 1” ลงในสมุด 2. ให้ยกตัวอย่างสํานวนสุภาษิต มาคนละ 1 สํานวน แล้ว เปรียบเทียบกับสํานวนสุภาษิตของประเทศอ่ืน ๆ ท่ีมีความ คล้ายคลึงกัน หรือหากไม่มีสํานวนสุภาษิตที่เหมือนกัน ให้ อธิบายสาเหตุที่สํานวนสุภาษิตน้ัน ๆ ไม่มีลักษณะเหมือนกับ ประเทศอนื่ เลย โดยให้นักศึกษาเขยี นสํานวนทห่ี ามาได้ลงในกระดาษ A4
พบกนั สัปดาห์หน้า สวสั ดคี ่ะ
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: