Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการสอนเรื่อง หน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย

สื่อการสอนเรื่อง หน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย

Description: สื่อการส่งเสริมสุขภาพ

Search

Read the Text Version

• ระบบไหลเวยี นโลหิต • ระบบยอ่ ยอาหาร • ระบบต่อมไรท้ อ่ • ระบบผวิ หนัง • ระบบกลา้ มเน้ือ • ระบบประสาท • ระบบสืบพนั ธุ์ • ระบบหายใจ • ระบบโครงรา่ ง • ระบบภูมิค้มุ กัน • ระบบน้าเหลอื ง • ระบบขับถา่ ย ทมี่ า:https://www.bodin.ac.th/home/wpcontent/uploads/2013/08/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0 %B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%882%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%8 7%E0%B9%86%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B 8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B9%8C.pdf



• ระบบไหลเวยี นโลหิต (Circulatory system) ทม่ี า:https://www.health2click.com/2018/05/08/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A% • มีหน้าท่ีในการเคลื่อนย้าย เลือด สารอาหาร ออกซิเจน E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5% E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%95/ คาร์บอนไดออกไซด์และฮอร์โมนไปทั่วร่างกาย โดยมีอวัยวะ ประกอบด้วย หัวใจ เลือด หลอดเลือดแดง หลอดเลือดด้า หลอดเลือดฝอย โดยเลือดด้า หรือเลือดที่มีออกซิเจนต้่าจาก ทั้งส่วนบนและส่วนล่างของร่างกาย จะไหลเข้าสู่หัวใจทาง ห้องบนขวา หลังจากนั้นจะบีบตัวส่งเลือดสู่หัวใจห้องล่างขวา เพื่อบบี ตวั ส่งเลือดไปยงั ปอด โดยเลอื ดด้าจะผ่านเข้าไปในเส้น เลือดฝอยรอบ ๆ ถุงลมปอด แล้วส่งผ่านคาร์บอนไดออกไซด์ ให้กับถุงลมปอด พร้อมรับออกซิเจนเข้ามาแทน เป็นผลให้ เลือดด้ากลายเป็นเลือดแดง หรือเลือดที่มีออกซิเจนสูง หลังจากนั้นจะไหลออกจากปอด กลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย ต่อมายังหัวใจห้องล่างซ้าย เพื่อบีบเลือดไปเล้ียงส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย

• หัวใจ (Heart, Cardio) มีหน้าที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยอยู่บริเวณส่วนกลางของช่องอก ขนาบข้างด้วยปอด และมีหลอดเลือดแดงใหญ่และหลอดอาหารวางอยู่ด้านหลัง ในผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพสมบูรณ์ หัวใจ จะมีน้าหนักประมาณ 250 –350 กรัม และมีขนาดประมาณสามในสี่ของก้าป้ัน หัวใจมีระบบหลอดเลือดหัวใจ (coronary system) ซ่ึงไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหวั ใจโดยตรง • หัวใจมี 4 ห้อง แบ่งออกเป็น 2 ห้องบนและ 2 ห้องล่าง หัวใจทางด้านขวา เร่ิมจากหัวใจห้องบนขวา (Right atrium) รับเลือดมาจากร่างกายส่วนบนและล่าง มีล้ินหัวใจ ไตรคัสปิด (Tricuspid valve) คั่นกับหัวใจห้องล่างขวา (Right ventricle) ซ่ึงจะอยู่ทางด้านหน้าสุดของหัวใจ ติดกับกะบังลม ท้าหน้าท่ีส่งเลือดไปยังปอด ผ่านลิ้นหัวใจ พัล โมนารีเซมิลูนาร์ (pulmonary semilunar valve) และหลอดเลือดแดง พัลโมนารี (pulmonary arteries) ส้าหรับ หัวใจทางด้านซ้าย เริ่มจากหัวใจห้องบนซ้าย (Left atrium) รับเลือดจากปอดผ่านทางหลอดเลือดด้า พัลโมนารี (pulmonary veins) มีลิ้นหัวใจ ไมตรัล (Mitral valve) ค่ันกับหัวใจห้องล่างซ้าย (Left ventricle) ซ่ึงเป็นห้องหัวใจ ทม่ี ขี นาดใหญแ่ ละมีผนังหนาท่สี ดุ ท้าหน้าท่ีสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ผ่านทางล้ินหัวใจ เอออร์ติก เซมิลูนาร์ (Aortic semilunar valve) และหลอดเลือดแดงใหญ่ เอออรต์ า (Aorta) • กล้ามเนื้อหัวใจมีคุณสมบัติท่ีน่าสนใจคือ สามารถกระตุ้นการท้างานได้ด้วยตัวเอง โดยอาศัยระบบน้าไฟฟ้า (conduction system) ภายในผนงั ของหัวใจ

• การทา้ งานของระบบไหลเวยี นโลหติ • เลือดด้าหรือเลือดท่ีมีออกซิเจนต่้าจากส่วนบนของร่างกาย จะไหลเข้าสู่หัวใจทางห้องบนขวา (Right atrium) หลังจากน้ันจะมีการบีบตัวส่งเลือดผ่านลิ้นหัวใจ (Tricuspid valve) ลงสู่หัวใจห้องล่างขวา (Right ventricle) และบีบตัวส่งเลือดผ่านลิ้นหัวใจ (Pulmonary valve) เข้าสู่หลอดเลือดแดงปอด (Pulmonary arteries) เพ่ือ ส่งเลือดไปยังปอด ที่ปอด เลือดด้าจะผ่านเข้าไปในเส้นเลือดฝอยรอบ ๆ ถุงลมปอด (Alveoli) แล้วส่งผ่าน คาร์บอนไดออกไซด์ให้กับถุงลมปอด พร้อมรับออกซิเจนเข้ามาแทน เป็นผลให้เลือดด้ากลายเป็นเลือดแดง หรือเลอื ดท่ีมีออกซิเจนสูง หลังจากน้ันจะไหลออกจากปอด ผ่านหลอดเลอื ดด้าปอด (Pulmonary veins) กลับ เข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย (Left atrium) ซึ่งมีขนาดเล็กและอยู่หน้าสุด ไหลต่อผ่านล้ินหัวใจ (Mitral valve) ลง มายังหัวใจห้องล่างซ้าย (Left ventricle) เพื่อบีบเลือดผ่านล้ินหัวใจ (Aortic valve) และหลอดเลือดแดง ขนาดใหญ่ เอออร์ต้า (Aorta) ไปเลีย้ งส่วนต่างๆ ของร่างกาย



• ระบบยอ่ ยอาหาร (Digestive system) ทมี่ า:https://www.health2click.com/2018/06/06/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A% • เป็นกลุ่มอวัยวะที่เช่ือมต่อเข้าด้วยกัน มีหน้าที่ในการแปร E0%B8%9A%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%B2% E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3-digestive-system/ สภาพอาหารท่ีบริโภคซึ่งมีโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น ข้าว แป้ง น้าตาล ซ่ึงร่างกายดูดซึมไม่ได้ ให้กลายเป็นสารอาหารท่ีมี โมเลกุลขนาดเล็ก ร่างกายดูดซึมได้ เช่น กรดอะมิโน น้าตาล โมเลกุลเด่ียว กลีเซอรอล และกรดไขมัน นอกจากน้ีแล้วยังมี หน้าท่ีในการก้าจัดของเสียอีกด้วย ส้าหรับกระบวนการแปล สภาพอาหารจากโมเลกุลใหญ่ให้กลายเป็นสารอาหารท่ี ร่างกายดูดซมึ ได้ หรือการย่อยอาหารนั้น ต้องอาศัยการย่อย เชิงกล และการย่อยในทางทางเคมีของน้าย่อย จากอวัยวะที่ อยู่ในระบบ ประกอบด้วยปากหลอดอาหาร กระเพาะ อาหาร ล้าไส้เล็ก ล้าไส้ใหญ่ ทวารหนัก โดยมีตับสร้างน้าดี ช่วยการท้างานของน้าย่อยไขมัน และตับอ่อนสร้างน้าย่อยส่ง ให้กบั ลา้ ไส้เล็ก

• ระบบย่อยอาหารประกอบดว้ ยอวัยวะหลัก ๆ ดังน้ี • ปาก (Mouth) ในช่องปากประกอบดว้ ย 3 อวยั วะหลกั คอื • ฟัน (Teeth) ท้าหน้าทบ่ี ดเคีย้ วอาหารทร่ี ับประทานใหเ้ ล็กลง โดยมนษุ ย์จะมีฟนั 2 ชดุ ชุดแรก คือ ฟนั น้านม มี 20 ซี่ สว่ นชดุ ที่ 2 คอื ฟันแท้มี 32 ซี่ แบ่งเป็นฟันบนขา้ งละ 8 ซ่ี ฟนั ล่างข้างละ 8 ซ่ี แต่ละข้างแบ่งเปน็ ฟันตัด 2 ซี่ ฟนั เขีย้ ว 1 ซ่ี ฟันหน้ากราม 2 ซี่ และฟนั กราม 3 ซ่ี เรยี งตามล้าดับจากหน้าไปหลัง • นา้ ลาย (Saliva) ถกู ผลิตจากต่อมน้าลาย (Salivary gland) โดยน้าลายนั้นจะมีเอนไซม์อะไมเลส (Amylase) หรือไทยาลนี (Ptyalin) ช่วยยอ่ ยคารโ์ บไฮเดรตหรือแป้งใหม้ ีขนาด เลก็ นอกจากนน้ี ้าลายยังช่วยใหอ้ าหารอ่อนตวั เพ่อื กลนื อาหารได้ง่ายข้ึน • ลิ้น (Tongue) ท้าหน้าทร่ี บั รสอาหาร เกล่ียอาหารเพ่อื ให้ฟันบด คลุกเคลา้ อาหารเพือ่ สะดวกในการกลนื ประกอบด้วยกลา้ มเน้ือโครงร่างขนาดใหญ่ ทพ่ี ้ืนผิวปกคลุมไปดว้ ยปมุ่ รับรส (Taste bud) ซ่งึ สามารถรบั รสได้แตกตา่ งกันตามต้าแหนง่ ของลิน้ • คอหอย (Pharynx) อยหู่ น้ากระดูกสันหลังสว่ นคอ เป็นทางผ่านของอาหารจากปากไปยงั หลอดอาหาร โดยระหว่างการกลนื ขณะทอี่ าหารผา่ นคอหอย หลอดลมจะปดิ เพอื่ ไม่ให้ อาหารไหลเขา้ ไป บริเวณนไี้ มม่ กี ารย่อยเกิดขึน้ • หลอดอาหาร (Esophagus) มีทงั้ สว่ นท่ีเป็นกลา้ มเน้ือลายและสว่ นท่เี ป็นกล้ามเนื้อเรียบ ท้าหนา้ ท่รี ับอาหารจากคอหอยและสง่ ตอ่ ไปยังกระเพาะอาหาร โดยการบีบรดั กล้ามเนอื้ หลอดอาหารในลักษณะของการหดและคลายกล้ามเนอ้ื เปน็ จังหวะ ๆ เรียกการบบี ตัวแบบเพอริสตัลซสิ (Peristalsis) • กระเพาะอาหาร (Stomach) อยรู่ ะหวา่ งปลายของหลอดอาหารกบั สว่ นตน้ ของล้าไสเ้ ลก็ มีลกั ษณะคล้ายถุงมีผนังกลา้ มเนอ้ื เป็นลกู คลื่น มคี วามแข็งแรง เปน็ ที่รองรับ คลุกเคล้า อาหาร และหลั่งน้าย่อยประเภทโปรตนี ซึ่งจะท้าให้อาหารกลายเป็นของเหลวเหนียว ๆ แล้วสง่ ตอ่ ไปยงั ลา้ ไสเ้ ลก็ บรเิ วณท่เี ช่อื มตอ่ กบั หลอดอาหารจะมีหูรูดปอ้ งกันน้ายอ่ ยใน กระเพาะอาหารไหลขึ้นหลอดอาหาร ขณะท่ีบรเิ วณเชอื่ มต่อกบั ล้าไสเ้ ล็กจะมีหรู ดู เพ่ือปอ้ งกนั ไม่ใหอ้ าหารไหลเข้าสู่ล้าไส้เลก็ เรว็ เกินไป • ลา้ ไส้เล็ก (Small intestine) มีลักษณะคล้ายท่อกลวงขดไปมาในช่องท้อง แบง่ ออกเปน็ 3 ส่วน ล้าไส้เลก็ สว่ นตน้ ท่ีเรียกวา่ ดูโอดีนัม (Duodenum) สว่ นกลางทีเ่ รียกวา่ เจจนู ัม (Jejunum) และสว่ นปลายทเ่ี รียกว่าไอเลยี ม (Illeum) เป็นบรเิ วณท่ีมกี ารย่อยและดูดซมึ สารอาหารมากทีส่ ุด บรเิ วณล้าไส้เลก็ จะมเี อนไซม์จากตบั อ่อน (Pancreas) มาชว่ ยยอ่ ย สารอาหารประเภทโปรตีน ไขมัน และคารโ์ บไฮเดรต รวมถงึ นา้ ดีจากตับ (Liver) ทช่ี ว่ ยย่อยไขมนั และกา้ จัดของเสยี ในเลือด • ลา้ ไส้ใหญ่ (Large intestine) ประกอบดว้ ย 3 ส่วน เร่มิ จากส่วนที่เรียกว่าซคี มั (Caecum) ซง่ึ มสี ่วนของไสต้ ง่ิ (Appendix) ย่ืนออกมา ส่วนโคลอน (Colon) เปน็ ล้าไสใ้ หญ่สว่ น ทยี่ าวที่สดุ มหี นา้ ทดี่ ูดซมึ นา้ และวิตามนิ บางชนิด รวมถงึ การขบั กากอาหารให้เข้าสลู่ ้าไส้ใหญ่สว่ นที่เรียกว่าไสต้ รง (Rectum) เพ่ือรอขับถ่ายผา่ นทางทวารหนัก (Anus) ตอ่ ไป

• การท้างานของระบบย่อยอาหาร • การย่อยอาหารมี 2 ขั้นตอน • การยอ่ ยเชิงกล (Mechanical digestion) เป็นกระบวนการท้าให้อาหารมีขนาดเล็กลง เพื่อสะดวกต่อการเคล่อื นท่ีและ การเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยการบดเค้ียว รวมท้ังการบีบตัวของทางเดินอาหาร ท้ังนี้ในการยอ่ ยเชิงกล โมเลกุลของอาหาร ยังไม่เลก็ มากพอที่รา่ งกายจะดดู ซมึ ไปใชป้ ระโยชน์ได้ • การยอ่ ยทางเคมี (Chemical digestion) เป็นการยอ่ ยโมเลกุลของอาหาร ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน ให้มี ขนาดเล็กมากพอที่ร่างกายจะดูดซมึ เอาไปใช้ได้ โดยการยอ่ ยในขั้นตอนนี้ จะเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโมเลกุลของอาหาร กบั นา้ โดยมีเอนไซม์หรือนา้ ยอ่ ยเข้าเรง่ ปฏิกิริยา ส่วนเกลอื แร่ และวติ ามินจะดดู ซึมเข้าสรู่ ่างกายไดโ้ ดยตรง



• ระบบตอ่ มไรท้ อ่ (Endocrine system) • ประกอบดว้ ยกลุม่ เซลล์ท่สี ร้างและหลง่ั สารเคมที ่ีเรียกว่า ฮอรโ์ มน (hormone) แล้วสง่ ออกนอกตัวเซลล์ ผา่ นทาง กระแสเลือดหรือน้าเหลอื งไปควบคุมเซลล์ที่อวัยวะเปา้ หมาย เช่น ควบคุมการเผาผลาญอาหาร ควบคมุ การเจรญิ เติบโต ควบคุมระบบสบื พันธ์ุ ปรมิ าณน้าและเกลอื แร่ในร่างกาย เป็นตน้ ประกอบไปดว้ ย 8 ตอ่ มใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ ไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) ต่อม ไทรอยด์ (Thyroid gland) ตอ่ มพาราไทรอยด์ (Parathyroid gland) ตบั อ่อน (Pancrease) ตอ่ มหมวกไต (Adrenal gland) ตอ่ มเพศ (Gonad) และตอ่ มเหนือสมอง (Pineal gland) ทม่ี า:https://www.health2click.com/2018/06/06/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A% E0%B8%9A%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%B2% E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3-digestive-system/

• อวัยวะทเ่ี กยี่ วข้องระบบตอ่ มไร้ทอ่ (Endocrine system) • ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid gland) เปน็ ตอ่ มขนาดเล็กอยูต่ ดิ กบั ดา้ นหลังของต่อมไทรอยด์ ต่อมนส้ี รา้ งฮอรโ์ มนพาราไทรอยด์ (Parathyroid hormone-PTH) หรือพาราทอร์โมน เพือ่ ท้าหน้าทค่ี วบคมุ สมดลุ ของแคลเซียมและฟอสฟอรัสในรา่ งกาย ต่อมหมวกไต (Adrenal gland) เปน็ ต่อมทีต่ ง้ั อยู่ด้านบนของไต (Kidney) ต่อมนสี้ ร้างฮอรโ์ มนสา้ คญั ๆ หลายชนดิ เช่น ฮอร์โมนอะดรีนาลิน (Adrenalin) ชว่ ยให้ร่างกายมคี วามพร้อมเม่ืออยู่ในภาวะเครียด ตกใจกลัว ฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol) ชว่ ยเพมิ่ ระดับน้าตาลในเลอื ด ตบั ออ่ น (Pancreas) จะเป็นกล่มุ เซลล์ทีส่ ร้างฮอรโ์ มนอินซลู ิน (Insulin) และฮอรโ์ มนกลูคากอน (Glucagon) มีบทบาทในการควบคมุ ระดับนา้ ตาลใน เลือด ตอ่ มใต้สมอง (Pituitary gland) เป็นตอ่ มทีอ่ ย่ตู ิดกบั ส่วนลา่ งของสมองส่วนไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) หลงั่ ฮอรโ์ มนที่สา้ คญั ๆ ของรา่ งกาย เชน่ โกรทฮอร์โมน (Growth hormone) ควบคุมการเจรญิ เติบโตของร่างกาย โดยเฉพาะกระดูกและกลา้ มเนอื้ ฮอร์โมนโกนา โดโทรฟนิ (Gonadotrophin) กระตุ้นให้มกี ารสร้างเซลลส์ ืบพนั ธคุ์ วบคุมลกั ษณะทางเพศ รวมถึงฮอร์โมนท่ีกระตนุ้ ให้เซลลเ์ ม็ดสีสร้างเม็ดสี เพมิ่ มากขึน้ ตอ่ มไทรอยด์ (Thyroid) ตอ่ มนี้หลั่งไทรอยด์ฮอร์โมน ช่วยในการเจรญิ เตบิ โตของกระดกู สมองและระบบประสาท รวมถึงการ ควบคมุ อตั ราเมตาบอลิซึม (Metabolism) ภายในร่างกายต่อมไพเนยี ล (Pineal ) ซ่ึงเป็นระบบท่ชี ่วยให้ส่ิงมีชวี ิตสามารถปรบั ตัวใหส้ อดคลอ้ ง กบั สภาพแวดล้อมทเ่ี ปลีย่ นไปในรอบวันได้ ตอ่ มไทมัส (Thymus) กระตุน้ ใหม้ ีการสรา้ ง T-lymphocyte ในระบบภมู คิ ้มุ กันของรา่ งกาย ตอ่ ม เพศ (Gonad) ในเพศชายคอื อณั ฑะ (Testis) เปน็ ทั้งต่อมมที อ่ และตอ่ มไร้ท่อ โดยผลิตอสจุ ิ (Sperm) ส่งออกทางทอ่ และหลัง่ ฮอรโ์ มน เทสโทสเตอโรน (Testosterone) ทา้ หน้าที่ควบคมุ การเจริญเติบโตของอวัยวะสบื พันธ์ุ และลกั ษณะต่างๆของความเปน็ ชาย ในเพศหญิงรงั ไข่ (Ovary) จะผลติ ไข่ (Ovum) ให้พรอ้ มและตกจากรังไขส่ ลับข้างกันทุกเดอื น พรอ้ มท้ังหลง่ั ฮอรโ์ มนเอสโตรเจน (Estrogen) ซึง่ จะ เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของอวยั วะสบื พนั ธ์ุ และลกั ษณะตา่ ง ๆ ของความเป็นเพศหญิง รวมถงึ ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน (Progesterone) จะทา้ หน้าที่ระงับไม่ให้ไข่สุกระหว่างต้งั ครรภเ์ พือ่ ป้องกันไม่ใหม้ ีประจา้ เดอื นระหว่างต้งั ครรภ์

• หน้าทีร่ ะบบต่อมไร้ทอ่ (Endocrine system) • เป็นระบบสื่อสารภายในร่างกายผ่านฮอร์โมน (Hormone)โดยท้าหน้าท่ีควบคุมเช่ือมโยง ติดต่อประสานและท้างาน ร่วมกับระบบอ่ืน ๆ ของร่างกาย โดยการท้างานจะอยู่ในลักษณะช้า ๆ และส่งผลในระยะยาว เช่น การเจริญเติบโตของ รา่ งกาย การพัฒนาของระบบสบื พนั ธ์ การมีประจ้าเดือน การเผาผลาญ การควบคมุ ปรมิ าณน้าและเกลอื แร่ เป็นตน้ • ต่อม (Gland)ในร่างกายมนุษยส์ ามารถแบ่งตามการส่งสารเคมีท่ีหล่ังออกมา ได้เป็นต่อมไร้ท่อ (Endocrine gland) หรือ ต่อมไม่มีท่อ ต่อมประเภทนี้จะมีการหล่ังสารที่เรียกว่า ฮอร์โมน (Hormone)เข้าสู่กระแสเลือดหรือน้าเหลือง เพ่ือไป ควบคุมหรือดัดแปลงสมรรถภาพของเซลล์ที่อวัยวะเป้าหมาย ตัวอย่างเช่น ต่อมใต้สมอง ต่อมไทรอยด์ ตับอ่อน รังไข่ และอัณฑะ ส้าหรับต่อมมีท่อ (Exocrine gland) จะมีการหล่ังสารท่ีต่อมสร้าง ผ่านทางท่อของต่อมส่งไปยังอวัยวะ เปา้ หมาย ตัวอย่างเช่น ต่อมน้าลาย ตอ่ มนา้ ตา ต่อมนา้ นม ตอ่ มเหงอ่ื • โดยมีบางต่อม เป็นทั้งต่อมไร้ท่อและต่อมมีท่อ เช่น ตับอ่อน หล่ังน้าย่อยผ่านท่อเข้าสู่ล้าไส้เล็ก ขณะเดียวกันมีการหลั่ง ฮอรโ์ มนควบคมุ ระดบั นา้ ตาลเข้าสู่กระแสเลอื ด หรอื อณั ฑะสรา้ งตวั อสุจิส่งออกทางทอ่ ขณะเดียวกันยงั มีการหลั่งฮอร์โมน เพศเข้าสู่กระแสเลือด



• ระบบผวิ หนัง (Integumentary system) • ช่วยปกป้องร่างกายจากโลกภายนอก และป้องกันขั้นแรกต่อ แบคทีเรีย ไวรัส และเช้ือโรคอ่ืน ๆ นอกจากน้ียังช่วยควบคุม อุณหภูมิของร่างกายและก้าจัดของเสียผ่านเหง่ือ มีลักษณะ เป็นเน้ือเย่ือห่อหุ้มร่างกาย จึงเป็นอวัยวะท่ีใหญ่ท่ีสุดมีเนื้อท่ี ประมาณ 3,000 ตารางนิ้ว มีความหนาระหว่าง 1 –4 มิลลิเมตร แตกต่างกันไปตามอวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยผิวหนังส่วนที่หนาที่สุด คือ บริเวณฝ่ามือและฝ่าเท้า ส่วน ที่บางท่ีสุด คือ บริเวณหนังตาและหนังหู ภายในผิวหนังน้ันมี ปลายประสาทรับความรู้สึก เพ่ือรับรู้การสัมผัส ความ เจ็บปวด อุณหภูมิร้อนและเย็น นอกจากน้ียังมีรูเล็ก ๆ ท่ี เรียกว่า รูขุมขน เป็นรูเปิดของขุมขน ท่อต่อมไขมันและต่อม เหงอ่ื ผวิ หนัง ทม่ี า:https://www.health2click.com/2018/06/20/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E 0%B8%9A%E0%B8%9C%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E 0%B8%87-integumentary-system/

• โครงสรา้ งของผิวหนัง • ผิวหนงั แบ่งตามโครงสรา้ งออกได้เปน็ 3 ช้ันคอื ชั้นหนงั กา้ พรา้ ช้นั หนงั แท้ และชน้ั เนื้อเยื่อใต้ผิวหนงั • ผิวหนงั ช้นั หนังกา้ พรา้ (Epidermis) เป็นผวิ หนงั ทีอ่ ยู่ชั้นบนสดุ คลุมอยบู่ นหนังแท้ มคี วามหนาตั้งแต่ 0.05 ถงึ 5 มลิ ลิเมตร บริเวณทีบ่ างสดุ คอื รอบดวงตา บริเวณทหี่ นาสดุ คอื ฝ่าเท้า หนงั กา้ พร้าประกอบดว้ ยเซลล์เรียงซอ้ นกันเปน็ ช้ันบาง ๆ อกี 5 ช้ันยอ่ ย โดยเซลลช์ ัน้ ในจะเลื่อนตวั ดันเซลลช์ ั้นบนหรือช้นั นอกสดุ ใหห้ ลุดเป็นขีไ้ คลออกไป ผวิ หนงั ชั้น น้ีไม่มหี ลอดเลือด เส้นประสาทรวมถึงตอ่ มตา่ ง ๆ หากผวิ หนังชัน้ น้ไี ด้รบั อันตราย เราจะไมร่ สู้ กึ แต่อยา่ งใด ทงั้ นห้ี นงั กา้ พร้าจะเปน็ ทางผ่านของรูเหง่ือ เส้นขนและไขมนั ชัน้ นจ้ี ะมเี ซลลเ์ มด็ สี (Melanin) โดยมีปริมาณมากน้อยแตกตา่ งกนั ในแต่ละคน • ผวิ หนังชนั้ หนงั แท้ (Dermis) เปน็ ผิวหนงั ท่ีอยู่ชน้ั ล่างถดั จากชนั้ หนังก้าพรา้ มี 2 ชน้ั ยอ่ ย ผวิ หนังชั้นน้ีประกอบด้วย เนื้อเยอ่ื คอลลาเจน (Collagen) อีลาสตนิ (Elastin) และตวั ประสานเนอ้ื เยื่อไฮยารรู อน (Hyaluronic acid) ทา้ ให้ ผิวหนังมคี วามแขง็ แรง และมีความยืดหยุ่นโดยมีหลอดเลอื ดฝอย ปลายประสาทรบั ความรูส้ ึก ระบบประสาทอัตโนมัติ ควบคุมการท้างานของตอ่ มไขมัน ตอ่ มเหงอ่ื และรากขน/ผม กระจายอยทู่ ่วั ไปในช้ันหนังแท้ • ผิวหนังชัน้ ใต้ผิวหนัง (Subcutis) อย่ใู นสุดของช้นั ผิวหนัง ประกอบดว้ ยไขมัน คอลลาเจน หลอดเลือดที่มาหล่อเลีย้ ง ความหนาของชั้นใต้ผวิ หนังจะแตกต่างกันไปตามอวัยวะ และเพศ ผิวหนังชั้นนช้ี ว่ ยในการรับแรงกระแทก เป็นฉนวน กันอุณหภมู ิที่เปลย่ี นแปลง และยึดเหนี่ยวระบบผวิ หนงั ไว้กับรา่ งกาย

• หนา้ ทข่ี องผวิ หนัง 1. ป้องกนั และปกปดิ อวยั วะภายในไม่ใหไ้ ดร้ บั อันตราย 2. ป้องกันเชอ้ื โรคไม่ใหเ้ ขา้ สู่ร่างกายไดโ้ ดยตรง 3. ป้องกันไม่ให้นา้ ภายนอกซึมเข้าไปในรา่ งกาย และนา้ ในรา่ งกายระเหยออกไป 4. ขบั เหงอ่ื ซึ่งเป็นของเสียออกจากรา่ งกาย ทางต่อมเหงือ่ 5. ช่วยรักษาอุณหภมู ิของร่างกายให้คงท่ี ผา่ นทางหลอดเลอื ดฝอยและการระเหยของเหงอื่ 6. รบั ความรู้สกึ สมั ผสั เช่น ร้อน หนาว เจบ็ เปน็ ต้น 7. ช่วงสรา้ งวติ ามนิ ดีใหแ้ กร่ ่างกาย โดยแสงแดดจะเปล่ียนไขมันทผ่ี ิวหนังให้เปน็ วิตามนิ ดไี ด้



• ระบบกลา้ มเนอื้ (Muscular system) • ร่างกายประกอบด้วยกล้ามเน้ือประมาณ 650 มัด ช่วยในการ เคล่ือนไหว การไหลเวียนโลหิต และการท้างานอื่น ๆ ของร่างกาย โดยมีกล้ามเน้ืออยู่ 3 แบบ คือ 1) กล้ามเนื้อลาย (Skeleton muscle)เป็นกล้ามเน้ือท่ีเช่ือมต่อกับกระดูก ท้างานภายใต้อ้านาจ จิตใจ มีรูปร่างและขนาดที่หลากหลาย เพื่อให้ร่างกายสามารถ เคล่ือนไหวได้ตามต้องการ ปกติกล้ามเน้ือประเภทนี้ทั้งมัดจะ ประกอบด้วยกล้ามเนื้อมัดย่อยๆ และแต่ละมัดย่อยประกอบด้วยใย กล้ามเน้ือ ซึ่งแต่ละใยยังประกอบไปด้วยใยฝอย ท้าให้กล้ามเน้ือมี ความยืดหยุ่น แข็งแรงและทนทาน 2) กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle) ท้างานอยู่นอกเหนืออ้านาจจิตใจ พบในอวัยวะภายในของ รา่ งกาย มหี น้าทชี่ ่วยในการเคล่ือนย้ายสารผ่านอวัยวะต่างๆ โดยมี ลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์และทางสรีรวิทยาแตกต่างกัน และ 3) กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle) ท้างานอยู่นอกเหนืออ้านาจ จิตใจ มหี นา้ ที่ชว่ ยในการสบู ฉีดเลือดไปเล้ยี งร่างกาย ทม่ี า:https://www.health2click.com/2018/06/13/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E 0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0 %B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD-muscular-system/

• ชนิดของกล้ามเนือ้ • กลา้ มเน้ือในรา่ งกาย สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ชนดิ ดงั น้ี 1. กล้ามเนื้อลายหรือกล้ามเนื้อโครงร่าง (Skeleton muscle) เป็นกล้ามเนื้อท่ีท้างานอยู่ภายใต้อ้านาจจิตใจ (Voluntary muscle) ควบคุมโดยระบบประสาทส่วนกลาง เป็นกล้ามเน้ือท่ีมีมากท่ีสุดในร่างกาย กล้ามเน้ือลายจะเกาะอยู่กับกระดูก และมีบทบาท ส้าคัญตอ่ การเคลอ่ื นไหวของรา่ งกาย โดยเซลลข์ องกล้ามเน้ือลายจะมีลกั ษณะเป็นทรงกระบอก มีหลายนิวเคลียส และมีลายตาม ขวาง เรียกเส้นใยกล้ามเน้ือ (Muscle fiber) และหลายๆเส้นใยกลา้ มเนอื้ รวมกันเป็นมดั กล้ามเนือ้ หลายๆมดั กลา้ มเนอื้ ขนาดเล็ก รวมกันเป็นมัดกล้ามเน้ือขนาดใหญ่ แต่ละเซลล์ของกล้ามเน้ือลายจะมีปลายประสาทมาเล้ียง เพื่อกระตุ้นให้เกิดการหดตัว เมื่อ ต้องการใช้งาน 2. กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่ท้างานนอกอ้านาจจิตใจ (Non-voluntary muscle) พบท่ีอวัยวะภายในของ ร่างกาย เช่น หลอดอาหาร หลอดเลือด ล้าไส้ เซลล์มีนิวเคลียสเดียว และไม่มีลายตามขวาง ท่ีเยื่อหุ้มเซลล์จะมีบริเวณที่ ถ่ายทอดกระแสประสาทไปยังเซลลข์ ้างเคียง การหดตวั ของกลา้ มเนื้อประเภทน้ีจะถูกควบคมุ โดยระบบประสาทอัตโนมัติ ดังนั้น กล้ามเนอ้ื ประเภทน้ีจงึ ไมม่ ีปลายประสาทไปเลย้ี งทกุ เซลล์ ยกเว้นบางอวยั วะภายใน 3. กล้ามเน้ือหัวใจ (Cardiac muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่ท้างานนอกอ้านาจจิตใจ (Non-voluntary muscle) ถูกควบคุมโดยระบบ ประสาทอตั โนมัติ เซลล์กล้ามเนื้อหวั ใจจะมลี กั ษณะเปน็ ลายพาดขวาง และมหี ลายนวิ เคลยี สเชน่ เดียวกับกล้ามเน้อื ลาย

• การทา้ งานของกล้ามเนื้อ • กล้ามเน้ือโครงร่างจะมีปลาย 2 ข้างยึดเกาะกับกระดูก ข้างที่เกาะกับกระดูกส่วนใกล้ล้าตัวเรียก จุดเกาะ ต้น ส่วนท่ีอยู่ปลายอีกด้านเรียก จุดเกาะปลาย โดยส่วนท่ีเกาะกับกระดูก จะมีลักษณะเป็นเอ็นสีขาวเรียก เอ็นกล้ามเนื้อ (Tendon)ทั้งน้ีการท้างานของกล้ามเน้ือจะประสานในทิศทางตรงกันข้ามเป็นคู่ ๆ (Antagonism) ยกตัวอย่างเช่น เมื่อสมองส่ังให้เรางอแขน กล้ามเนื้อไบเซพ (Biceps muscle) จะหดตัว และกล้ามเน้ือไตรเซฟ (Triceps muscle) จะคลายตัว กรณีที่เราเหยียดแขน กล้ามเน้ือไบเซฟจะคลายตัว และกล้ามเนื้อไตรเซฟจะเปลี่ยนมาหดตัว เป็นต้น ปกติแล้วกล้ามเน้ือสามารถหดตัวได้ราว 1 ใน 3 ของ ความยาวปกติ ยิ่งมีการหดตัวมาก กลา้ มเน้อื ก็ย่ิงแขง็ และหนาข้ึน



• ระบบประสาท (Nervous system) ทม่ี า:https://www.health2click.com/2018/07/05/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E • เปน็ ระบบทคี่ วบคุมการท้าหนา้ ทข่ี องทกุ ระบบในร่างกาย ให้ท้างาน 0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%97- nervous-system/ ประสานกนั อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ท้าให้ร่างกายปรบั ตวั เข้ากบั ส่ิงแวดลอ้ มและดา้ เนินชีวติ ไดอ้ ย่างปกติ นอกจากนี้ยังมีบทบาทใน การจัดการ ความคดิ ความรู้สึก สติปญั ญา ความฉลาดไหวพรบิ การตัดสนิ ใจ การใช้เหตผุ ลและการแสดงอารมณ์ สามารถแบ่งได้ เปน็ ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system – CNS) ประกอบดว้ ยสมองและไขสนั หลงั และระบบประสาทสว่ นปลาย (Peripheral nervous system – PNS) ประกอบด้วยเสน้ ประสาท และนวิ รอนที่ไม่ไดอ้ ยใู่ นระบบประสาทกลาง ระบบประสาทส่วน ปลายยงั สามารถแบ่งออกเป็นระบบประสาททอี่ ยใู่ นอา้ นาจจิตใจ (Voluntary nervous system) และระบบประสาททอ่ี ยู่นอกอ้านาจ จิตใจ (Involuntary) หรือระบบประสาทอัตโนมตั ิ (Autonomic nervous system) ซงึ่ แบ่งย่อยเป็นระบบประสาทซมิ พาเธติก (Sympathetic nervous System) และระบบประสาทพาราซิม พาเธติก (parasympathetic nervous system)

• โดยโครงสรา้ งหน่วยย่อยทส่ี ้าคัญของระบบประสาท คือ • เซลล์ประสาท (Neuron หรอื Nerve cell) ประกอบด้วยสว่ นสา้ คญั 2 สว่ น คือ ตัวเซลล์ (Cell body) และส่วนท่ยี ่ืนออกนอกตัวเซลล์ คอื เดน ไดรต์ (Dendrite) ทา้ หน้าทีร่ บั กระแสประสาทเขา้ สู่เซลล์ มีหลายแขนง และแอกซอน (Axon) ทา้ หน้าท่สี ง่ กระแสประสาทออกจากเซลล์ มี ความยาวมากกว่าเดนไดรตแ์ ละมแี ขนงเดยี ว และมแี ผน่ ไมอีลนิ (Myelin sheath) หุ้มอยเู่ ปน็ ปล้อง ๆ ทา้ ให้การสง่ กระแสประสาทมีความเร็ว มากข้นึ • สารสื่อประสาท (Neurotransmitter) การสง่ กระแสประสาทในระบบประสาทนน้ั บางจดุ ท่ีไมม่ ีการเชื่อมต่อกันโดยตรง เช่น ระหว่างเซลล์ ประสาทด้วยกันเอง หรอื ปลายเส้นประสาทกบั กล้ามเน้อื ตรงจุดเชอ่ื มตอ่ นี้ ต้องอาศัยสารสอื่ ประสาทซ่ึงเปน็ สารเคมีที่สรา้ งจากปลายเซลล์ ประสาทหรือตัวเซลล์ประสาท และหลง่ั ออกจากปลายประสาท เพอ่ื เปน็ ตวั น้าสัญญาณประสาท (Neurotransmission) ผา่ นรอยตอ่ ระหว่างเซลล์ ประสาท ทีเ่ รียกว่า ไซแนปส์ (Synapse) หรอื ชอ่ งวา่ งระหวา่ งเซลล์ประสาทกบั เซลล์กล้ามเนอ้ื เพื่อใหว้ งจรการทา้ งานของระบบประสาทเกดิ ความสมบรู ณ์ และเกดิ การทา้ งานข้ึนได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ • ทัง้ นส้ี ารเคมที พ่ี บวา่ เปน็ สารสื่อประสาท แบง่ ออกเป็น 1) สารส่ือประสาทกล่มุ โคลิเนอร์จิค (Cholinergic) 2) สารสื่อประสาทกลุม่ อะดรีเนอร์จคิ 3) สารส่ือประสาทกลมุ่ ซโี รโตนนี (Serotonin) 4) สารสอ่ื ประสาททเ่ี ป็นกรดอะมิโน (Amino group) 5) สารสื่อประสาทนวิ โรเปปไตด์ (Neuropeptide) 6) ฮสี ตามีน (Histamine) • เสน้ ประสาท (Nerve) คอื มดั ของแอกซอนหลาย ๆ อนั ทีย่ ื่นยาวออกจากตัวเซลล์ประสาท รวมกนั อย่ภู ายในเยอื่ หุ้มเสน้ ประสาท โดยมที ้ัง เส้นประสาทนา้ เข้า (Afferent nerve) หรอื เสน้ ประสาทรับความรูส้ ึก ทีจ่ ะนา้ ความรสู้ ึกจากอวยั วะต่าง ๆ เข้าสู่ระบบประสาทสว่ นกลาง และ เสน้ ประสาทนา้ ออก (Efferent nerve) หรอื เสน้ ประสาทสัง่ การ ท่ีจะนา้ คา้ สั่งจากระบบประสาทส่วนกลางไปยังอวยั วะทัว่ รา่ งกาย ท้งั นีแ้ อกซอน ของเส้นประสาทน้าเขา้ และแอกซอนของเส้นประสาทนา้ ออก อาจรวมอยใู่ นเสน้ ประสาทเดยี วกนั ได้ เรยี ก เสน้ ประสาทระคน (Mixed nerve)

• การท้างานของระบบประสาท • ระบบประสาทส่วนกลาง อันประกอบดว้ ยสมองและไขสนั หลัง และระบบประสาทส่วนปลาย อันประกอบดว้ ยเสน้ ประสาทสมองและเสน้ ประสาท ไขสันหลงั ท้งั 2 ระบบจะท้างานรว่ มกนั โดยเม่อื มีสง่ิ เร้ามากระตุ้นอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย กระแสประสาทน้าความรสู้ ึกจะถกู ส่งจากปลาย ประสาทท่อี วัยวะนั้นๆ ซึง่ อยใู่ นระบบประสาทสว่ นปลาย เข้าสู่เสน้ ประสาทต่างๆ และเข้าสู่ไขสนั หลงั ซึง่ อยู่ในระบบประสาทส่วนกลาง เชื่อมต่อ เข้ากบั สมองเพอ่ื ทา้ การประมวลผล เกดิ อารมณ์ การเรียนรู้ และการจดจา้ หลังจากนน้ั สมองจะสง่ กระแสประสาททีเ่ ป็นการสง่ั การ ส่วนหน่งึ ผา่ นสเู่ สน้ ประสาทสมองกลบั ไปยงั อวัยวะเป้าหมาย อกี สว่ นผ่านเข้าสไู่ ขสนั หลัง กลบั ไปยังเส้นประสาทไขสันหลัง ไปถงึ ปลายประสาทในอวัยวะ เปา้ หมาย สง่ ผลใหอ้ วยั วะต่างๆ ของร่างกายท้างานได้ตามคา้ สงั่ ของสมอง • ทัง้ น้ีการสัง่ การจากสมอง หรือระบบประสาทสง่ั การ (Motor nerves) จะมีทัง้ แบบทรี่ า่ งกายสามารถควบคุมได้ โดยมีผลไปยังกลา้ มเนอ้ื โครง ร่าง (Skeleton muscle) เช่น การขยบั กลา้ มเนือ้ แขน ขา ทา้ ให้มกี ารเดนิ วิง่ น่งั รวมถงึ ปฏกิ ริ ยิ าตอบกลับทเ่ี ปน็ Reflex บางอยา่ ง รวมเรียก ระบบประสาทกาย (Somatic nervous system) และแบบทรี่ ่างกายไม่สามารถควบคุมได้ อยนู่ อกการควบคมุ ของจติ ใจ โดยมีผลกับกลา้ มเนื้อ เรยี บ (Smooth muscle) กล้ามเนอื้ หัวใจ (Cardiac muscle) และตอ่ มต่าง ๆ เชน่ การบบี ตวั ของอวัยวะภายใน หัวใจ ทางเดนิ อาหาร ปอด หลอดเลอื ด การหล่งั ฮอรโ์ มน เรียก ระบบประสาทอตั โนมตั ิ (Automatic nervous system) • ทง้ั นกี้ ารท้างานของระบบประสาทอตั โนมัติ จะเปน็ การทา้ งานรว่ มกนั ของ 2 ระบบย่อย คอื ระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic nervous system) เน้นการเพิม่ การใช้พลังงาน ท้าให้รา่ งกายต่นื ตัว มีอัตราเมตาบอลิซึมสงู ขนึ้ กบั ระบบประสาทพาราซมิ พาเทตกิ (Parasympathetic nervous system) เน้นการเพิม่ การท้างานของอวัยวะ เพื่อใหไ้ ดพ้ ลงั งานและเกบ็ พลงั งานไว้ใช้



• ระบบสบื พันธุ์ (Reproductive system) • ช่วยให้มนุษย์สามารถด้ารงเผ่าพันธ์ุอยู่ได้ โดยต่อมใต้สมองซ่ึงอยู่ ภายใต้การควบคุมของสมองส่วนไฮโพทาลามัส จะหล่ังฮอร์โมน กระตุ้นต่อมเพศให้ผลิตฮอร์โมนเพศ ท้าให้ร่างกายเปลี่ยนแปลง ไปสู่ความเป็นหนุ่มสาวพร้อมที่จะสืบพันธ์ุ โดยระบบสืบพันธ์ุเพศ ชายประกอบด้วย อวัยวะเพศชายและอัณฑะ ซึ่งผลิตตัวอสุจิ (Sperm)และฮอร์โมนเพศ ท่ีส้าคัญคือฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน (Testosterone) ส่วนระบบสืบพันธ์ุเพศหญิง ภายในประกอบด้วย ช่องคลอด มดลูก ท่อน้าไข่และรังไขซ่ ึง่ ผลติ ไข่ (Ovum)และฮอร์โมน เพศ หลัก ๆ คือ ฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) โดยในการร่วม เพศ เพศชายจะหลั่งน้าอสุจิเข้าไปในช่องคลอดของเพศหญิง อสุจิ จะเคล่ือนที่ผ่านช่องคลอดและปากมดลูกเข้าไปในมดลูกหรือท่อน้า ไข่เพ่ือปฏิสนธิกับไข่ หลังการปฏิสนธิและฝังตัวจะเกิดการต้ังครรภ์ ของทารก ทม่ี า:https://www.health2click.com/2018/07/23/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E 0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E 0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B9%8C-reproductive-system/

• การระบบสืบพนั ุธ์เพศชาย • อวัยวะทเ่ี ก่ยี วข้อง • สามารถแยกออกเปน็ 3 กลมุ่ ตามหน้าที่ 1. อวัยวะที่เก่ียวข้องกับการสร้างและเก็บอสุจิ ประกอบด้วย อัณฑะ (Testis)เป็นต่อมรูปไข่มี 2 ข้าง ภายในมีหลอดสร้างตัวอสุจิ (Seminiferous Tubule) ทา้ หนา้ ทส่ี ร้างตัวอสุจิ (Sperm) ซึง่ เป็นเซลล์สบื พนั ธ์ุเพศชาย ภายหลังการสร้างและพฒั นา อสจุ ิจะถูกส่ง เขา้ สูห่ ลอดเก็บตวั อสจุ ิ (Epididymis)ภายนอกอณั ฑะ โดยอัณฑะจะถูกห่อหุ้มอยู่ในถงุ หุ้มอณั ฑะ (Scrotum)เพอ่ื ชว่ ยควบคมุ อุณหภูมิ ให้พอเหมาะในการสร้างตัวอสุจิ โดยจะต้่ากว่าอุณหภูมิปกติของร่างกายประมาณ 3-5 องศาเซลเซียสนอกจากน้ีอัณฑะยังสร้าง ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน (Testosterone) ซึ่งเป็นฮอร์โมนเพศหลัก ที่ช่วยกระตุ้นให้แสดงลักษณะต่าง ๆ ของเพศชาย เช่น มี กล้ามเนอ้ื ใหญ่ กล้ามเนือ้ กระดูกโครงร่างใหญ่ มีหนวดเครา มขี นดก เปน็ ต้น 2. ระบบสบื พันธ์ุ (Reproductive system) ของมนุษย์ เพศชายจะเริม่ สร้างตัวอสุจิต้ังแตอ่ ายุประมาณ 12 –13 ปี โดยในการหล่ังน้า อสุจิแต่ละคร้ัง จะมีตัวอสุจิเฉล่ียประมาณ 350 –500 ล้านตัว โดยปริมาณน้าอสุจิและตัวอสุจิแตกต่างกันตามแต่ละบุคคล โดยมี ปัจจัยที่เกี่ยวข้องเช่น อายุ ความแข็งแรง เช้ือชาติ อ่ืน ๆ น้าอสุจิจะถูกขับออกจากร่างกายตรงปลายสุดขององคชาต โดยตัวอสุจิ เมือ่ ออกสภู่ ายนอกจะมีชวี ติ อยไู่ ด้ 2 –3 ชวั่ โมง ในขณะทอี่ ยู่ในมดลูกของเพศหญงิ ได้นาน 24 – 48 ชว่ั โมง

• การระบบสบื พนั ุธ์เพศชาย • อวยั วะที่เก่ียวขอ้ ง • สามารถแยกออกเป็น 3 กลมุ่ ตามหน้าท่ี 2. อวัยวะที่เก่ียวข้องกับการสร้างของเหลวในการหลั่งอสุจิ และท่อน้าอสุจิ ได้แก่ ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ (Seminal vesicles) ท้า หน้าที่สร้างอาหารเพื่อใช้เลี้ยงตัวอสุจิ รวมถึงการสร้างของเหลวมาผสมกับตัวอสุจิเพื่อให้เกิดสภาพที่เหมาะสมกับตัวอสุจิ ต่อม ลูกหมาก (Prostate Gland) ท้าหน้าที่หลั่งสารที่มีฤทธ์ิเป็นเบสอ่อนๆ เพ่ือปรับสมดุลกรด-เบสในท่อปัสสาวะ ท้าให้เกิดสภาพที่ เหมาะสมกบั ตัวอสุจิ ตอ่ มคาวเปอร์ (Cowper Gland) อยใู่ ต้ต่อมลูกหมาก ท้าหน้าทหี่ ลงั่ สารไปหลอ่ ล่ืนทอ่ ปัสสาวะในขณะทเ่ี กิดการ กระตนุ้ ทางเพศนอกจากน้ยี งั มีหลอดนา้ อสจุ ิ (Vas deferens) อยตู่ อ่ จากหลอดเกบ็ ตวั อสจุ ิ ทา้ หน้าท่ีล้าเลียงตัวอสุจิไปเก็บไว้ที่ต่อม สรา้ งน้าเลย้ี งอสุจิ 3. อวัยวะท่ีใช้ในการรว่ มเพศ จะเปน็ อวยั วะเพศชายที่อย่ภู ายนอก คือ องคชาต (Penis)ท้าหนา้ ทเี่ ป็นทางผา่ นของปัสสาวะและน้าอสุจิ มีลักษณะเป็นท่อนยาว ประกอบไปด้วยส่วนของกล้ามเน้ือคล้ายฟองน้า (Corpus cavernosum) และส่วนของท่อปัสสาวะ โดย กล้ามเนื้อคล้ายฟองน้าท้าหน้าท่ีในการกักเก็บเลือด ท้าให้เกิดการแข็งตัวขององคชาต จนสามารถสอดใส่เข้าไปภายในช่องคลอด ของเพศหญิงได้ ส่วนปลายขององคชาตจะบานออกเป็นรูปดอกเหด็ โดยมีเส้นประสาท และเส้นเลือดเปน็ จ้านวนมาก

• ระบบสืบพนั ุธ์เพศหญงิ • อวัยวะทีเ่ ก่ยี วข้อง • อวัยวะในระบบสืบพันธ์ุเพศหญิง ส่วนใหญ่อยู่ภายในร่างกายบริเวณอุ้งเชิงกราน โดยส่วนที่อยู่ภายในประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่ รังไข่ (Ovary) ท้าหน้าท่ีสร้างเซลล์ไข่ (Ovum) ซ่ึงเป็นเซลล์สืบพันธ์เพศหญิงและผลิตฮอร์โมนเพศหญิง คือ เอสโตรเจน (Estrogen) และโปรเจสเตอโรน (Progesterone) มดลูก (Uterus) เช่อื มกบั รงั ไขต่ อ่ จากท่อนา้ ไข่ มหี น้าที่รองรบั การฝงั ตวั ของไข่ ที่ไดร้ บั การปฏสิ นธิ และการเจรญิ เตบิ โตของทารกในครรภ์ มดลูกส่วนท่ีต่อกับช่องคลอดจะมีส่วนท่ีเรียกว่า ปากมดลูก ช่องคลอด (Vagina) เป็นอวัยวะที่เช่ือมต่อกับมดลูก มีหน้าที่เป็นช่องทางให้อวัยวะเพศชายสอดใส่และรองรับอสุจิท่ีหล่ังขณะมีเพศสัมพันธ์ รวมถึงการเปน็ ชอ่ งทางคลอดออกสโู่ ลกของทารก • ส้าหรับอวัยวะเพศหญิงท่ีอยู่ภายนอก ประกอบด้วยแคมใหญ่ แคมเล็กและปุ่มคริสตอริส (Clitoris) ซ่ึงปุ่มน้ีจะมีเส้นประสาทอยู่ เปน็ จ้านวนมาก • ท้ังน้ีระหว่างการมีเพศสัมพันธ์ในเพศหญิง จะมีการหลั่งเมือกจากต่อมบาร์โธลีน (Bartholin’s glands) ท้าหน้าท่ีช่วยในการหล่อ ลืน่ และปรับลดความเป็นกรดในชอ่ งคลอด

• การท้างาน • ระบบสืบพันธ์ุ (Reproductive system) ของมนุษย์ เพศชายจะเร่ิมสร้างตัวอสุจิตั้งแต่อายุ ประมาณ 12 –13 ปี โดยในการหล่ังน้าอสุจิแต่ละครั้ง จะมีตัวอสุจิเฉล่ียประมาณ 350 – 500 ล้านตัว โดยปริมาณน้าอสุจิและตัวอสุจิแตกต่างกันตามแต่ละบุคคล โดยมีปัจจัยที่ เก่ียวข้องเชน่ อายุ ความแข็งแรง เช้ือชาติ อื่น ๆ น้าอสุจิจะถูกขับออกจากร่างกายตรงปลาย สุดขององคชาต โดยตัวอสุจิเมื่อออกสู่ภายนอกจะมีชีวิตอยู่ได้ 2 –3 ช่ัวโมง ในขณะที่อยู่ใน มดลกู ของเพศหญงิ ไดน้ าน 24 – 48 ชั่วโมง



• ระบบหายใจ (Respiratory system) • เป็นระบบทที่ า้ ใหร้ ่างกายสามารถน้าออกซเิ จนไปส่งท่ีปอด โดยจะมี การแลกเปล่ียนออกซิเจนระหว่างถุงลมปอดกับหลอดเลือดฝอย ปอด หลังจากนั้นออกซิเจนจะเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิต ผ่านทาง หลอดเลอื ดจากปอดกลับสหู่ ัวใจห้องบนซ้าย ภายหลังหัวใจป้ัมเลือด ออกซิเจนจะถูกพาไปยังเซลล์ต่างๆท่ัวร่างกาย เกิดขบวนการเมตา บอลิซมึ หรือการหายใจระดับเซลล์ ท้าให้ร่างกายอบอุ่น และได้สาร ATP ที่น้าไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของเซลล์ โดยขบวนการน้ีจะเกิด คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งจะถูกล้าเลียงผ่านหลอดเลือดสู่ปอดในการ หายใจออก อวัยวะที่เก่ียวข้องประกอบด้วย จมูก ปาก คอหอย หลอดลม ทอ่ ลม ถุงลม เปน็ ต้น ทม่ี า:https://www.health2click.com/2019/10/21/%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%9a%e 0%b8%9a%e0%b8%ab%e0%b8%b2%e0%b8%a2%e0%b9%83%e0%b8%88-respiratory- system/

• อวัยวะทเ่ี กยี่ วข้อง • ทางเดินหายใจสว่ นบน ประกอบดว้ ย จมูกและปาก (Nose and Mouth) หลอดคอ (Pharynx) หลอดเสียง (Larynx) • ขณะหายใจเขา้ อากาศจะผ่านรจู มกู เข้าโพรงจมูก ทโี่ พรงจมูกจะมีเสน้ ขนและตอ่ มน้ามันที่ช่วยกรองและจับฝนุ่ ละออง รวมถงึ การปรบั ความชุ่มช้ืนและอณุ หภมู อิ ากาศใหเ้ หมาะสม หลังจากนั้นอากาศจะผ่านหลอดคอและกล่องเสียง ด้านบนของ กลอ่ งเสยี งจะมฝี าปดิ กลอ่ งเสยี ง ซง่ึ จะปิดในระหวา่ งการกินอาหาร เพอ่ื ไม่ให้อาหารตกเขา้ สู่หลอดลม • ทางเดนิ หายใจสว่ นลา่ ง ประกอบด้วย หลอดลม (Trachea) หลอดลมเล็กหรอื ขว้ั ปอด (Bronchus) ปอด (Lung) ซ่ึงมี หลอดลมฝอย (Bronchiole) ถงุ ลม (Alveoli) เยือ่ หุม้ ปอด (Pleura) • อากาศเมอ่ื ผา่ นกล่องเสียง จะเข้าสหู่ ลอดลมทซี่ ึ่งมขี นอ่อนขนาดเล็กและเยอ่ื เมือกคอยดักจบั สงิ่ แปลกปลอม กอ่ นแยกเข้าสู่ หลอดลมเลก็ หรือขัว้ ปอดทั้งด้านซ้ายและขวา ทป่ี อดหลอดลมเล็กจะลดขนาดเปน็ หลอดลมฝอย และถุงลมในปอด โดยปอด แต่ละขา้ งจะมถี งุ ลมปอดประมาณ 300 ล้านถุง ล้อมรอบด้วยเส้นเสน้ เลือดฝอยปอดซง่ึ มีขนาดเลก็ และบางเพียงพอในการ แลกเปลย่ี นออกซเิ จนและคารบ์ อนไดออกไซด์ โดยเป็นการเชื่อมตอ่ ระหว่างระบบหายใจกบั ระบบไหลเวียนโลหติ

• การท้างานของระบบหายใจ • ในขณะทหี่ ายใจเข้า อากาศที่มีออกซิเจนจะไหล่ผ่านทางเดินหายใจส่วนบน เข้าสูท่ างเดินหายใจส่วนล่าง ที่บริเวณถุงลมปอด ออกซิเจนจากถุงลมปอดจะแพร่เข้าสหู่ ลอดเลือดฝอยรอบ ๆ ถงุ ลมปอด และรวมตวั กบั ฮีโมโกลบนิ (Haemoglobin; Hb) ท่ี ผวิ ของเม็ดเลอื ดแดง (Red blood cell) กลายเป็นออกซีฮีโมโกลบิล (Oxyhemoglobin; HbO2) ซึ่งมีสแี ดงสด โดยเลือดท่ีมี ออกซีฮโี มโกลบินนี้จะถกู ส่งเข้าสหู่ วั ใจและสบู ฉีดผ่านหลอดเลอื ดไปยังเนอ้ื เยือ่ ต่าง ๆ ทัว่ ร่างกาย ท่เี น้ือเยอื่ ออกซฮี โี มโกลบิน จะสลายให้ออกซิเจนและฮีโมโกลบิน โดยออกซิเจนจะแพร่จากหลอดเลือดฝอยเข้าส่เู น้ือเยอ่ื และถูกน้าไปใช้ในกระบวนการ เผาผลาญเพ่ือใหพ้ ลงั งานแก่เซลล์ของเน้อื เย่ือตอ่ ไป • ในทางกลบั กัน คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเปน็ ของเสียจากกระบวนการเผาผลาญ กจ็ ะแพรจ่ ากเน้ือเย่อื เขา้ สหู่ ลอดเลอื ดฝอย โดย ผา่ นขนั้ ตอนทางเคมีระหวา่ งการเดนิ ทาง โดยเมื่อถงึ บรเิ วณถงุ ลมปอด คารบ์ อนไดออกไซด์จะแพรจ่ ากเส้นเลอื ดฝอยจะแพร่ เขา้ สูถ่ งุ ลมปอด และถูกขบั ออกจากรา่ งกาย ผ่านการหายใจออก



• ระบบโครงร่าง (Skeleton system) • ประกอบดว้ ยกระดูก (Bone) 206 ชิ้น เปน็ กระดูกแกนกลาง 80 ช้ินกระดูกรยางค์ 126 ช้ิน เช่อื มต่อดว้ ยเส้นเอ็น (Tendon) และ กระดกู อ่อน (Cartilage) โดยเสน้ เอน็ มีลกั ษณะเปน็ เสน้ ใยเหนียว และมคี วามแขง็ แรง มที ้งั ที่เป็นเอน็ กลา้ มเนอื้ (Tendon) และเอ็น ยึดขอ้ (Ligament) สา้ หรบั กระดกู ออ่ นจะอยูท่ ี่ปลายหรอื หวั ของ กระดกู ท่ปี ระกอบเป็นข้อต่อ (Joints) เพอื่ ปอ้ งกนั การเสียดสีของ กระดูกด้วยกนั หน้าที่ของระบบโครงร่าง จะเป็นการรองรบั อวยั วะ ต่างๆ ใหท้ รงและตง้ั อยใู่ นตา้ แหนง่ ทถ่ี กู ตอ้ ง ปกปอ้ งอวยั วะที่สา้ คัญ ของร่างกาย ชว่ ยรา่ งกายให้เคลอื่ นไหวในทกุ อริ ยิ าบถทจ่ี า้ เปน็ ใน การดา้ เนินชีวิต นอกจากนยี้ งั มบี ทบาทในการเกบ็ รกั ษาแคลเซยี ม รวมถงึ ไขกระดกู (Bone marrow) ยังเก่ียวข้องในการผลติ เซลล์ เมด็ เลือดอีกดว้ ย ทมี่ า:https://www.health2click.com/2018/06/19/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E 0%B8%9A%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B9%88%E 0%B8%B2%E0%B8%87-skeleton-system/

• อวยั วะทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 1. กระดกู (Bone) เปน็ อวัยวะท่ีประกอบดว้ ยเนอื้ เย่ือกระดกู มีความแข็งแรงแต่มีนา้ หนักเบา โดยมีการพฒั นาใหม้ ีรูปแบบของกระดกู ที่ แตกต่าง และสอดคลอ้ งกนั กบั การทา้ งานของรา่ งกาย เชน่ กะโหลกศีรษะ (skull) มลี กั ษณะแบนแตแ่ ข็งแรงมาก กระดูกตน้ ขา มี ลักษณะเปน็ แกนยาว มจี ดุ ยึดเกาะของกลา้ มเนื้อ เป็นตน้ ผู้ใหญ่จะมีกระดกู จ้านวน 206 ชิน้ แบง่ ออกตามต้าแหนง่ ในร่างกายเปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ • กระดูกแกนล้าตัว (Axial skeleton) มจี า้ นวน 80 ชิ้น ไดแ้ ก่ กระดูกกะโหลกศีรษะจ้านวน 29 ชิ้น กระดกู สันหลัง 51 ชิ้น • กระดกู สาขาของรา่ งกาย (Appendicular skeleton) มีจ้านวน 126 ช้นิ เป็นกระดูกท่แี ยกออกมาจากกระดกู แกนลา้ ตัว ประกอบดว้ ย กระดูกแขน 60 ชนิ้ กระดูกขา 60 ช้นิ กระดูกสะบกั 2 ช้ิน เชงิ กราน 2 ช้ิน และ ไหปลาร้า 2 ช้ิน นอกจากนี้ หากดตู ามรปู รา่ งของ กระดูกยงั สามารถแบง่ ได้เป็น กระดกู แบบยาว เช่น กระดกู แขนขา หนา้ แข้งกระดูกแบบส้ัน เชน่ กระดกู ข้อมอื ขอ้ เท้า กระดูกแบบ แบน เช่น กระดกู ศรี ษะ กระดูกอก กระดกู รปู รา่ งไมแ่ นน่ อน เชน่ กระดูกสนั หลัง กระดกู องุ้ เชิงกราน และกระดูกแบบสั้นฝงั ตวั อยูใ่ น เอ็น เช่น กระดกู สะบ้าโครงสรา้ งภายในของกระดกู โดยเฉพาะกระดกู แบบยาว ด้านนอกจะเปน็ เน้ือเย่ือกระดูกในส่วนทีอ่ ดั แนน่ (Compact bone) สว่ นปลายจะเป็นเนอื้ เยื่อกระดกู ในสว่ นทโ่ี ปรง่ (Spongy bone) โดยปลายด้านท่ีเป็นขอ้ ตอ่ จะมกี ระดกู อ่อน (Articular cartilage) อยู่ท่ีผวิ ส่วนแกนกลางของกระดูก จะมโี พรงกระดูกท่ีมหี ลอดเลือดและไขกระดูก (Bone marrow) อยู่ โดยไข กระดูกน้ีจะท้าหน้าที่สรา้ งเมด็ เลือดแดง เม็ดเลอื ดขาว และเกลด็ เลือด ให้กับรา่ งกาย ท่ีผวิ ดา้ นนอกของกระดูกยกเว้นด้านข้อต่อ จะมี เยือ่ หุม้ กระดูก (Periosteum) เป็นชอ่ งทางทางในการนา้ เลือด สารอาหาร มาเลีย้ งเซลล์กระดูก ตลอดจนเปน็ ทางผา่ นของ เส้นประสาททีม่ ายังกระดกู ดว้ ย

• อวยั วะทเ่ี ก่ียวข้อง 2. กระดกู อ่อน (Cartilage) เปน็ เน้ือเยอ่ื เกย่ี วพันที่มีโปรตีนหลายชนดิ เช่น คอลาเจน เปน็ สวนประกอบท่มี คี วามออ่ นนมุ่ กว่ากระดูก แต่ แขง็ กว่ากลา้ มเน้ือ สามารถเปน็ เน้ือเยอ่ื ในระบบโครงร่างได้ พบในบรเิ วณข้อต่อต่างๆของร่างกาย รวมถงึ โครงรา่ งของ ใบหู จมกู และหลอดลม กระดกู อ่อนไม่มีหลอดเลอื ดมาเลย้ี ง โดยเซลลข์ องกระดูกออ่ นจะแลกเปลี่ยนสารอาหารโดยแพร่ผ่านคอลลาเจนสูเ่ สน้ เลือดด้านนอก ทัง้ นี้กรณีเซลล์กระดกู ออ่ นถกู ทา้ ลายจะซอ่ มแซมตัวเองไดแ้ ต่ชา้ เนื่องจากมเี มตาบอลซิ มึ ที่ตา้่ 3. ข้อตอ่ และเอ็นเชอ่ื มกระดกู (Joint & Ligament) ข้อตอ่ จะเปน็ บริเวณท่กี ระดกู 2 ชิ้นมาตอ่ กัน โดยมเี อ็นและองค์ประกอบอ่นื ๆ รวมถงึ กลา้ มเน้ือชว่ ยยดึ เสริมความแข็งแรง แบง่ เปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ • ข้อต่อเสน้ ใย (Fibrous joints) มเี นอ้ื เยื่อเกยี่ วพนั ยึดกระดูกเข้าไว้อยา่ งแน่นหนา ไม่มีช่องวา่ งระหว่างข้อต่อ เปน็ ข้อต่อทเี่ คลอื่ นไหว ไม่ได้ ไดแ้ ก่ ข้อตอ่ กะโหลกศรี ษะ • ขอ้ ต่อกระดูกออ่ น (Cartilage joints) มีกระดกู ออ่ นขั้นระหว่างกระดกู ทง้ั สองข้างทีม่ าตอ่ กนั ไม่มีช่องวา่ งระหว่างข้อต่อ ขอ้ ต่อประเภท นี้เคล่ือนไหวไดเ้ ลก็ น้อย ไดแ้ ก่ ขอ้ ตอ่ กระดูกสันหลัง ขอ้ ต่อกระดกู เชงิ กราน • ข้อต่อชนดิ ซิลโนเวยี ล (Sylnovial joint) เปน็ ข้อตอ่ ที่มแี คปซลู หมุ้ ขอ้ ภายในแคปซลู จะมเี ยอื้ หมุ้ ขอ้ ถดั จากเยอ่ื ห้มุ ขอ้ จะเป็นโพรงข้อต่อ ภายในโพรงจะมีนา้ ไขข้อ (Sylnovial fluid) ท่ีสรา้ งจากเนอื้ เย่อื รอบแคปซูลหมุ้ ข้อ เพ่อื ช่วยใหข้ ้อตอ่ เคล่ือนทไ่ี ดส้ ะดวก นอกจากนี้ ผิว ของกระดูกทม่ี าเชอื่ มกันเป็นขอ้ ต่อชนิดนี้ จะมีส่วนท่เี รยี กว่ากระดูกออ่ นผวิ ข้อ (Articular cartilage) รว่ มอย่ดู ้วยเราสามารถแบ่งชนิด ของขอ้ ตอ่ ชนดิ ซิลโนเวยี ล (Sylnovial joint) ตามลักษณะการเคล่อื นไหว ไดเ้ ปน็ ข้อตอ่ แบบวงรี เคล่ือนไหวได้ 2 ทาง เช่น ข้อต่อ บรเิ วณคอ ขอ้ ตอ่ แบบเดือยเคลอ่ื นไหวโดยหมุนรอบแกน เช่น ข้อต่อตน้ คอกับฐานกะโหลกศีรษะ ขอ้ ตอ่ แบบลูกกลมในเบ้ากระดูก เช่น ข้อต่อหัวไหล่ ข้อต่อแบบอานมา้ ลกั ษณะโค้งเวา้ สอดคล้องกันพอดี เชน่ ขอ้ ตอ่ นว้ิ มอื กบั กระดูกฝ่ามอื ขอ้ ตอ่ แบนราบ เช่น ขอ้ ต่อท่ี

• หนา้ ที่ระบบโครงรา่ ง (Skeleton system) • เปน็ ระบบท่เี ป็นท่ยี ดึ เกาะของระบบกล้ามเนอ้ื (Muscular system) เพอ่ื ชว่ ยในการค้าจุน ร่างกาย ปกป้องอวยั วะภายใน รักษาร่างกายให้คงตัว ช่วยในการเคลอ่ื นไหวในทกุ ๆ ดา้ น อาทิ น่ัง นอน เดนิ หยบิ จับ ออกกา้ ลงั เปน็ ตน้ เป็นแหล่งสะสมแร่ธาตุ โดยเฉพาะแคลเซยี มและ ฟอสฟอรัส นอกจากนไี้ ขกระดูกซึ่งเปน็ เนอ้ื เย่ือกระดกู ช้นั ในจะสร้างเมด็ เลอื ดแดง รวมถงึ เมด็ เลอื ดขาวชนิดลิมโฟไซต์ ในระบบภมู คิ ้มุ กันอีกดว้ ย

• หน้าที่ระบบโครงร่าง (Skeleton system) • ส้าหรับเอน็ กระดูก (Ligament) เปน็ กลุม่ หรือมัดของเนื้อเยือ่ เกยี่ วพนั ชนิดเสน้ ใย (Fibrous tissue) ท่ีช่วยยึดกระดกู และกระดูกชิน้ อืน่ เข้าไว้ เพอ่ื ประกอบขึ้นเปน็ ขอ้ ต่อ (Joint) โดยจะมี คุณสมบัตใิ นการยดื หยุน่ ตา่ งจากเอน็ กล้ามเน้ือ (Tendon) ซ่ึงไม่มคี วามยืดหยุ่น แตห่ ากเอน็ กระดูกเจอแรงดึงมากเกินไป อาจจะไมส่ ามารถกลับส่สู ภาพเดิมได้ ทง้ั น้ีในขอ้ ตอ่ ชนิดซลิ โนเวียล จะมเี อน็ แคปซลู (Capsular ligament) เป็นสว่ นของแคปซูลข้อต่อ โดยเอ็นนอกแคปซูล (Extra-capsular ligament) ท้าหนา้ ทีเ่ ชอ่ื มกระดูกเขา้ ดว้ ยกนั และช่วยรักษาเสถยี รภาพของข้อ ต่อ เอน็ ในแคปซูล (Intra-capsular ligaments) ทา้ หน้าท่รี กั ษาเสถียรภาพของขอ้ และท้าให้ ข้อตอ่ มีพิสยั การเคลื่อนไหวกว้างขึ้น



• ระบบภูมิคมุ้ กัน (Immune system) • การใชช้ ีวิตอยู่ในส่งิ แวดลอ้ มของคนเรา หลกี เล่ยี งไม่ได้ทตี่ อ้ งเจอกบั สภาพท่ไี มเ่ หมาะสม และอาจเป็นอันตราย เช่น ฝุน่ ละออง สารเคมี เช้อื โรค เป็นต้น ปกติร่างกายจะมรี ะบบท่คี อยป้องกันสงิ่ แปลกปลอมเหล่าน้ี ไมใ่ หเ้ ขา้ ส่รู า่ งกาย เช่น มผี ิวหนงั มีขน มีเยอ่ื เมือก มีน้าตา มสี ภาพกรด ดา่ ง ตา่ งๆ อยา่ งไรก็ตามยังมบี าง โอกาสทส่ี ิง่ แปลกปลอมสามารถเขา้ สรู่ า่ งกายและกอ่ ใหเ้ กิดผลเสีย ได้ เชน่ เกิดโรค เกิดการแพ้ และอนื่ ๆ รา่ งกายจึงมรี ะบบ ภูมคิ มุ้ กัน เพือ่ ช่วยต่อต้านและก้าจดั สิง่ แปลกปลอม ใหค้ นเรา สามารถดา้ รงชีวิตอยู่ในส่ิงแวดล้อมโดยท่วั ไปไดอ้ ยา่ งปกติ และมี สขุ ภาพกายท่ีสมบรู ณแ์ ข็งแรง ทมี่ า:https://www.health2click.com/2018/06/26/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E 0%B8%9A%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%B8%E 0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99-immune-system/

• อวัยวะท่เี กย่ี วข้อง • ไขกระดูก (Bone marrow) เป็นโพรงทีอ่ ยตู่ รงกลางของกระดกู โดยเฉพาะกระดูกท่อนยาว มีหน้าที่ในการผลิตเม็ดเลือดขาว (White blood cells, Leukocytes) ทุกชนิด รวมถงึ เมด็ เลอื ดแดง และเกล็ดเลอื ด • ต่อมไทมสั (Thymus gland) เปน็ ตอ่ มท่เี มด็ เลือดขาวชนดิ ทีลิมโฟไซต์ (T- Lymphocyte) ซง่ึ ถูกสร้างจากไขกระดกู มาพฒั นาจนสมบรู ณ์ กอ่ นสง่ สู่กระแสเลือด เพ่ือท้าหนา้ ทใ่ี นระบบภมู ิคุ้มกนั • ต่อมน้าเหลอื ง (Lymph node) เป็นต่อมรูปไข่ กระจายอย่เู ป็นระยะตามหลอดน้าเหลือง ทา้ หน้าทก่ี รองน้าเหลอื ง โดยเปน็ ทอ่ี ยู่ของเมด็ เลือดขาวชนิดลมิ โฟไซต์ (Lymphocyte) ท่คี อยท้าลายเชอื้ จุลินทรยี ์ โดยเฉพาะแบคทีเรียทเี่ ขา้ มาสู่ร่างกาย รวมถึงการท้าลายเซลลเ์ ม็ด เลือดขาวที่หมดอายุ • มา้ ม (Spleen) เปน็ ท่ีอยูข่ องเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดโมโนไซต์ (Monocyte) และลิมโฟไซต์ (Lymphocyte) รวมถงึ การท้าลายเม็ดเลือด แดงและเกล็ดเลอื ดท่ีหมดอายุ

• การทา้ งานของระบบภมู คิ ้มุ กนั • เมอ่ื รา่ งกายสมั ผัสเชื้อโรค (Pathogen) หรอื ส่ิงแปลกปลอมตา่ ง ๆ จะมีกลไกการท้างาน อธบิ ายพอเข้าใจดงั นี้ • ดา่ นท่ี 1 การป้องกันเชื้อโรคและสิง่ แปลกปลอมโดยผวิ หนงั เยื่อเมือก สารคดั หลัง่ ขนอ่อน เอนไซมแ์ ละอนื่ ๆ ตามชอ่ งเปดิ เข้าสรู่ า่ งกาย เชน่ ท่ผี ิวหนังมีการขบั กรดบางชนิดออกมากับเหงื่อ ทา้ ให้เหงอื่ มคี วามเป็นกรด สามารถป้องกนั เชอ้ื โรคเข้าสู่รา่ งกายทางผวิ หนงั ท่ีโพรง จมูก มีขนออ่ น มตี อ่ มน้ามัน ท่เี ยอื่ บหุ ลอดลม มขี น มเี สมหะ การไอการจามเพอื่ ไมใ่ หเ้ ชือ้ โรคและสง่ิ แปลกปลอมเข้าสรู่ า่ งกายผา่ น ทางเดินหายใจ ท่ปี ากมนี ้าลาย กระเพาะอาหารและล้าไส้เล็กมเี อนไซมท์ มี่ สี ภาวะเปน็ กรดสามารถท้าลายเชื้อโรคและสง่ิ แปลกปลอม รวมถึงการอาเจียนเพ่ือขับสิ่งแปลกปลอมออกจากทางเดนิ อาหาร ที่ตามนี า้ ตาท่มี เี อนไซมส์ ามารถทา้ ลายและขบั เช้ือโรคออกจากตา นอกจากน้ียังมี สารคดั หลัง่ ในชอ่ งคลอด ความเปน็ กรดของปัสสาวะ ซึ่งสามารถป้องกนั การเจรญิ เตบิ โตของเชอื้ โรคได้ เปน็ ตน้ นอกจากนแ้ี ลว้ ตามอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย จะมจี ลุ นิ ทรียป์ ระจ้าถิ่น (Normal flora) ซง่ึ ในรา่ งกายปกตจิ ะไมก่ ่อให้เกดิ โรค โดยเชอื้ นจ้ี ะ คอยแยง่ อาหารและที่อยู่ รวมถึงสรา้ งสารต่อตา้ นการเจริญเติบโตของเชือ้ กอ่ โรคตัวอื่น ๆ ท่เี ขา้ สู่ร่างกาย

• การท้างานของระบบภูมิค้มุ กัน • เมื่อร่างกายสัมผัสเชือ้ โรค (Pathogen) หรอื ส่ิงแปลกปลอมตา่ ง ๆ จะมกี ลไกการทา้ งาน อธิบายพอเขา้ ใจดงั นี้ • ดา่ นที่ 2 การปอ้ งกันโดยการทา้ งานของเมด็ เลือดขาว ในกรณีที่เชอื้ โรคหรือสง่ิ แปลกปลอมสามารถผ่านดา่ นที่ 1 เข้าสูร่ ่างกายได้ เนอื้ เยอ่ื บริเวณนั้นจะเกดิ การอักเสบ จากนน้ั เม็ดเลือดขาวชนดิ ตา่ ง ๆ จะรว่ มกันท้างานโดยเมด็ เลอื ดขาวชนดิ ฟาโกไซต์ (Phagocyte) ไดแ้ ก่ เม็ดเลือดขาวชนดิ โมโนไซต์ (Monocyte) แมคโครฟาจ (Macrophage) และนิวโทรฟลิ (Neutrophil) จะเขา้ จับกินเชอ้ื โรค โดยเฉพาะแบคทเี รียเรียก กระบวนการฟาโกไซโตซสิ (Phagocytosis) หลังจากน้ันท้ังเช้อื โรคและเมด็ เลือดขาวจะตายแล้วกลายเป็น หนอง นอกจากนีย้ งั มีอนิ เตอรเ์ ฟียรอน (Interferon) ชว่ ยขดั ขวางการแบ่งตัวของเช้ือไวรัส เซลลเ์ อน็ เค (Natural killer cell) ชว่ ยใน การท้าลายเซลลเ์ น้อื งอก (Tumor cell) และเซลลท์ ตี่ ดิ เชอ้ื ไวรัส รวมถงึ การมรี ะบบคอมพลีเมนต์ (complement system) ท่กี ล่มุ ของ โปรตนี ในซรี ัมหรือน้าเลือด ชว่ ยให้แบคทเี รียทม่ี แี อนติบอดี (Antibody) เกาะอยู่ ถูกเซลล์จบั กนิ ไดง้ า่ ยข้นึ ท้ังนกี้ ลไกการป้องกนั ในด่าน 1 และด่าน 2 น้นั ถือเปน็ กลไกการปอ้ งกนั แบบไม่เฉพาะเจาะจง (Nonspecific defense mechanism) มคี วามสามารถในการปอ้ งกัน หรือท้าลายเช้อื จลุ ินทรียไ์ ด้ในระดบั หนึ่งเทา่ น้นั โดยจะมกี ารเปลีย่ นแปลงไปตามอายุ พันธกุ รรม ฮอรโ์ มน และภาวะโภชนาการของแต่ ละบุคคล

• การทา้ งานของระบบภูมิคุ้มกนั • เมอ่ื รา่ งกายสมั ผัสเชื้อโรค (Pathogen) หรือส่ิงแปลกปลอมตา่ ง ๆ จะมีกลไกการทา้ งาน อธบิ ายพอเข้าใจดงั นี้ • ด่านท่ี 3 การปอ้ งกนั โดยการสร้างภมู ิคุ้มกันหรอื แอนติบอดี (Antibody) ขึ้นมาตอ่ ตา้ นเช้อื โรคหรอื ส่งิ แปลกปลอม เรยี ก แอนติเจน (Antigen) แบบเฉพาะเจาะจง โดยในขัน้ ตอนนี้ จะเกย่ี วขอ้ งกับการท้างานของเซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาวลิมโฟไซต์ (Lymphocyte) ท้งั ชนิดบี (B-lymphocyte) และชนดิ ที (T-lymphocyte)โดยบี ลมิ โฟไซต์ เมือ่ สัมผัสแอนตเิ จนจะเปล่ียนแปลงไปเปน็ เซลลพ์ ลาสมา (Plasma cell) เพอ่ื ทา้ หน้าทส่ี รา้ งแอนตบิ อดี เรยี ก อมิ มโู นโกลบูลิน (Immunoglobulin) เพ่อื ตอบสนองต่อแอนติเจนแตล่ ะชนดิ อย่างจ้าเพาะ เจาะจง ปกติรา่ งกายจะสามารถสรา้ งแอนติบอดไี ดภ้ ายใน 14 วนั ขึ้นกบั ชนิด ปริมาณและวธิ ีการเข้าสู่ร่างกายของแอนตเิ จนนนั้ ๆ นอกจากน้ีบางสว่ นของบี ลมิ โฟไซต์ ยังเปล่ียนไปเป็นเซลลเ์ มมเมอรี่ (Memory cell) เพอ่ื จดจา้ แอนติเจนท่ีเคยเขา้ มา และสรา้ ง แอนติบอดไี ดเ้ ร็วขึ้นหากมีเชอื้ เดิมเข้ามาในรา่ งกายอกี สา้ หรบั ที ลมิ โฟไซต์จะมอี ยู่ 3 กลุม่ กลมุ่ แรกเป็นเซลลท์ ี ทีท่ า้ ลายสงิ่ แปลกปลอม (Cytotoxic T-cell, CD8+) มหี น้าที่ตรวจจับและทา้ ลาย เซลล์มะเรง็ เซลล์ตดิ เชอื้ ไวรสั เซลล์จากอวยั วะปลูกถ่าย เป็นตน้ กลุ่มที่สอง เซลลท์ ี ผู้ช่วย (Helper T-cell, CD4+) มีหน้าท่ีกระตุ้นการท้างานของเซลล์ในระบบภมู คิ ุม้ กันอื่นๆ และกลมุ่ ท่ี 3 เป็นเซลลท์ ี กดภูมคิ ุม กนั (suppressor T-cell) มหี นา้ ท่ียบั ยง้ั การท้างานของเซลล์ในระบบภมู ิคุม้ กัน ไมใ่ ห้มีการตอบสนองมากเกนิ ไป



• ระบบน้าเหลอื ง (Lymphatic system) • ประกอบด้วยน้าเหลือง หลอดน้าเหลืองและต่อมน้าเหลือง โดยมี บทบาทในการน้าของเหลวที่อยู่ระหว่างเซลล์หรืออยู่รอบ ๆ เซลล์ รวมถึงเม็ดเลือดขาวบางชนิด กลับเข้าสู่หัวใจทางหลอดเลือดด้า ใหญ่ โดยน้าเหลืองจะคล้ายพลาสมาแต่มีโปรตีนน้อยกว่า และมี ส่วนประกอบท่ีแตกต่างกันตามอวัยวะท่ีเป็นแหล่งท่ีมา เช่น น้าเหลอื งที่มาจากบรเิ วณล้าไส้เล็ก จะมีไขมันสูง น้าเหลืองที่มาจาก บริเวณต่อมน้าเหลืองจะมีเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์สูง โดย ระหว่างทางท่ีน้าเหลืองไหลไปตามหลอดน้าเหลืองตามการหดตัว และคลายตัวของกล้ามเน้ือที่อยู่รอบ ๆ นั้น จะพบต่อมน้าเหลืองอยู่ ระหว่างจุดรวมของหลอดน้าเหลืองทั่วไปในร่างกาย เช่น บริเวณที่ รักแร้และขาหนีบ ภายในจะมีเม็ดเลือดขาว ชนิดลิมโฟไซต์ ซึ่งจะ กรองแบคทีเรยี และสง่ิ แปลกปอลม ไมใ่ หเ้ ข้าสู่กระแสเลือด ทมี่ า:https://www.health2click.com/2018/06/21/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E 0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E 0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87-lymphatic-system/