Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนเรื่อง วัยรุ่นยุคใหม่ รู้เท่าทันใส่ใจด้านโภชนาการ

แผนการสอนเรื่อง วัยรุ่นยุคใหม่ รู้เท่าทันใส่ใจด้านโภชนาการ

Description: kittirat norkhud 633263005
สื่องานส่งเสริมสุขภาพ
(นายกิตติรัตน์ หน่อขัด)
ผู้จัดทำ

Search

Read the Text Version

แบบบันทกึ แผนการใหส้ ขุ ศกึ ษา เอกสาร สธ. 23 แผนการสอนเรื่อง วยั รุ่นยุคใหม่ รูเ้ ทา่ ทนั ใสใ่ จดา้ นโภชนาการ วัตถุประสงค์ 1.เพอ่ื ให้กล่มุ เปา้ หมายมคี วามรู้เร่ืองภาวะโภชนาการในช่วงวัยรนุ่ 16-18 ปี ผู้สอน นายกติ ตริ ตั น์ หนอ่ ขัด 2.เพือ่ ให้กลมุ่ เป้าหมายมีความเขา้ ใจเรอื่ งภาวะโภชนาการในชว่ งวยั รนุ่ 16-18 ปี 3.เพอ่ื ให้กลุ่มเปา้ หมายสามารถนำความรู้ท่ไี ดไ้ ปใช้ในชวี ิตประจำวันได้ ผู้รบั การสอน 1.นายพลาพล ศรีสวุ รรณ อายุ 18 ปี 2.นายพิเชษฐ์ ศรสี วุ รรณ อายุ 16 ปี 3.นายงามพล วงษ์มณี อายุ 17 ปี สถานที่ โครงการบา้ นเอ้ืออาทรพระประโทน 1 จังหวดั นครปฐม ระยะเวลา วันที่ 6 - 8 กันยายน 2564 ความคิดรวบยอด จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เนื้อหา กจิ กรรมการสอน สอื่ การสอน การวดั และการประเมนิ ผล “วยั รุ่น” เปน็ วยั ที่มีความ ต้องการอาหารที่มากและมี ข้นั นำ ปริมาณเพียงพอเพื่อใช้สำหรับ ก า ร เ จ ร ิ ญ เ ต ิ บ โ ต แ ล ะ เ ป็ น 1.กล่าวทักทาย พลังงานเพื่อการประกอบ กิจกรรมในแต่ละวัน วัยรุ่นควร 2.กิจกรรมสานสัมพันธ์โดย มีความรู้ ทกั ษะดา้ นโภชนาการ ในการเลือกบริโภคอาหารให้ การพาน้องทำกิจกรรมก่อน ไ ด ้ ร ั บ ส า ร อ า ห า ร ต า ม ว ั ย ที่ ถูกต้องเหมาะสมและสามารถ เรียน เช่น พาน้องวิ่งออก คดิ คำนวณค่า BMI จากน้ำหนัก ส่วนสูงและเส้นรอบเอวได้ อีก กำลังกาย ทำท่ากายบรหิ าร ทั้งสามาถนำความรู้ที่ได้ไปเปน็ เบอ้ื งต้นบรเิ วณทีพ่ กั อาศัย 3.ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ผ่านสอื่ CAI 4.ชมวิดีทัศน์เรื่อง อาหาร สำหรบั วัยเรียนและวัยรุน่ 5.ถามตอบองค์ค ว า ม รู้ หลงั จากการชมวดิ ีทัศน์

แนวทางประยุกต์ใช้แนะนำ เนอ้ื หา กิจกรรมการสอน ส่ือการสอน การวดั และการประเมินผล ความรู้ให้คนใกล้ชิด ให้มี ความรู้ ทักษะ ในการเลือก -ความสำคญั ของอาหารกับวัยรุ่น ขนั้ สอน 1.กระดาษ ปากกา กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 รับประทานอาหารที่ถูกต้อง ตามหลกั โภชนาการได้ 1.เพื่อใช้ในการเจริญเตบิ โตของ 1.ชักถามความรูท้ ่ัวไป 2.ใบความรู้หน่วยที่ 1 สามารถบอกความสำคญั ความคดิ รวบยอด จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม รา่ งกายและพัฒนาระบบตา่ ง ๆ 2.แจกเอกสารการเรยี นรู้ เรื่อง ความสำคัญของ ของอาหารกับวยั รุน่ ได้ 1.กล่มุ เป้าหมายสามารถบอก ความสำคัญของอาหารกบั วัยรุน่ ได้ ของรา่ งกาย รวมถึงสร้างพลังงาน -ใบความรู้หน่วยที่ 1 เรื่อง อาหารกบั วยั รุ่น อย่างถูกต้อง สำหรบั การใชป้ ระกอบกิจกรรม ความสำคัญของอาหารกับ 3.ใบงานหนว่ ยที่ 1 ต่าง ๆ ในแตล่ ะวนั วัยรุน่ เร่ือง ความสำคัญของ 2.เพอื่ ให้ได้รับอาหารทเี่ หมาะสม -ใบงานหน่วยที่ 1 เรื่อง อาหารกบั วยั รุ่น กับความต้องการของชว่ งวยั ความสำคัญของอาหารกับ 4.สอ่ื E-book เร่อื ง วัยรุ่น ความสำคญั ของอาหาร 3.ผู้สอนบรรยายเนื้อหาโดย กบั วยั ร่นุ ใ ช ้ ส ื ่ อ E-book เ ร ื ่ อ ง ความสำคัญของอาหารกับ วยั ร่นุ 4.ถามตอบองค์ความรู้ที่ได้ หลงั จากการบรรยาย 5.ให้ทำใบงานหน่วยที่ 1 เรื่อง ความสำคัญของ อาหารกับวยั รนุ่

ความคิดรวบยอด จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม เนอ้ื หา กิจกรรมการสอน สือ่ การสอน การวดั และการประเมินผล 2.กล่มุ เปา้ หมายสามารถบอก -ความต้องการอาหารของวัยรุ่น 1.ซักถามความรู้ 1.ใบความรู้หน่วยที่ 2 กลมุ่ เปา้ หมายร้อยละ 80 ความตอ้ งการอาหารของวยั รุ่น -พลงั งาน วยั ร่นุ ชาย 1,700 – 2.แจกเอกสารการเรียนรู้ เรื่อง ความต้องการ สามารถบอกความต้องการ ได้ 2,300 กโิ ลแคลอร่ี วัยรนุ่ หญิง -ใบความรู้หน่วยที่ 2 เรื่อง อาหารของวยั รุ่น อาหารของวัยรุน่ ได้อย่าง 1,600 – 1,850 กโิ ลแคลอรี่ ความต้องการอาหารของ 2.ใบงานหน่วยที่ 2 ถูกต้อง -คารโ์ บไฮเดรต ให้พลังงาน วร วัยร่นุ เรื่อง ความต้องการ ได้รบั 55 – 60 % ของพลงั งาน -ใบงานหน่วยที่ 2 เรื่อง อาหารของวัยรนุ่ ท้ังหมด ได้แก่ ข้าว แป้ง เผือก มนั ความต้องการอาหารของ 3.สื่อ E-book เรื่อง ขา้ วโพด ธัญพชื แนะนำขา้ วไม่ขดั วัยรนุ่ ความต้องการอาหาร สี เช่น ข้าวกลอ้ ง 3.ผู้สอนบรรยายเนื้อหาโดย ของวัยรุ่น -โปรตีน เสริมสร้างกลา้ มเนอ้ื สรา้ ง ใช้สื่อ E-book เรื่อง ความ ภมู ิคมุ้ กนั และฮอร์โมนควรได้รบั ตอ้ งการอาหารของวยั ร่นุ 10 – 15 % ของพลงั งานทั้งหมด 4.การถามตอบองค์ความรู้ ได้แก่ เน้ือสตั ว์ต่าง ๆ แนะนำ หลังจากการบรรยาย เนอื้ สัตว์ไขมนั ต่ำ เช่น ปลา 5.ให้ทำใบงานหน่วยที่ 2 เน้ือสัตว์ไม่ติดมนั และหนัง นม ถั่ว เรื่อง ความต้องการอาหาร เมลด็ แห้ง ผลติ ภณั ฑ์จากถ่วั ต่าง ๆ ของวยั รุ่น เชน่ เต้าหโู้ ปรตนี เกษตร -ไขมัน ให้พลังงานและความอบอนุ่ รวมถึงกรดไขมันทจ่ี ำเปน็ ต่อระบบ ประสาท และช่วยในการละลาย และดดู ซึมวิตามนิ ทล่ี ะลายได้ใน ไขมนั ควรได้รบั 30 % ของ พลังงานทงั้ หมด ได้แก่ ไขมนั จาก

พืชและจากสัตว์ น้ำมนั ปลา เนย งา เน้นไขมนั จากพืช -วิตามนิ สำคญั ตอ่ ปฏิกริ ิยาการ สลายอาหารให้ได้พลงั งานมีมากใน ธัญพืช ผกั และผลไม้ นอกจากนผ้ี กั และผลไม้ยังช่วยลดการดูดซมึ นำ้ ตาลและโคเลสเตอรอล ชว่ ย เสรมิ สร้างระบบขบั ถ่าย - แร่ธาตุ เป็นองค์ประกอบของ เซลลแ์ ละกล้ามเนื้อ แรธ่ าตทุ ี่ สำคญั กบั วัยรุ่น คือ แคลเซยี ม ช่วย สร้างกระดูก แหลง่ แคลเซยี ม ได้แก่ นม ผลติ ภัณฑจ์ ากนม ปลา เลก็ ปลาน้อย กงุ้ เล็ก กะปิ ปลา กระป๋อง และผักใบเขยี ว ฟอสฟอรสั เปน็ องคป์ ระกอบของ กระดูก แหล่งอาหาร ได้แก่ ถั่ว ไข่ ปลา เนือ้ สตั ว์ เปด็ ไก่ นม และเนย แขง็ เหลก็ เป็นองคป์ ระกอบของ เมด็ เลอื ดแดงผู้หญงิ มีความ ต้องการมากกวา่ ผ้ชู าย เน่อื งจาก เสยี ไปกบั ประจำเดือน แหลง่ อาหาร ได้แก่ เคร่ืองในสัตว์ ตับ เลือด และเน้ือสัตวท์ ม่ี ีสีแดง

-นำ้ เปน็ สว่ นประกอบของเซลล์ น้ำยอ่ ย ฮอรโ์ มนน้ำเป็นตวั ละลาย ช่วยรักษาความสมดุลและอุณหภมู ิ ของร่างกาย โดยปกตริ ่างกาย ตอ้ งการนำ้ วนั ละประมาณ 8 -10 แก้ว ความคิดรวบยอด จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เน้อื หา กิจกรรมการสอน สื่อการสอน การวัดและการประเมินผล 3.กลมุ่ เป้าหมายสามารถ อธบิ ายปญั หาทางด้านโภชนา -ปญั หาทางด้านโภชนาการของ 1.ซกั ถามความรู้ 1.ใบความรู้หน่วยที่ 3 กลุม่ เป้าหมายร้อยละ 80 การของวยั รุน่ ได้ วัยรนุ่ 2.แจกเอกสารการเรียนรู้ เรื่อง ปัญหาทางด้าน สามารถอธิบายปัญหา 1.การรับประทานอาหารไม่ตรง -ใบความรู้หน่วยที่ 3 เรื่อง โภชนา การของวัยรนุ่ ทางด้านโภชนาการของ เวลา ปัญหาทางด้านโภชนา การ 2.ใบงานหน่วยที่ 3 วยั รนุ่ ได้อย่างถูกต้อง 2.การไมร่ บั ประทานอาหารเช้า ของวัยรนุ่ เรื่อง ปัญหาทางด้าน 3.การอดอาหารบางมือ้ เพราะ -ใบงานหน่วยที่ 3 เรื่อง โภชนา การของวัยรุ่น กังวลเรือ่ งน้ำหนกั และรปู ร่าง ปัญหาทางด้านโภชนา การ 3.สื่อ E-book เรื่อง ส่งผลให้ขาดสารอาหาร ของวัยรนุ่ ปัญหาทางด้านโภชนา 4.การรบั ประทานอาหารจานดว่ น 3.ผู้สอนบรรยายเนื้อหาโดย การของวยั ร่นุ แบบตะวนั ตก เช่น เบอร์เกอร์ ใช้สื่อ E-book เรื่อง ปัญหา เฟรนดฟ์ รายด์ เปน็ ต้น ทางด้านโภชนา การของ 5.การรับประทานจกุ จกิ ขนมกรุบ วัยรนุ่ กรอบ หรอื ขนมขบเคยี้ วก่อให้เกดิ 4.การถามตอบองค์ความรู้ โรคอว้ นและฟันผไุ ด้ หลังจากการบรรยาย 6.ความเชอ่ื ผิดๆ เร่ืองอาหาร 5.ใหท้ ำใบงานหน่วยท่ี 3 หลงเชื่อคำเชญิ ชวนของโฆษณา เร่อื ง ปัญหาทางด้านโภชนา เชน่ อาหารเสริมตา่ งๆ การของวยั รุ่น

7.เบอื่ อาหาร เน่ืองจากภาวะทาง อารมณ์และจติ ใจ เชน่ ผดิ หวงั เร่ืองต่างๆ ความคดิ รวบยอด จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม เนือ้ หา กจิ กรรมการสอน สอ่ื การสอน การวดั และการประเมนิ ผล 4.กลุ่มเปา้ หมายสามารถ ปฏิบัติการชัง่ นำ้ หนัก วดั -ดชั นีมวลกาย หรือ BMI 1.การซกั ถามความรู้ 1.กระดาษ ปากกา กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 สว่ นสงู หาค่าดัชนมี วลกาย (BMI) ได้ -ดัชนีมวลกาย หรือ BMI ย่อมา 2.แจกเอกสารการเรียนรู้ 2.ใบความรู้หนว่ ยท่ี 4 สามารถปฏ ิบัติการชั่ง จาก Body Mass Index เป็นค่า -ใบความรู้หน่วยท่ี 4 เรื่อง -เรื่อง การคำนวณค่า น้ำหนัก วัดส่วนสูง หาค่า สากลที่ใช้เพื่อคำนวณเพื่อหา การคำนวณคา่ ดัชนีมวลกาย ดัชนีมวลกาย (BMI) ดัชนีมวลกาย (BMI) ได้ น้ำหนักตัวที่ควรจะเป็น และ (BMI) และการวัดเส้นรอบ และการวัดเส้นรอบ อยา่ งถูกต้อง ประมาณระดับไขมันในร่างกาย เอว เอว โดยใช้นำ้ หนกั ตัว และส่วนสูง -ใบงานหนว่ ยที่ 4 เรอื่ ง การ 3.ใบงานหนว่ ยที่ 4 -Body Mass Index (BMI) มีสูตร คำนวณค่าดัชนีมวลกาย -เรื่อง การคำนวณค่า การคำนวณ = น้ำหนักตัว [Kg] / (BMI) และการวัดเส้นรอบ ดัชนีมวลกาย (BMI) (ส่วนสูง[m] ยกกำลังสอง) สูตร เอว และการวัดเส้นรอบ คำนวณเหมาะสำหรับใช้ประเมินผู้ 3.ผู้สอนบรรยายเนื้อหา เอว ท ี ่ ม ี อ า ย ุ ต ั ้ ง แ ต ่ 20 ป ี ข ึ ้ น ไ ป จากสื่อ E-book เรื่อง การ 4.สื่อ E-book เรื่อง ประโยชน์ของการวัดค่า BMI เพ่ือ คำนวณค่าดัชนีมวลกาย การคำนวณค่าดัชนี ดูอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ (BMI) และการวัดเส้นรอบ มวลกาย (BMI) และ ตรวจสอบภาวะไขมันและความ เอว การวดั เสน้ รอบเอว อ้วน ดังนั้นการทำให้ร่างกายอย่ใู น 4.ให้ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมทำใบ 5.สื่อเครื่องชั่งน้ำหนัก เกณฑ์ปกติจึงมีความสำคัญอย่าง งานหน่วยที่ 4 เรื่องการ วดั ส่วนสูง สายวัดเอว ยิ่งกับผู้ที่ต้องการรักษาสุขภาพใน คำนวณค่าดัชนีมวลกาย ระยะยาว (BMI) และการวัดเส้นรอบ -อว้ นมาก = 30.0 ขน้ึ ไป เอว

-อ้วน = 25.0 - 29.9 5.สอนทักษะปฏิบัติให้ช่ัง -น้ำหนักปกติ เหมาะสม = 18.6 – น้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดเส้น 24 รอบเอวและคำนวณค่าดัชนี -ผอมเกนิ ไป = น้อยกวา่ 18.5 มวลกาย (BMI) -ขนาดเส้นรอบเอวหรือเส้นรอบ 6.แจกขนม พงุ ในคนเอเชีย -เส้นรอบเอวในผู้ชายไม่ควรเกิน ขั้นสรุป 36 นว้ิ (90 ซม.) 1.สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับ -เสน้ รอบวงเอวในผูห้ ญงิ ไมค่ วรเกิน โดยการถามตอบระหว่าง 32 นิ้ว (80 ซม.) ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกัน -วธิ กี ารวัดเส้นรอบเอว 2.ทำแบบทดสอบหลังเรียน 1.อยู่ในท่ายืน เท้า 2 ข้าง ห่างกัน ผา่ นส่ือสำเร็จรูป CAI ประมาณ 10 เซนตเิ มตร 2.ห า ต ำ แ ห น ่ ง ข อ บ บ น ส ุ ด ข อ ง กระดูกเชิงกรานและตำแหน่งชาย โครงซส่ี ดุ ท้าย 3.ใช้สายวัด วัดรอบเอวที่จุด กึ่งกลางระหว่างตำแหน่งกระดูก เชิงกรานและชายโครงซ่สี ุดท้าย 4.วัดในช่วงหายใจออก โดยให้สาย วัดแนบกบั ลำตวั ไมร่ ดั แนน่ 5.ให้ระดับของสายวัดรอบเอวอยู่ ในแนวขนานกบั พนื้