Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานนำเสนอสารสนเทศในกระทรวงสาธารณสุข

งานนำเสนอสารสนเทศในกระทรวงสาธารณสุข

Published by Kittirat Norkhud 633263005, 2022-05-18 07:55:53

Description: kittirat norkhud 633263005

Search

Read the Text Version

ยนิ ดตี อ้ นรบั สงู่ านนาเสนอ สารสนเทศกระทรวงสาธารณสขุ

สมาชกิ กลมุ่ 5 สารสนเทศกระทรวงสาธารณสขุ นายกิตติทร เทพเทียมทศั น์ 004 ชิราวุธ ปุญณวชิ น.ส.รตั นา นวลนาง 032 น.ส.วมิ าลา ยมเสน 035 นายกิติรตั น์ นนออัั 005 อาจารยท์ ี่ปรึกษาประจารายวชิ า น.ส.มุธิ าทับทรวง 031 น.ส.อรอนงค์ พุอมเกตแก้ว 045

▪ นพรัตน เหลืองวิทิตกลุ และคณะ, 2537 : 20 –25 กล่าวว่า สารสนเทศกระทรวงสาธารณสุขเป็นการจดั ระบบ ขอมลู ขาวสารสาธารณสุข กาหนดกลวธิ ี การพัฒนาระบบ การจัดเกบ็ การวเิ คราะหขอมูล การแปลผล และการ ใชประโยชนของขอมูลขาวสารเพื่อการวางแผน และติดตามผลในรูปแบบของการมอบอานาจไปสูการบริหาร ระดบั ตางๆ ที่มีความจาเป็น โดยการนาเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม เชน คอมพิวเตอร และอื่นๆ มาใชในการ ปรบั ปรงุ ระบบขอมูลขาวสาร

▪ พ.ศ.2528 จัดต้ังศูนย์บริการคอมพิวเตอร์ กระทรวงสาธารณสุข เพ่ือเร่งรัดปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร ให้ตอบสนอง ต่อความต้องการด้านการวางแผนงานสาธารณสุข เพ่ือให้การดาเนินงานเก่ียวกับการพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศของกระทรวงสาธารณสุขเป็นไปโดยมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ และให้สอดคล้องกับแผน แม่บทเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ▪ จึงได้มีคาสั่งจัดตั้งสานักเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นองค์กรภายในมีฐานะเทียบเท่ากองในสังกัดสานักปลัดกระทรวง สาธารณสุข ▪ ในปี พ.ศ.2545 ได้รับการยกฐานะปรับเปลี่ยนเป็นศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในสานักงาน ปลดั กระทรวงสาธารณสุข

▪ ระยะแรก กระทรวงสาธารณสุขนาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดเก็บข้อมูลข่าวสารด้านสาธารณสุขโดยกอง สถติ สิ าธารณสุขและกองระบาดวทิ ยาในสมัยนน้ั มรี ะบบคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ซ่ึงเชื่อมโยงเป็น Terminal ไปตาม จดุ ตา่ งๆ ▪ ต่อมาได้พัฒนาการจัดเก็บข้อมูลด้านอ่ืนๆเพ่ิมมากข้ึน เช่น ระบบบัญชีถือจ่ายเงินเดือนข้าราชการสานักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขและข้อมูลด้านอาหารและยา จนกระท้ังภายหลังได้รับระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ซึ่ง เปน็ เคร่ือง VAX 6,000 เข้ามาทดแทน ▪ เมอ่ื ถงึ ยุคของการลดขนาดของระบบกระทรวงสาธารณสขุ ไดท้ ดลองใช้เครอ่ื งคอมพิวเตอรส์ ว่ นบคุ คลมาเชื่อมโยง เปน็ ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอรแ์ ลนใ์ นลักษณะ client server ▪ ปี พ.ศ.2547 ศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารได้พัฒนาระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ของกระทรวง สาธารณสขุ โดยเช่อื มโยงหนว่ ยงานสว่ นกลาง ส่วนภูมภิ าค หนว่ ยงานภายนอก และระบบ Internet ซง่ึ พฒั นา ตอ่ เน่ืองจนถงึ ปัจจบุ ัน

1. งานด้านระบบเครือข่ายและรักษาความปลอดภัย ดาเนินการเช่ือมต่ออินเตอร์เน็ตความเร็วสูงและเช่ือมต่ออินเตอร์เน็ตระหว่าง ส่วนกลางและส่วนภูมภิ าคโดยสานักงานสาธารณสขุ จังหวดั ผา่ นผใู้ หบ้ ริการจโี นดจานวน 76 แหง่ โรงพยาบาลศนู ย์ท่วั ไปผ่านผู้ให้บริการ CAT MPLS จานวน 94 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลผ่านผู้ให้บริการ ISP ของแต่ละพ้ืนที่ นอกจากน้ี ยงั มีการเชอื่ มต่อไปยังหนว่ ยงานต่างกระทรวง เชน่ กระทรวงการคลัง สานักเลขาธิการรัฐมนตรี สานักทะเบียนราฏกระทรวงมหาดไทย สานกั งานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ 2. งานด้านคอมพิวเตอรส์ นับสนุนระบบสารสนเทศ ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายเสมือน เพ่ือทดแทนและเพิ่มศักยภาพในระบบคอมพิวเตอร์ แม่ข่ายเดมิ ใหม้ คี วามทนั สมยั และมีประสิทธิภาพสูงสามารถให้บรกิ ารคอมพิวเตอร์แม่ข่ายเสมือนแก่หน่วยงานต่างๆ ระบบคอมพิวเตอร์ ลูกข่ายเสมือนด้วยเทคโนโลยี VDI เพื่อช่วยแก้ปัญหาความแตกต่างทางด้านฮ Hardware Software ท่ีทาให้การติดตั้งและใช้งานมี ความยงุ่ ยากและไม่มีความเปน็ เอกภาพเดียวกนั 3. งานสนบั สนุนงานภารกจิ ดา้ นอ่นื ๆ ระบบการประชุมทางไกล VDO Conference สาหรับติดตอ่ ส่อื สารระหวา่ งบุคคลหรอื กลุม่ บคุ คลทอี่ ยู่ ต่างสถานท่ีทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของกระทรวงสาธารณสุข บริการเครือข่ายสื่อสารข้อมูลเชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐเป็น เครือข่ายท่ีเช่ือมโยงหน่วยงานภายในของภาครัฐเข้าด้วยกัน โดยมีลักษณะเป็น Government internet เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพด้าน ความเร็วในการรบั และส่งขอ้ มลู ผ่านระบบอินเตอรเ์ น็ตของสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด

ภาพแสดง แผนผังการเช่อื มต่อเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ของส่วนภูมภิ าค ที่มา:https://slideplayer.in.th/slide/2216621/

1. พ.ศ.2520-2524 การดาเนินงานของกระทรวงสาธารณสุขในช่วงแผนนี้ทาให้ประเทศไทยได้รับการยกย่องจาก องค์การอนามัยโลกว่าวางแผนสาธารณสุขได้สมบูรณ์แบบที่สุดโดยหลักการผสมผสานงานสาธารณสุขเพ่ือ จัดบรกิ ารใหก้ ับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะท่แี ตกตา่ งกนั 2. พ.ศ.2530-2534 ได้นาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการพัฒนางานข้อมูลข่าวสารสุขภาพ มีการพัฒนาโปรแกรม สาเร็จรูปเพ่ือลดภาระเจ้าหน้าท่ีในส่วนภูมิภาค ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขได้รับการพัฒนาข้ึนเป็นลาดับและเริ่มมี ระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ไฟลเ์ ขา้ มาใช้ 3. พ.ศ.2538 สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขนาระบบสารสนเทศเข้ามาใช้บริหารจัดการ การดูแลผู้ป่วย การ พัฒนาคณุ ภาพ และมีการศกึ ษาวจิ ยั อยา่ งตอ่ เน่อื ง

1. โปรแกรมระบบงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลและศูนย์สุขภาพชุมชน JHCIS ซึ่งใช้เทคโนโลยี OpenSource ทั้งหมดโดยได้ พฒั นาต่อยอดจากโปรแกรมสถานอี นามัย SCIS 2. โปรแกรมระบบงานโรงพยาบาล JHOS ออกแบบให้ทางานได้บนหลายระบบปฏิบัติการที่รองรับ Java พัฒนาโดยภาษา Java โดยใช้ เทคโนโลยี Open Source เทคโนโลยีท้ังหมด 3. โปรแกรมระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์ (HDC Version 2.0) เพ่ือให้เป็นเครื่องมือแก่หน่วยงานระดับจังหวัด และระดับเขต สามารถ แลกเปล่ยี นข้อมลู ในรปู แบบมาตรฐานระหวา่ งสถานบริการระหว่างจังหวัด 4. โครงการพัฒนาแลกเปล่ียนข้อมูลส่งต่อผุ้ป่วยระดับประเทศ National referralXchange System (Nrefer) เพื่อให้ประชาชนมีสิทธิ และเข้าถึงบริการด้านสุขภาพท่ีมีคุณภาพได้มาตราฐานหากเกินขีดสามารถหรือเกินศักยภาพของสถานบริการนั้นต้องจัดระบบส่งต่อ ผปู้ ว่ ยไปยังโรงพยาบาลทม่ี ีศักยภาพสงู กว่าทั้งระดบั ทุตยิ ภมู ิ และระดับตติยภมู ิ 5. งานสนบั สนุนงานภารกิจด้านอ่ืนๆ ได้แก่ โครงการจัดการและส่งต่อผู้ป่วยในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรม ราชกุมารี ระบบสารบัญ ระบบบริหารงานบุคลากร นอกจากนี้ยังมีโครงการภายใต้การดาเนินงานโดยศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่ือสาร ได้แก่ โครงการแพทย์ทางไกลผ่านดาวเทียม Telemedicine ปี 2538-2541 โครงการสาธารณสุขโทรคมนาคมสู่ถ่ิน กันดาร โดยใช้เทคโนโลยี CDMA ปี 2551 โครงการนาร่องใช้เทคโนโลยี WiMAX (Worldwide Interoperability of Microwave Access) ปี 2552 โครงการวิจยั สาธารณสุขโทรคมนาคมสถู่ นิ่ กนั ดาร ปี 2554

▪ Data คือ ข้อเท็จจริงที่เกดิ ขึ้น เช่น เกิดจากการกระทาอย่างใดอย่าง หน่งึ ใหไ้ ดม้ าซง่ึ ผลลพั ธท์ ีต่ ้องการ ▪ Information คือ ข้อมูลต่างๆท่ี ผ่านการประมวลผลด้วยวิธีการ ตา่ งๆ ภาพแสดง การใช้งานโปรแกรม JHOS และJHCIS สง่ ขอ้ มูลไปที่ HDC (Datacenter 43 แฟ้ม) ทีม่ า: http://jhos.moph.go.th/

▪ กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายสนับสนุนการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมาใช้ในการให้บริการด้าน สุขภาพ ท่ีผ่านมาหนว่ ยงานบรกิ ารสุขภาพมกี ารพฒั นาหรือจดั หาระบบสารสนเทศมาใช้งานการใหบ้ ริการ ปัจจุบัน มีการประยุกต์ใช้งานระบบสารสนเทศในการใหบ้ ริการประชาชนอย่างกว้างขวาง ทาให้การบริการและการบริหาร จัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ แต่ยังขาดการเช่ือมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันจึงจาเป็นต้องพัฒนาการ เชอ่ื มโยงแลกเปล่ยี นขอ้ มูลอเิ ลก็ ทรอนิกส์เพ่ือพัฒนาคุณภาพการให้บรกิ ารใหด้ ียงิ่ ขน้ึ ▪ ระบบการสง่ ตอ่ ข้อมูลสารสนเทศกระทรวงสาธารณสุขมี 2 แบบ 1. ระบบการสง่ ข้อมูลกระทรวงสาธารณสุขแบบ One-way 2. ระบบการสง่ ขอ้ มูลกระทรวงสาธารณสขุ แบบ Two-ways

▪ กระทรวงสาธารณสุขมีระบบการส่งข้อมูลแบบ One-way, Text file manual transfer, Monthly basis ▪ ระบบการส่งข้อมูลกระทรวงสาธารณสุขแบบ One-way จากระบบสุขภาพ ระดับอาเภอ (รสอ.), District Health System (DHS) คือระบบการทางาน ด้านสุขภาพระดับอาเภอร่วมกันของทุกภาคส่วน ส่งข้อมูลไปที่ ระบบ Health Data Center (HDC) คือ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลรวมถึงจัดทารายงาน โรคฯตามโครงสร้างมาตรฐานข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ 43 แฟ้ม ซ่ึงมี ไหลของขอ้ มลู ตง้ั แต่ระดบั โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลจังหวัด จะส่งข้อมูล 43 แฟ้มไปที่ HDC on Cloud ของแต่ละ จังหวัด โดยขอ้ มลู จะถูก transfor ใหเ้ ป็นรปู แบบของตาราง summary ในทุกๆ วันหลงั เท่ียงคนื จากนั้นตารางข้อมูล summary ของแต่ละจังหวัดน้ีจะถูกส่งให้ 2 แห่ง คือ ส่งให้ HDC Service ส่วนกลางในตอนเช้า และสง่ กลับให้จังหวัดผ่าน HDC SSJ เพ่ือเป็นการคืนข้อมูลให้แต่ละจังหวัด จังหวัดก็ส่งข้อมูลเข้าระบบ กระทรวงสาธารณสุขทันที ภาพแสดง ระบบการส่งขอ้ มูลกระทรวงสาธารณสุข แบบ ทางเดียว (One way) ท่ีมา: https://slideplayer.in.th/slide/14635303/

Data Information ภาพแสดงการสรุประบบการส่งข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข แบบ ทางเดียว (One way)

▪ กระทรวงสาธารณสุขมีระบบการส่งข้อมูลแบบ Two-ways, Automatic data transfer, Real time basis ▪ ระบบการส่งข้อมูลกระทรวงสาธารณสุขแบบ Two-ways จากระบบสุขภาพ ระดับอาเภอ District Health System (DHS) ส่งข้อมูลเข้าระบบไปที่ HDC on Cloud ของแต่ละจังหวัด โดยข้อมูลจะถูก transform เป็นตารางข้อมูล summary ของแต่ละจังหวัดนี้จะถูกส่งให้ 2 แห่ง คือ ส่งให้ HDC Service ส่วนกลางในตอนเช้า และส่งกลับให้จังหวัดผ่าน HDC SSJ เพ่ือเป็นการคืน ข้อมูลให้แต่ละจังหวัด จังหวัดก็ส่งข้อมูลเข้าระบบกระทรวงสาธารณสุขทันที ส่ง ต่อเข้าระบบของกระทรวงสาธารณสุข และเจ้าหน้าท่ีกระทรวงสาธารณสุข สามารถเข้าดูขอ้ มลู พนื้ ฐานในแต่ละหนว่ ยงานได้แบบอัตโนมัตติ ลอดเวลา ภาพแสดง ระบบการส่งขอ้ มูล กระทรวงสาธารณสุข แบบ สองทาง (Two ways) ที่มา: https://slideplayer.in.th/slide/14635303/

▪ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในองค์กรเพ่ือให้ประชาชนสามารถ เข้าถึงข้อมูล ข่าวสารด้านสาธารณสุขผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสมเมื่อได้ศึกษาทบทวน วเิ คราะห์ระบบข้อมลู สารสนเทศทใ่ี ชเ้ ผยแพร่สารสนเทศและองค์ความรู้ของสานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุขใน แต่ละดา้ นพบว่าสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ มแี นวทางในการเผยแพร่สารสนเทศและองคค์ วามร้ดู ังน้ี 1. เผยแพร่ขอ้ มูลและสารสนเทศแกภ่ าคีเครือข่ายทงั้ ภายในภายนอกกระทรวงฯ 2. บรู ณาการการใชป้ ระโยชน์ข้อมลู ข่าวสารสาธารณสขุ ร่วมกันทง้ั ภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสขุ 3. รวบรวมข้อมูลด้านสขุ ภาพจากภาคีเครอื ข่าย 4. บรหิ ารจดั การสารสนเทศ (MIS) ใหส้ ะดวกตอ่ การเข้าถึงเพอ่ื ทาการคน้ คว้าวจิ ยั 5. มีการแลกเปล่ียนความรภู้ ายในและระหว่างหน่วยงาน

6. องคค์ วามรดู้ ้านนโยบายและดา้ นข้อมูลขา่ วสารสุขภาพ 7. มีช่องทางการใหบ้ รกิ ารองคค์ วามร้ดู า้ นนโยบายและด้านขอ้ มูลขา่ วสาร สุขภาพ 8. มฐี านข้อมูลหนังสอื วิชาการท่ีสามารถสบื ค้นไดด้ ้วยระบบ Internet 9. มรี ะบบการให้บริการหนงั สือวิชาการท่ีสาคญั เปน็ แบบ Electronic file ด้วยโปรแกรม E-Book 10. การใหบ้ ริการ/เผยแพร่ข้อมลู สขุ ภาพ และผลการดาเนนิ งานท่ีมีประสิทธิภาพครอบคลุมท้ังกระทรวง และมีข้อมูล สขุ ภาพทีส่ าคญั ๆ ให้บริการผ่านระบบเครอื ขา่ ยอินเตอรเ์ น็ต

▪ ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ได้จดั ทานโยบายการบริหารความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (ISMS) โดยมวี ัตถุประสงค์ด้านความมัน่ คงปลอดภยั สารสนเทศ (Information Security Objective) 1. การบรหิ ารจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศตามมาตรฐานสากล 2. ระบบสารสนเทศมีความมั่นคงปลอดภัย ใช้ตามท่ีกาหนดไวเ้ พื่อรักษาไว้ซ่ึงความลับของข้อมูล (Confidentiality) ความถกู ตอ้ ง น่าเช่ือถือ (Integrity) และความพร้อมใชง้ าน (availability) 3. เจ้าหนา้ ทีม่ ีความรู้ และความตระหนกั ดา้ นความม่นั คงปลอดภยั สารสนเทศ 4. การตดิ ตามการปฏบิ ัติตามมาตรฐาน ขอ้ กาหนด กฎระเบยี บ และกฎหมายทมี่ กี ารประกาศใช้

▪ ตัวชี้วัดนโยบายคุณภาพ ISO 9001:2015 เป็นนโยบาบระบบ ความมนั่ คงปลอดภัยสารสนเทศ ISO/IEC 27001:2013, ISO27799:2016 ▪ ศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร สานักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ มงุ่ ม่ันในการบรหิ ารความมนั่ คง ปลอดภัยสารสนเทศ เพ่ือใหม้ ่ันใจวา่ การบรกิ ารระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารรวมถึงขอ้ มลู ดา้ นสุขภาพของระบบ คลังขอ้ มูลดา้ นการแพทย์และสุขภาพของศูนยป์ ฏบิ ัติการ MoPH, IDC มีเสถยี รภาพ มัน่ คงปลอดภยั มคี วามสอดคล้อง ตามมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2013, ISO27799:2016 และ ISO 9001:2015 ตลอดจนดาเนินการพัฒนาอย่างตอ่ เน่ือง ภาพแสดง ตัวช้ีวัดนโยบายคุณภาพศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ที่มา: https://ict.moph.go.th

ตวั อยา่ งรายงานตามตัวชว้ี ดั กระทรวง ปี 2565 -ตัวชีว้ ดั เด็กไทยมกี ารเจรญิ เติมโตและ พฒั นาการสมวัย เชน่ ร้อยละของเดก็ อายุ 0-5 ปี สงู ดสี มสว่ นและส่วนสงู เฉลี่ยท่ีอายุ 5 ปี -ตัวชว้ี ดั การเฝา้ ระวงั อัตราการคลอดมชี พี ใน หญงิ อายุ 15-19 ปี เชน่ ร้อยละการตรวจติดตาม ยืนยนั วนิ จิ ฉัยกลุม่ สงสัยปว่ ยโรคเบาหวานและ/ หรือความดนั โลหติ สูง ท่ีมา: https://ict.moph.go.th ท่ีมา: ภาพแสดงโปรแกรม HDC รายงานตามตัวช้ีวัดกระทรวงปี 2565 :ระบบสารสนเทศ ข้อมูลระดับหน่วยงาน โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพเต่าปูน จังหวัดราชบุรี

ภาพแสดง แผนผังระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ สารสนเทศในกระทรวงสาธารณสุข ท่ีมา :https://sites.google.com/site/teamwork3637/hnwy-thi3kherux-khay-xinthexrnet

สารสนเทศกระทรวงสาธารณสขุ ระบบทใ่ี ชใ้ นโรงพยาบาล (HIS : Hospital Information System) ระบบคลงั ขอ้ มลู สขุ ภาพของ กระทรวงสาธารณสขุ (HDC: Health Data Center) ระบบระเบยี นขอ้ มลู สขุ ภาพสว่ นบคุ คล (PHR: Personal Health Record) ระบบสารสนเทศสนบั สนนุ การสง่ ตอ่ ผู้ปว่ ย (Referral Information System)



▪ Hospital Information System (HIS) เป็นโปรแกรมท่ีพัฒนาขึ้นเพ่ืออานวยความสะดวกใน ภาพแสดง โปรแกรม Software HIS ที่ใช้ในโรงพยาบาล การให้บริการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลทั่วไปในสังกัดกระทรวง ท่ีมา: https://bit2alone.wordpress.com/4-2/ สาธารณสุข ▪ JHCIS คอื โปรแกรมระบบงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล และศูนย์สุขภาพชุมชน ซ่ึงใช้ เทคโนโลยี OpenSource ท้งั หมดโดยได้พฒั นาตอ่ ยอดจากโปรแกรมสถานีอนามัย SCIS ▪ ฮอสเอกซ์พี (HOSxP) เป็น ซอฟต์แวร์แอปพลิเคชัน สาหรับสถานพยาบาล สถานีอนามัย และ โรงพยาบาล พฒั นาโดยบคุ ลากรทอี่ าสาสมคั รมาจากหลายโรงพยาบาล มีเป้าหมายที่จะพัฒนา ระบบสารสนเทศ ท่ีมีประสิทธิภาพสูง สามารถนาไปใช้งานได้จริงท้ังในระดับสถานีอนามัย ไป จนถงึ โรงพยาบาลศูนย์ ▪ (iMed) คือ ซอฟต์แวร์แอปพลิเคชัน สาหรับสถานพยาบาล สถานีอนามัย และโรงพยาบาล เพือ่ ใชใ้ นการให้บริการผ้ปู ่วยในระบบงานส่วนหน้า (Front office) ของสถานพยาบาล ▪ (Medico) โปรแกรมคอมพิวเตอร์การบริการทางการแพทย์ เหมาะสาหรับโรงพยาบาลขนาด กลางและใหญ่ เชื่อมโยงกับแหล่งฐานข้อมูลอ่ืนผ่าน XMLและ Internet เชื่อมต่อโปรแกรม สาเร็จรปู อ่นื ๆ ได้ ▪ Med-Tark เป็นระบบเวชระเบียน ระบบห้องยา ระบบการเงิน

▪ ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล จาแนกตามลักษณะงานเปน็ 2 สว่ นดงั น้ี 1. ระบบงานบรกิ ารผู้ปว่ ย (Fron Office) - ระบบที่สนบั สนุนการบริการรักษาพยาบาลโดยตรง เช่น Medical Records, OPD, IPD, Pacs&Ris, OR, LIS, Pharmacy, Finance 2. ระบบงานบรหิ ารจัดการท่ไี ม่เกย่ี วกับงานบรกิ าร (Back Office) - ระบบทีช่ ่วยสนับสนุนองคก์ รโดยรวม เชน่ ระบบบริหารงานบคุ คล การเงนิ การคลงั และการพสั ดุ

ภาพแสดงโปรแกรม HIS จาก รพ.ภูมพิ ลอดุลยเดช ท่ีมา: https://prachatai.com/journal/2019/09/84133

▪ สามารถใช้ข้อมูลท่ีมีอยู่มาวิเคราะห์ (Data Analytics) เพ่ือวางแผนในการปฏิบัติงาน รวมถึงนาข้อมูลการรักษา ของผู้ป่วยจานวนมากมาวิเคราะหร์ ่วมกัน ▪ การร่วมมือกับหน่วยงานด้านสุขภาพภายนอก ระบบ HIS จึงเข้ามาช่วยเหลือในการแลกเปลี่ยนข้อมูลและบันทึก สุขภาพท่วั ไปของผปู้ ว่ ยระหวา่ งหนว่ ยงานได้ ▪ อานวยความสะดวกในการจัดทาข้อมูลของแต่ละแผนก เช่น เอกสารรายงาน สาหรับรายแผนก ท้ังรายวัน ราย เดอื น และรายปี ▪ ช่วยใหก้ ารดาเนินงานในแต่ละวันของบุคลากรในโรงพยาบาลเป็นไปอย่างราบร่ืน เช่น ทาตารางผ่าตัด ตารางเวร ข้นึ ปฏบิ ัติงาน ตารางคลินกิ ประจาวนั



▪ HDC : Health Data Center คอื ระบบคลงั ขอ้ มลู ด้านการแพทย์และสุขภาพ ▪ ระบบคลังข้อมูลสุขภาพ Health Data Center (HDC) ระดับจังหวัด, ระดับเขต และระดับกระทรวง เป็นระบบ ฐานข้อมูลกลางด้านสุขภาพ ซึ่งรวบรวมข้อมูลสาธารณสุขของสถานบริการภายใต้สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ทุกแห่ง เป็นระบบฐานข้อมลู เพ่ือสนับสนนุ การบริหารจัดการและการตัดสินใจของผู้บริหารระดับต่างๆ ในกระทรวง สาธารณสุข โดยใช้ข้อมูลตามโครงสร้างมาตรฐาน ๔๓ แฟ้ม ที่ประกาศโดยสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ส่งจาก หน่วยบริการสาธารณสุขมายังฐานข้อมูลกลางระดับจังหวัด (HDC ระดับจังหวัด) เพ่ือตรวจสอบและประมวลผล ตามขั้นตอนการประมวลผลที่สร้างจากส่วนกลาง และข้อมูลท่ีถูกประมวลผล และส่งมายังฐานข้อมูลกลางระดับ กระทรวงแบบอัตโนมัติ ▪ 43 แฟ้ม คือ ข้อมูลจากหน่วยบริการท้ังหมด เป็นบทบาทการทางานของ IT และเป็นบทบาทของผู้รับผิดชอบงาน ดา้ นสขุ ภาพทุกคน ▪ 43 แฟม้ = HDC

ภาพแสดงโปรแกรม HDC ตรวจสอบตัวช้ีวัดกระทรวงในแต่ละปี ที่มา: ระบบสารสนเทศ ข้อมูลระดับหน่วยงาน โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพเต่าปูน จังหวัดราชบุรี

▪ 43 แฟ้ม คือ ข้อมูลจากหน่วยบริการ ทั้งหมด เป็นบทบาทการทางานของ IT และเป็นบทบาทของผูร้ บั ผดิ ชอบงานด้าน สขุ ภาพทุกคน ▪ 43 แฟ้ม ประกอบด้วย แฟ้มสะสม แฟ้ม บริการ แฟม้ บรกิ ารกง่ึ สารวจ ภาพแสดงข้อมูล 43 แฟ้ม HDC แฟ้มสะสม แฟ้มบรกิ าร แฟ้มบรกิ ารก่ึงสารวจ ท่ีมา: http://thcc.or.th/

ภาพแสดงข้อมูล HDC สาหรับแนวทางการส่งข้อมูล ที่มา:https://1.bp.blogspot.com/OVOk_HvAvqw/V29ZoubC6fI/AAAAAAAAOTU/DrnCrzI5vwMS9Hy1xLplmAKuEsmbUGNtACLcB/s1600/flow-hdc-moph.png

▪ การพัฒนา HDC มีการกาหนดเป้าหมายให้สามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งหน่วยบริการ (Hospital- based) และประชาชน (eHealth และ Personal Health Record – PHR) รองรับสงั คมดิจิตอล ในอนาคต ข้อมูลจึงควรมีความถูกต้อง มีความสดใหม่ สะดวกในการใช้งาน และมีการรักษาความ ปลอดภัยของขอ้ มูล



▪ Personal Health Record: PHR คือ ระบบระเบยี นสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคล เป็นการนา เทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนด้านการบริการระบบสุขภาพระดับจังหวัดให้เกิดประสิทธิภาพ และจัดการปัญหาด้านสขุ ภาวะของโรคท่ีเกิดกับประชากรในพื้นท่ี ช่วยบริหารและจัดการสนับสนุน การเช่ือมโยงข้อมูลด้านสุขภาพด้วยมาตรฐานที่แลกเปลี่ยนกันได้แบบทันที มีความถูกต้อง รวดเร็ว ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ทุกท่ีทุกเวลาโดยการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ Tablet หรือ อปุ กรณ์ Smart Devices

▪ ขอ้ มลู ในระบบ PHR จะเปน็ ข้อมูลเกยี่ วกับสุขภาพในดา้ นต่างๆ ประกอบไปดว้ ยขอ้ มูลท่ีมาจาก 1) โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล 2) จากการบันทึกดว้ ยตัวเองของผู้ปว่ ย ▪ ซึ่งข้อมูลประเภทท่ีบันทึกด้วยตัวเองอาจมาจากอุปกรณ์ตรวจวัดแบบพกพา เช่น นาฬิกาหรือ เครื่องตรวจชีพจรแบบติดตัว อุปกรณ์ติดตัวประเภทอ่ืนๆ เครื่องตรวจความดันท่ีบ้าน รวมไปถึง ระบบเซนเซอร์หรอื IoT (Internet of Things) ทตี่ รวจวัดคา่ ต่างๆ เก่ียวกบั สุขภาพได้ เปน็ ต้น

ภาพแสดงตัวอย่างโปรแกรม PHR: Personal Health Record ที่มา: https://www.nectec.or.th/innovation/innovation-software/phr.html

▪ แพทยส์ ามารถเข้าถงึ ข้อมูลของผู้ปว่ ยได้มปี ระสทิ ธิภาพมากข้นึ ▪ ผู้ปว่ ยมีเครอื่ งมือในการติดตามพฤตกิ รรม ▪ เพิม่ ประสิทธิภาพการจดั การข้อมูลจากผู้บนั ทึกข้อมลู ที่หลากหลาย ▪ ลดค่าใช้จ่ายและเวลาในการบริหารจัดการข้อมูล ▪ เพิม่ ประสิทธภิ าพการสอ่ื สารระหว่างผ้ปู ่วยและแพทย์ ▪ ใชจ้ ัดการข้อมูลดา้ นสุขภาพของครอบครวั ได้



▪ Referral Information System คือ ระบบสารสนเทศสนับสนนุ การส่งตอ่ ผู้ป่วย ▪ กระทรวงสาธารณสุขมีการพัฒนาระบบสารสนเทศสนับสนุนการส่งต่อผู้ป่วยโดยใช้โปรแกรม Hospital Information System (HIS) เป็นโปรแกรมพ้ืนฐานท่ีพัฒนาข้ึนเพื่ออานวยความ สะดวกในการให้บริการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน และ/หรือโรงพยาบาลทั่วไปในสังกัด กระทรวงสาธารณสขุ ในการสนับสนนุ การส่งตอ่ ผปู้ ่วย ▪ ระบบท่ีจัดการในเร่ืองของการส่งตัวผู้ป่วยไปรักษาต่อยังโรงพยาบาลปลายทางอย่างเร่งด่วน ซ่ึง ประกอบด้วยการทางานตั้งแต่การสร้างข้อมูลผู้ป่วย การแนบไฟล์ข้อมูลผู้ป่วย การแก้ไข การ บันทึก การค้นหา การลบ การยกเลกิ และการพิมพ์ใบส่งตัว รวมถึงการแจ้งเตือนการสง่ ต่อไปยัง กลมุ่ ไลน์ของโรงพยาบาลแม่ขา่ ย

▪ ในอดีตการรับส่งต่อผู้ป่วย มีปัญหาเร่ืองข้ันตอนการส่งต่อยังไม่เป็นระบบ การสื่อสารข้อมูลการ ส่งตอ่ ไม่เพียงพอทาให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาพยาบาลล่าช้าถึงแม้จะมีการนาระบบสารสนเทศ มาใช้ในสถานพยาบาลแต่ละสถานพยาบาลแต่ละพื้นท่ียังมีความหลากหลายและยุ่งยากในการ แลกเปล่ียนข้อมลู ผู้ป่วยเพื่อการรักษาพยาบาล ▪ ระบบสง่ ตอ่ และนดั หมายผู้ป่วยเปน็ ระบบท่มี ีความสาคัญมากในการลดช่องว่างของการบริการทาง การแพทย์เพราะทาให้ประชาชนได้รับการบริการอย่างท่ัวถึง ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณภาพ โดยเฉพาะการเข้าถงึ การบรกิ ารทางการแพทย์ทีม่ คี วามเชี่ยวชาญเฉพาะทาง

ภาพแสดงตัวอย่างโปรแกรม Referral Information System ท่ีมา: https://thesecsi.net/SECSICMU/r_pdf/r3.pdf : โรงพยาบาลสันทราย เชียงใหม่

▪ เพื่ออานวยความสะดวกในการให้บริการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน และ /หรือ โรงพยาบาลทว่ั ไปในสังกดั กระทรวงสาธารณสขุ ในการสนับสนนุ การส่งตอ่ ผปู้ ่วย ▪ เพือ่ ใหเ้ จ้าหน้าท่เี ขา้ ถึงข้อมูลคนไข้ได้อย่างรวดเร็วในการรักษาต่อโรงพยาบาลปลายทาง ▪ ลดปญั หาการไมท่ ราบข้อมลู ผปู้ ่วยสาหรับส่งต่อในการรักษาโรงพยาบาลปลายทาง

▪ ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการคุ้มครองและจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล พ.ศ.2561 โดยท่กี ระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายที่จะให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการด้าน การให้คาแนะนาด้านสุขภาพ และวินิจฉัยโรคเบ้ืองต้น โดยบูรณาการระบบประวัติสุขภาพผู้ป่วย อิเล็กทรอนิกส์เช่ือมต่อกันทั้งประเทศท่ีประชาชนสามารถเข้าถึง และบริหารจัดการข้อมูลสุขภาพ ของตนเองได้เพ่ืออานวยความสะดวกในการเข้ารับการรักษา และเป็นข้อมูลสาคัญประกอบการ รักษากรณีฉุกเฉิน ดังน้ัน จึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องมีการควบคุม กากับเพื่อให้การได้มา การ บริหารจัดการ การใช้ และการคมุ้ ครองข้อมูลดา้ นสุขภาพของบุคคลมีความสะดวก ปลอดภัย เกิด ประโยชน์สูงสุดแกป่ ระชาชน เจ้าของข้อมลู หนว่ ยบริการ และระบบสุขภาพของประเทศไทย

▪ ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล หมายความว่า ข้อมูลหรือสิ่งใด ๆ ที่แสดงออกมาในรูปเอกสารแฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียงการบันทึก โดยเคร่ืองมือทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือวิธีอื่นใดที่ทาให้สิ่งท่ีบันทึกไว้ปรากฏข้ึนในเรื่องที่เก่ียวกับ สุขภาพของบุคคลที่สามารถระบุตัวบุคคลได้ และให้รวมถึงข้อมูลอ่ืน ๆ ตามที่คณะกรรมการ เปิดเผยข้อมลู อิเล็กทรอนิกสป์ ระกาศกาหนด ▪ ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หมายความว่า ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่เป็นเอกสารหรือข้อความใน รปู แบบอิเล็กทรอนิกส์ ▪ ระเบียนสุขภาพ หมายความว่า ทะเบียนหรือรายการ ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลท่ีกระทรวง สาธารณสุข หน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน นามาเก็บ จัดการใช้ และเปิดเผยเพ่ือประโยชน์ของ เจา้ ของขอ้ มลู ตามระเบียบนี้

▪ ข้อ 5 การจัดทาระเบียนสุขภาพ การจัดการ เก็บรวบรวม ใช้หรือเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของ บุคคลต้องเป็นไปเพ่ือประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลหรือเพ่ือดาเนินงานตามหน้าท่ี และอานาจของผู้ ควบคุมข้อมูล หรือหน้าที่ และอานาจของกระทรวงสาธารณสุขตามที่ได้รับมอบหมาย หมวด 1 แต่งต้ังคณะกรรมการคุ้มครอง และจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล หมวด 2 การคุ้มครอง ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล หมวด 3 การแก้ไขข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล หมวด 4 ข้อมูลทาง อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หมวด 5 ระเบียนสขุ ภาพ

▪ การเปิดเผยข้อมูลสุขภาพทางอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้มีข้อมูลการรักษาอยู่ในคลังข้อมูลด้าน การแพทย์และสขุ ภาพ (Health Data Centre :HDC)ทาให้ 1.แพทย์เรียกดูข้อมูลสุขภาพ/ ป ร ะ วั ติ ก า ร รั ก ษ า ย้ อ น ห ลั ง 2.เ ป ล่ี ย น โรงพยาบาลแพทย์รักษาได้ต่อเน่ืองไม่ต้อง เร่ิมต้นใหม่ 3.อุบัติเหตุ/เจ็บป่วยฉุกเฉินแพทย์ มีข้อมูลพ้ืนฐานประกอบการวางแผนรักษา อย่างเหมาะสม แค่ทาการเซนยินยอมเปิดเผย ขอ้ มลู การรักษาไม่สะดุด ผูป้ ว่ ยได้ประโยชน์ ท่ีมา: http://www.lpho.go.th/wp-content/uploads/2020/12.

1. เนอ้ื หาขอ้ มลู สารสนเทศของกระทรวงสาธารณสขุ ค่อนขา้ งเยอะ 2. การทางานกลุ่มล่าช้าเน่ืองจากเนื้อหามีค่อนข้างมากจึงค่อยๆ ทาการสรุปเอาเน้ือหาใจความ สาคัญออกมารวมถึงการสบื คน้ ข้อมลู 3. ช่วงเวลาในการทางานไม่ตรงกนั

อ้างองิ ระบบคลังข้อมลู ด้านการแพทย์ Health Data Center (HDC) ระดับจังหวดั , ระดบั เขตและระดับกระทรวง. วารสารวชิ าการเทคโนโลยสี ารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. สืบค้น 16 มนี าคม 2565, จาก https://itjournal.moph.go.th/page/detail/21. ความรู้เบือ้ งตน้ เกย่ี วกับระบบขอ้ มูลสขุ ภาพ 43 แฟ้ม HDC (HEALTH DATA CENTER). กระทรวงสาธารณสุข. สบื ค้น 16 มีนาคม 2565, จาก https://kkhdc.moph.go.th/download/uploads/153273657817015.pdf. PHR – ระบบระเบียนสขุ ภาพอิเลก็ ทรอนิกส์สว่ นบคุ คล. ศูนยเ์ ทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนิกสแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ 2563. สาธารณสขุ . สืบคน้ 16 มีนาคม 2565, จาก https://www.nectec.or.th/innovation/innovation-software/phr.html. Personal Health Record และการเช่อื มโยงขอ้ มูลระหวา่ งโรงพยาบาล ระหวา่ งหนว่ ยงานและระหวา่ งโรงพยาบาลกบั ผ้ใู ช้งาน. treconwebsite. สืบค้น 16 มีนาคม 2565, จาก https://www.treconwebsite.com/personal-health-record%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E 0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B9%89 %E0%B8%AD%E0%B8%A1/. เสวนาทางวิชาการเรอื่ ง EHR, PHR & Health Information Exchange. Persistent Challenges and New Strategies to Enabling ealth Reform. ดร.นพ.บญุ ชยั กจิ สนาโยธนิ และดร.นพ. นวนรรน ธีระอมั พรพนั ธ์ุ. สบื ค้น 16 มนี าคม 2565, จาก https://www.treconwebsite.com/personal-health-record%E0%B9% 81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8 %A1%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1/. สารสนเทศในกระทรวงสาธารณสขุ . ICTปลัดกระทรวงสาธารณสุข. สบื คน้ 16 มีนาคม 2565, จาก http://ict4.moph.go.th/evaluate/images/stories/pdf/kpi/result_kpi2553.pdf. กฎกระทรวงแบง่ สว่ นราชการสานกั งานปลัดกระทรวงกระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.2560. สานักงานสาธารณสขุ ลาปาง. สืบค้น 16 มนี าคม 2565, จาก http://www.lpho.go.th/?p=1677.ระเบยี บ กระทรวงสาธารณสขุ วา่ ด้วยการค้มุ ครองและจดั การข้อมลู ด้านสุขภาพของบคุ คล พ.ศ.2561. สานกั งานสาธารณสขุ ลาปาง. สืบค้น 16 มนี าคม 2565, จาก http://www.lpho.go.th/?p=1677.

ขอบคุณทกุ ท่านทเี่ ขา้ รบั ฟงั การนาเสนอ ระบบสารสนเทศกระทรวงสาธารณสขุ สาัาวิชาสาธารณสัุ ศาสตร์ กลอมุ 5 นมูอเรียน 24.1 คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มนาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook