Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการสอนเรื่อง โรคหลอดเลือดและหัวใจ

สื่อการสอนเรื่อง โรคหลอดเลือดและหัวใจ

Description: สื่อการส่งเสริมสุขภาพ

Search

Read the Text Version

บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน เรอื่ ง “ โรคความดนั โลหติ สูง” เขา้ สูร่ ะบบ

ความหมายโรคความดันโลหิตสูง • ความดันโลหติ สูง (Hypertention) คอื ภาวะท่ีมีความดันโลหิต วัดได้สูง ตั้งแต่ 140/90 มิลลิเมตร –ปรอท ข้ึนไป ซ่ึงความดันโลหิตปกติ คือ 90-119/60-79 มม.ปรอท ซ่ึงหากดูแลรักษาสุขภาพไม่ดีโรคความดัน โลหิตสูงจะนาไปสู่โรคที่ร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ • โรคความดันโลหติ สูงถอื รเป็นภัยเงียบท่ีน่ากลัวต่อร่างกาย โดยเฉพาะอย่าง ย่งิ ต่อหัวใจของเรา ทาให้เกิดโรคร้ายตามมา ไม่ว่าจะเป็น ภาวะหัวใจวาย โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ความน่ากลัวของโรค ความดันโลหิตสูงคือ เป็นโรคที่มักไม่มีอาการ และจะเป็นโรคเร้ือรังที่ รุนแรงถ้าไม่สามารถควบคุมโรคได้

อาการของความดันโลหิตสูง 1.มักไม่มีอาการ แพทย์บางท่านจึงเรียกโรคความดันโลหิตสูงว่า “เพชฌฆาตเงียบ (Silent killer)” ทั้งน้ีส่วนใหญ่ของอาการจากโรคความดันโลหติ สูง เป็นอาการจากผลข้างเคียง เช่น จากโรคหัวใจ และจากโรคหลอดเลือดในสมอง หรือ เป็นอาการจากโรคที่เป็นปัจจัยเส่ียง เช่น อาการจากโรคเบาหวาน หรือ จากโรคอ้วน ร 2.ผู้ป่วยบางคนอาจมีอาการจากตัวความดันโลหิตสูงเองได้ โดยอาการที่อาจพบได้ เช่น ปวดศีรษะ มึนงง วิงเวียน สับสน และเม่อื มีอาการมากอาจโคมา และเสียชีวิตได้

อาการของความดันโลหิตสูง ร

สาเหตุของความดันโลหิตสงู 1. พันธุกรรม โอกาสมีความดันโลหิตสูง จะสูงข้ึนเม่อื มีคนในครอบครัวเป็นโรคน้ี 2. โรคเบาหวาน เพราะก่อให้เกิดการอักเสบ ตีบแคบของหลอดเลือดต่างๆ รวมทั้งของไต 3. โรคอ้วน และน้าหนักตัวเกนิ เพราะเป็นสาเหตุสาคัญของโรคเบาหวาน และโรคหลอดเลอื ดต่างๆตีบจากภาวะไขมันเกาะผนังหลอดเลือด 3. โรคไตเร้อื รัง เพราะจะส่งผลถึงการสร้างเอ็นไซม์และฮอร์โมนท่ีควบคุมความดันโลหิตดังกล่าวแล้ว 4. สูบบุหร่ี เพราะสารพิษในควันบุหรี่ส่งผลให้เกิดการอักเสบ ตรีบตันของหลอดเลอื ดต่าง รวมทั้งหลอดเลือดไต และหลอดเลอื ดหัวใจ 5. การติดสุรา ซึ่งยังไม่ทราบชัดเจนถึงกลไกว่าทาไมด่มื สุราแล้วจึงเป็นปัจจัยเส่ียงต่อการเกิดความดันโลหิตสูง แต่การศึกษาต่างๆให้ผล ตรงกันว่า คนท่ีติดสุรา จะส่งผลให้หัวใจเต้นแรงกว่าปกติ และมีโอกาสเป็นโรคความดันโลหิตสูง ถึงประมาณ 50%ของผู้ติดสุราทั้งหมด 6. การกินอาหารเค็ม เพราะเกลือโซเดียม หรือ เกลือทะเลเป็นตัวอุ้มน้าในเลือด จึงช่วยเพ่ิมปริมาตรของเลือดท่ีไหลเวียน จึงส่งผลให้ ความดันโลหิตสูงข้ึน 7. ผลข้างเคียงจากยาบางชนิด เช่น ยาในกลุ่มสเตียรอยด์

สาเหตุของความดันโลหิตสงู ร

การรักษาและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง 1.แพทย์อาจให้ยาลดความดันโลหิต การรักษาควบคุมโรคท่ีเป็นปัจจัยเสี่ยงและเป็นสาเหตุ 2.รักษาโรคเบาหวาน รักษาโรคท่ีเป็นสาเหตุ เช่น โรคไตเร้อื รัง 3.จากัดอาหาร แป้ง น้าตาล ไขมัน และอาหารเค็ม 4.ออกกาลังกายย่างเหมาะสมสม่าเสมอและควบคุมน้าหนัก 5.งดสูบบุหรี่ เลิกสุรา ร 6.ลดน้าหนัก 7.ลดปริมาณเกลอื ในอาหาร 8.งดหรือลดการด่มื เคร่อื งด่มื ท่ีมีแอลกอฮอล์ 9.ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ 10.ไม่เครียด รู้จักปล่อยวาง

การรักษาและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ร

ระดับความดันโลหิตปกติ ความดันโลหิตท่ี “เหมาะสม” ของคนอายุ 18 ปี ข้ึนไป อยู่ท่ี 120-129 มม.ปรอท สาหรับตัวบน และ ร 80-84 มม.ปรอท สาหรับตัวล่าง

ค่าบนเคร่อื งวัดความดันหมายถึง 1. Systolic blood pressure (SBP) ตัวบน คือ ความดันของเลอื ดสูงสุดขณะหัวใจห้องล่างบีบตัว 2. Diastolic blood pressure (DBP) ตัวล่าง คอื ความดันเลอื ดท่ีต่าสุดขณะหัวใจห้องล่างคลายตัว • ความดันโลหิตเกณฑ์ปกติ คือ 120/80 (mm/Hg) • ความดันโลหิตค่อนข้างสูง แต่ยังอยู่ในเกณฑ์ปกติ คอื 121-139/80-89 (mm/Hg) • ความดันโลหติ สูงมาก คือ ความดันโลหติ ตัวบนมากกวร่า (หรอื เท่ากับ) 140 (mm/Hg)และตัวล่าง มากกว่า (หรอื เท่ากับ) 90 (mm/Hg) • ความดันโลหิตระดับอันตราย 160/100 (mm/Hg)

การอ่านค่าบนเคร่อื งวัดความดัน ร

ตารางเกณฑ์ระดับความดันโลหิต ร

เอกสารอ้างอิง กองโรคไม่ตดิ ต่อ. (2565). ความดันโลหติ . สบื ค้นเม่อื 4 กันยายน 2565. จากเว็บ http://thaincd.com/2016/mission/activity-detail.php?id=13990&tid=31,15&gid=1-015-009. สสส. (2565). ความดันโลหติ สงู . สืบค้นเม่อื 4 กันยายน 2565. จากเว็บ https://www.thaihealth.or.th/sook/info-body-detail.php?id=233. สมุนไพรคุณสัมฤทธ์. (2565). ความดันโลหติ สงู อาการ สาเหตุ. สืบค้นเม่อื 4 กันยายน 2565. จากเว็บ https://www.smpksr.com/article/28/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%94%E 0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8% 87%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%AB%E 0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8% A9%E0%B8%B2.