Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการสอนเรื่อง ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด

สื่อการสอนเรื่อง ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด

Published by Kittirat Norkhud 633263005, 2022-08-05 10:04:49

Description: kittirat norkhud 633263005

Search

Read the Text Version

ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด Maternity Blue

ความจริงท่ีคุณอาจไม่รู้เกี่ยวกับ “ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด” คนเป็นแม่จะต้องอ่มิ เอม บางครั้งผุดภาพอยาก ใจกับการมีลูก ในขณะท่ี ทาร้ายตัวเอง หรอื ความเป็นจริงกลับมี ทาร้ายลูก บางรายต่นื ตระหนกหรือหวั่นกลัว ความรู้สึกเศร้าใจ โดยเฉพาะเร่อื งลูก บางรายหายได้เองโดยไม่ หลายคนไม่ได้ขอความช่วยเหลอื ต้องรักษาในสัปดาห์แรกหลังคลอด จากแพทย์เพราะตราบาปทาง สังคมท่ีคาดหวังว่าคนเป็นแม่ แต่บางรายเป็นต่อเน่อื งและ จะต้องมีความสุขกับการมีลูก ต้องได้รับการรักษา

แบ่งเป็น 3 ระดับ 1) ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด มีอาการอยู่ในช่วงสัปดาห์แรก และสามารถหายได้เองโดยไม่ต้องรักษา 2) โรคซึมเศร้าหลังคลอด มีตั้งแต่ 2สัปดาห์ไปจนถึงหลายเดอื น และจะต้องได้ รับการรักษาที่ถูกต้อง ไม่สามารถหายเองได้ 3) โรคจิตหลังคลอด ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เพราะไม่สามารถ หายเองได้ อีกทั้งยังมีความอันตรายต่อตัวเองและลูก

ลักษณะอาการ ใน o กังวลว่าจะไม่สามารถเล้ียงดูตนเองและลูกได้ o ร้องไห้โดยไม่มีเหตุผล o ไม่มีความรู้สึกผูกพันกับลูกหรือหวงลูกมากเกินไป o รู้สึกทุกข์ใจอย่างมาก o อารมณ์เศร้า ท้อแท้ หดหู่ ส้ินหวัง o มีความรู้สึกเหน่อื ยหน่าย o หมดความสนใจหรืองานหรือกิจกรรมท่ีทา o อาการอ่นื ๆ เช่น นอนไม่หลับ เบ่อื อาหาร บางรายอาจะเป็นโรคกินไม่หยุด (Binge Eating) o ไม่มีสมาธิตัดสินใจในเร่อื งต่างๆไม่ได้

สาเหตุ o มีประวัติป่วยเป็นโรคซึมเศร้า โรคไบโพล์ เคยมีภาวะซึมเศร้าระหว่างตั้งครรภ์หรอื หลังคลอดมาก่อนหน้าน้ี o สมาชกิ ในครอบครัวป่วยเป็นโรคซึมเศร้า หรอื มีปัญหาในการควบคุมอารมณ์ o มีปัญหาที่ส่งผลให้เกิดความเครียดมากในช่วงปีท่ีผ่านมา เช่นภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ หรอื มีปัญหาทะเลาะแบะแว้งภายในครอบครัว เป็นต้น o ทารกมีปัญหาสุขภาพที่ต้องมีการดูแลหรอื รับการรักษาอย่างใกลช้ ดิ เป็นพิเศษ o แม่มีปัญหาในการให้นมบุตร o ครอบครัวมีปัญหาทางการเงนิ

การรับมอื กับภาวะซึมเศร้าหลังคลอด - การทานอาหารท่ีมีประโยชน์ - ออกกาลังกายสม่าเสมอ - หาเวลาพักระหว่างวัน - ให้คุณพ่อ/คนใกล้ชิดช่วยดูแลลูก - ระบายความรู้สึกให้คนใกล้ชิดฟัง - มีเวลาให้กับตัวเองบ้าง - ลดการรับข่าวสาร - ปรึกษาแพทย์

อ้างอิง ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (2565). สืบค้นออนไลน์เม่อื วันท่ี 3 สงิ หาคม 2565 จาก https://www.facebook.com/maebangorilla https://www.sikarin.com/health/postpartum-depression.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook