การปฏิบัติตัวสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง การปฏิบัติตัวเพื่อลดความดันโลหิตสูง โรคความดันโลหิตสูง 1. ลดน้ำหนักในผุ้ป่วยที่มีน้ำหนักเกิน 1. น้ำหนัก เช่น ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเป้าหมาย (Hypertension) 2. หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็ม 2.อาหารบำบัดความดันโลหิตสูง เช่น ลดการบริโภคไข 3.งดเครื่องดื่มแอลกอออล์ ควรจำกัดปริมาณให้น้อย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ มันอิ่มตัวจากสัตว์ จำกัดปริมาณคอเลสเตอรอลใน ตำบลท่าข้าม กว่าวันละ 1 แก้ว อาหารไม่เกิน 300 มิลลิกรัมต่อวัน รับประทานผักและ 4. งดสูบบุหรี่ ผลไม้เพิ่มในทุกมื้ออาหาร (เพื่อเพิ่มเส้นใยอาหารให้มี อำเภอสามพราน 5. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ปริมาณ 25-35 กรัมต่อวัน) หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็ม จังหวัดนครปฐม เพื่อจำกัดปริมาณโซเดียมไม่เกิน 2,400 มิลลิกรัม หลักการใช้ยาในการควบคุมความดันโลหิตสูง (เท่ากับเกลือ 1 ช้อนชา หรือน้ำปลา/ซีอิ๊ว 1 ช้อนโต๊ะต่อ โครงการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวัง 1. ควรรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอและเป็นช่วงเวลา วัน) หากสามารถจำกัดโซเดียมไม่เกิน 1,500 มิลลิกรัม โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ต่อวัน จะช่วยให้ควบคุมความดันโลหิตได้ดียิ่งขึ้น ดื่ม ปีงบประมาณ 2566 เดียวกัน นมไขมันต่ำเป็นประจำ เพื่อให้ได้แคลเซียมในปริมาณ 2. ห้ามหยุดยาลดความดันเองเพราะอาจเสี่ยงต่อ 800-1,200 มิลลิกรัมต่อวัน (นม 2 แก้วต่อวัน) การ ผู้รับผิดชอบโครงการ บริโภคอาหารหมวดข้าว แป้ง เน้นเป็นข้าวกล้อง นายสุริยัน ถุงพุดซา ภาวะแทรกซ้อนจากการหยุดยา เช่น ภาวะความดัน ขนมปังสีน้ำตาล โดยจำกัดปริมาณ เพื่อควบคุมน้ำ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โลหิตสูงเฉียบพลัน หนักตัว รับประทานถั่วเมล็ดแห้งเพื่อเพิ่มแมกนีเซียม 3.ไม่ควรลดหรือเพิ่มขนาดยาเอง เพราะอาจเสี่ยงต่อ 3.การออกกำลังกาย เช่น ควรอยู่ในความดูแลของทีม ความดันโลหิตสูงหรือต่ำได้ แพทย์เพื่อประเมินสภาพของร่างกาย โรคแทรกซ้อน 4. ไม่ควรลืมรับประทานยา การเฝ้าติดตามผลการออกกำลัง รวมถึงให้ผู้ป่วย 5. กรณีรับประทานยาวันละครั้งแล้วลืมรับประทานยา เรียนรู้อาการเตือนต่างๆ หากไม่มีความเสี่ยงทีม ให้รับประทานเมื่อนึกได้ แพทย์จะให้ออกกำลังกายที่บ้าน และต้องไปพบแพทย์ 6. กรณีรับประทานยาวันละสองครั้งแล้วลืมรับ ตามนัดเพื่อประเมินผลของการออกกำลังกายอย่าง ประทานยา ให้รับประทานเมื่อนึกได้ถ้ายังอยู่ในช่วง สม่ำเสมอ เน้นกิจกรรมที่ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ เช่น แขน เช้า แต่ถ้าใกล้มื้อยาถัดไป ให้รับประทานยามื้อถัดไป ขา หรือลำตัว และมีการทำกิจกรรมนั้นซ้ำๆ เป็น โดยไม่ต้องเพิ่มขนาดยาเป็น 2 เท่าของที่รับประทาน จังหวะในช่วงเวลาหนึ่งอย่างต่อเนื่อง โดยมีจุดมุ่ง 7. การควบคุมความดันโลหิตสูงไม่ใช่เฉพาะใช้ยาเพียง หมายเพื่อเพิ่มหรือคงไว้ซึ่งสมรรถภาพของร่างกาย อย่างเดียว ต้องร่วมกับการควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่มี (physical fitness) เช่น การเดิน การวิ่ง ว่ายน้ำ เต้น ผลต่อภาวะความดันโลหิตสูง เช่น ควบคุมอาหาร แอโรบิก เป็นต้น ควรออกกำลังกายให้สม่ำเสมอ 5-7 ออกกำลังกาย งดสูบบุหรี่ วันต่อสัปดาห์ ควรใช้เวลาออกกำลังกาย 30-60 8.หลีกเลี่ยงยาสมุนไพรหรืออาหารเสริมอื่นๆ เพราะ นาที และถ้าจำเป็นต้องหยุดออกกำลังกายไปเป็น อาจทำให้ผลในการควบคุมความดันไม่มี เวลานาน เมื่อเริ่มออกกำลังกายใหม่ต้องค่อยๆ ปรับ ประสิทธิภาพ หรือมีปฏิกิริยากับยาที่รับประทาน เพิ่มการออกกำลังกาย ไม่หักโหมออกกำลังกายหนัก 9. ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อนใช้ยาทุกครั้ง ทันที
โรคความดันโลหิตสูง ตารางแสดงค่าความดันโลหิต การป้องกันไม่ให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) ความดันโลหิตที่ดี : ความดันโลหิตตัวบน 1.รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู่ (ม.ม.ปรอท) < 120 และความดันโลหิตตัวล่าง 2. ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ความดันโลหิตสูง คือ โรคหรือภาวะที่ (ม.ม.ปรอท) < 80 3. ออกกำลังกายแบบแอโรบิกเป็นประจำ แรงดันเลือดในหลอดเลือดแดงมีค่าสูง ความดันโลหิตปกติ : ความดันโลหิตตัวบน 4. พักผ่อนให้เพียงพอและรักษาสุขภาพจิตให้ดีอยู่เสมอ กว่าค่า มาตรฐาน ค่าความดันโลหิตตัว (ม.ม.ปรอท) 120-129 และความดันโลหิตตัวล่าง 5. ลดปริมาณของเกลือโซเดียมที่บริโภคไม่ให้เกินวันละ บนสูงกว่าหรือเท่ากับ 140 มิลลิเมตร (ม.ม.ปรอท) 80-84 ปรอท และความดันโลหิต ตัวล่างสูง ความดันโลหิตค่อนข้างสูง: ความดันโลหิตตัวบน 2.4 กรัม กว่า 90 มิลลิเมตรปรอท อย่างน้อย 2 (ม.ม.ปรอท) 130-139 และความดันโลหิตตัวล่าง 6.ถ้าเป็นผู้ดื่มแอลกอฮอล์อยู่แล้ว สำหรับผู้ชายควร ครั้ง ขึ้นไป (ม.ม.ปรอท) 80-89 ความดันโลหิตสูงเล็กน้อย (ระยะที่ 1) : ความดัน จำกัดปริมาณของแอลกอฮอล์ให้ไม่เกินวันละ 2 สาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง โลหิตตัวบน (ม.ม.ปรอท) 140-159 และความดัน หน่วยการดื่ม 1.ความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด ประมาณ โลหิตตัวล่าง (ม.ม.ปรอท) 90-99 7. ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับยาที่ใช้อยู่เพราะอาจมียาบาง 90-95% ความดันโหลิตสูงปานกลาง (ระยะที่ 2) : ความดัน ตัวที่ทำให้เกิดความดันโลหิตสูงได้ 2.ความดันโลหิตสูงชนิดทราบสาเหตุ ประมาณ 5-10% โลหิตตัวบน (ม.ม.ปรอท) 160-179 และความดัน 8.ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป แม้ว่าจะยังรู้สึกสบายดีก็ เกิดได้จากหลายสภาวะ ได้แก่ โรคไต เช่น โรคไตเรื้อรัง โลหิตตัวล่าง (ม.ม.ปรอท) 100-190 ควรไปตรวจสุขภาพซึ่งรวมถึงการตรวจวัดความดัน หลอดเลือดแดงไตตีบ หลอดเลือดแดงใหญ่ตีบ เนื้องอก ความดันโลหิตสูงมาก (ระยะที่ 3) : ความดันโลหิต โลหิตอย่างน้อยทุก 2 ปี ส่วนผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้น บางชนิดของต่อมหมวกไต หรือต่อมใต้สมอง เป็นต้น ตัวบน (ม.ม.ปรอท) ตั้งแต่ 180 ขึ้นไปและความดัน ไป แนะนำว่าควรไปตรวจวัดความดันโลหิตอย่าง โลหิตตัวล่าง (ม.ม.ปรอท) ตั้งแต่ 110 ขึ้นไป น้อยปีละ 1 ครั้ง อาการความดันโลหิตสูง อาการปวดมึนท้ายทอย ตึงที่ต้นคอ เวียน ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง อาการที่ควรรีบมาพบแพทย์ ศีรษะ ซึ่งมักจะเป็นตอนตื่นนอนใหม่ๆ บาง 1. พันธุกรรม 1.เจ็บหน้าอกอย่างรุนแรง คล้ายมีอะไรมาบีบรัด รายอาจมีอาการปวดศีรษะตุบๆ แบบ 2. โรคเบาหวาน ไมเกรน รายที่เป็นมานานๆ อาจจะมี 3. โรคไตเรื้อรัง บริเวณตรงกลางหน้าอก อาจร้าวไปถึงขา อาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ใจสั่น นอน 4. น้ำหนักตัวเกินและโรคอ้วน กรรไกรและแขนซ้าย ไม่หลับ ตามัว มือเท้าชา มีเลือดกำเดาไหล 5. ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ 2. เจ็บบริเวณหน้าอกหรือท้องอย่างเฉียบพลันและ 6. การขาดการออกกำลังกาย รุนแรง มีอาการร้าวไปถึงหลัง 7. การรับประทานอาหารเค็มอย่างต่อเนื่อง 3. เหนื่อยง่ายผิดปกติ 8. การสูบบุหรี่ 4.ใจสั่น ชีพจรเต้นไม่เป็นจังหวะ 9. การดื่มแอกอฮอล์ 5.ปวดศีรษะเฉียบพลัน ร่วมกับอาการปวดตึง บริเวณท้ายทอยและอาเจียนร่วมด้วย
Search
Read the Text Version
- 1 - 2
Pages: