๒.๓ สถานศึกษาจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและบรรลุตามเป้าประสงคท์ ีก่ ำหนดไว้ การดำเนินงาน สถานศึกษาได้เปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์และเป้าหมาย การจัดการศึกษาร่วมกัน โดยศึกษาเป้าหมายการจัดการศึกษาของชาติ ได้มีการกำหนดวิสัยทัศน์และ เป้าหมายแผนงาน โครงการ อันเกดิ จากการร่วมคิดร่วมทำรว่ มนำเสนอระหว่างสถานศกึ ษากับผู้ปกครอง ชุมชน ร่วมกันกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายของโรงเรียน จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ดำเนินโครงการตามแผนอย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ นวตั กรรม เทคโนโลยี ภมู ปิ ญั ญาและกจิ กรรมทีห่ ลากหลายภายใต้การบรหิ ารแบบมีส่วนรว่ ม ๒.๔ สถานศึกษาจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีเพื่อบรรลุตามเป้าหมายรายปี โดยจัดสรร ทรัพยากร เพื่อสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาตามแผนงานในรอบปีทีช่ ดั เจนและปฏบิ ัติได้ การดำเนินงาน สถานศึกษาจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีเพื่อบรรลุเป้าหมายประจำปี โดยจัดสรรทรัพยากร เพื่อสนบั สนุนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา และจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานขับเคลือ่ นคุณภาพการศึกษา ตามแผนงานในรอบปีที่ชัดเจนและปฏิบัติได้ สถานศึกษาจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี โดยกำหนด ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ และแผนงานโครงการ สอดคลอ้ งและครอบคลมุ ทุกมาตรฐาน ตัวบ่งช้ี และเปา้ หมาย ของสถานศกึ ษา ซงึ่ มกี ารดำเนนิ งานโดยการมสี ่วนรว่ มของทกุ ฝา่ ย ๒.๕ สถานศึกษาจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีเพื่อบรรลุตามเป้าหมายรายปี โดยจัด ทรัพยากร เพื่อสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานขับเคลื่อน คณุ ภาพการศึกษา ตามแผนงานในรอบปที ่ีชัดเจน การขับเคลือ่ นคณุ ภาพส่มู าตรฐานกระบวนการพัฒนาคุณภาพโรงเรยี นบ้านตะกุดภิบาล ได้ดำเนิน การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีเพื่อบรรลุตามเป้าหมายรายปี และจัดสรรทรัพยากร เพื่อสนับสนุนการ พัฒนาคณุ ภาพ และมปี ฏิทนิ การขบั เคล่ือนคุณภาพตามแผนงานในรอบปที ่ีซดั เจน และปฏบิ ตั ไิ ด้ สถานศึกษา จดั ทำแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีโดยกำหนดยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ และแผนงานโครงการสอดคลอ้ งและครอบคลุม ทุกมาตรฐาน ตวั บ่งช้ี และเป้าหมายของสถานศกึ ษา ซึง่ มีการดำเนนิ งานโดยการมสี ่วนร่วมของทุกฝา่ ย ผู้บริหารสถานศึกษาสนับสนุนผู้รับผิดชอบดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี และกำกับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และนเิ ทศงานอย่างสม่ำเสมอตามปฏิทินการขับเคลือ่ นคณุ ภาพ มกี ารดำเนนิ การโดยบรู ณา การโครงการประกันคุณภาพภายใน (นิเทศภายในหอ้ งเรยี นคุณภาพระบบการวัดประเมินผลการดำเนินงาน และรายงานโครงการ) โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภบิ าล 48
สถานศึกษากำหนดการรายงานความก้าวหน้าของดำเนินงานเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่อง และใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (PLC) ในการปรับปรุงพัฒนางานพัฒนาบุคลากร และให้ความช่วยเหลือ มีการดำเนินการโดยใช้ระบบการนิเทศภายในโรงเรียนที่เชื่อมโยงกับการประกัน คณุ ภาพ ภายในซ่ึงมี ๕ ข้นั ตอน ดงั น้ี ขน้ั ที่ ๑ ศึกษาสภาพปจั จุบันปัญหาและความต้องการ ๑. จัดทำข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานเพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาวางแผนการดำเนินงาน ตามประเด็นการนเิ ทศ ได้แก่คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระบบบริหารจัดการคุณภาพ การจดั ประสบการณ์/กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นเดก็ /ผู้เรยี นเป็นสำคัญ ๒. ประชุมแลกเปล่ียนระดมความคดิ ของผู้บริหารและบุคลากรในโรงเรียน เพื่อวิเคราะห์ สภาพปัญหาและความตอ้ งการในการพฒั นาตามบรบิ ทของโรงเรยี น ๓. จดั ลำดับความสำคัญของปัญหาหรือความต้องการเรง่ ด่วนหรือท่ีเหน็ วา่ สำคัญทีส่ ุดก่อน ๔. นำผลการวิเคราะห์จากประเด็นการนเิ ทศมากำหนดคา่ เปา้ หมายการพฒั นาท่ีเชื่อมโยง กบั มาตรฐาน และประเดน็ พจิ ารณาของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๕. สร้างความรู้ความเขา้ ใจแก่บุคลากรในโรงเรียนและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายให้เป้าหมาย ในการดำเนินงานร่วมกัน ด้วยการใช้ส่ือและวิธีการนิเทศที่หลากหลาย เช่น การประชุม สัมมนาการ ประชาสมั พันธ์โดยการจัดทำเอกสาร หรอื เผยแพร่บน Page facebook ของโรงเรยี น ขั้นที่ ๒ การวางแผนการนิเทศ นำปัญหาและความต้องการจากการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ ตามประเด็นการนิเทศมาบูรณาการ การดำเนินงานให้เชือ่ มโยงกัน กำหนดรายละเอียดของกิจกรรมในการ จัดทำแผนนเิ ทศใหบ้ รรลุตามคา่ เป้าหมาย ๑. กำหนดแนวทางวิธกี ารการพัฒนาทีห่ ลากหลายตามปญั หาท่เี กิดข้ึนตามความต้องการ และจำเป็น มีการใช้กระบวนการชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ และการศึกษาชั้นเรียน เป็นเครื่องมือสำคัญ ในการพฒั นาวิชาชพี ครู และการพฒั นาผ้เู รียนอยา่ งเป็นระบบและต่อเน่ือง ๒. เลือกแนวทาง/วธิ กี ารในการพัฒนาโดยการมสี ว่ นรว่ มของทุกฝ่ายทเี่ กีย่ วขอ้ ง ๓. วางแผนการดำเนินงานพฒั นา โดย (๑) ประชุมเตรยี มการนิเทศ เพ่อื สร้างความรู้ ความเข้าใจร่วมกนั (๒) สร้างคณะนิเทศ ทีมงานและเครือขา่ ยการนิเทศ (๓) กำหนดประเด็นการนิเทศ (๔) กำหนดระยะเวลาในการนิเทศโดยกำหนดระยะเวลาในการนิเทศที่เหมาะสม กบั การแกป้ ัญหาและการพฒั นา (๕) กำหนดวิธีการนิเทศและกิจกรรมการนิเทศที่เหมาะสมตามสภาพปัญหา และความต้องการ เช่น การประชุมสัมมนา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสังเกตชั้นเรียน การสาธิต และการถ่ายภาพการสมั ภาษณ์ ฯลฯ โดยเนน้ การใชใ้ นรปู แบบตา่ ง ๆ โรงเรียนบา้ นตะกุดภบิ าล 49
ขน้ั ท่ี ๓ การสรา้ งส่ือและเครอื่ งมอื นเิ ทศ ๑. สร้างสื่อการนิเทศที่ทำให้การนิเทศบรรลุวัตถุประสงค์ เช่น วิธีการนิเทศ ทักษะ การนิเทศ เทคนิคการนเิ ทศ ทั้งเอกสารและการใช้ ICT ในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ Line Application การใช้ Clip Video การ Conference การใช้ Video Line YouTube และ Facebook live เป็นต้น ๒. สร้างเครื่องมือการนิเทศเพื่อเก็บข้อมูลเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา และพัฒนา ตรวจสอบ ตดิ ตามความก้าวหน้าของการดำเนินงาน และการประเมินผลการดำเนินงาน ขั้นท่ี ๔ การปฏิบตั ิการนเิ ทศ ดำเนินการนเิ ทศตามรูปแบบวธิ ีการการนเิ ทศและกจิ กรรมการนิเทศ ที่หลากหลาย ๑. ประชุมเตรียมการก่อนการนิเทศ เพื่อสร้างความเข้าใจของผู้นิเทศให้การนเิ ทศเป็นไป อยา่ งมีประสิทธิภาพ ๒. นิเทศตามขน้ั ตอน ระยะเวลา และใชเ้ ครื่องมอื ตามทก่ี ำหนด ๓. นเิ ทศภายในหอ้ งเรียน ๑๐๐% ๔. สะทอ้ น และสรุปผลการนเิ ทศ ๕. ปรับปรุง และพฒั นาการดำเนนิ งาน ๖. สร้างเครือขา่ ยความร่วมมอื ในการนเิ ทศ ขั้นที่ ๕ การประเมินผลและรายงานผล ๑. สรุปผลรายงานผลการดำเนนิ งานนำผลไปใช้ปรบั ปรงุ และพฒั นา ๒. วิเคราะห์ สงั เคราะหผ์ ลการดำเนนิ งาน ๓. รายงานผล และเผยแพร่การดำเนินงานนเิ ทศตอ่ ผู้เก่ียวขอ้ ง ๔. นำผลการนเิ ทศไปใชใ้ นการวางแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ผลการดำเนินงานปรากฏดงั น้ี ผู้บริหารโรงเรียนบ้านตะกุดภบิ าล มีการสื่อสาร สร้างความตระหนัก กระตุน้ เร่งรดั สนับสนุน และนำผู้ที่เกี่ยวข้อง ขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษาที่กำหนดไว้โดยร่วมกัน โดยออกแบบระบบการบรหิ าร จัดการคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา จดั ทำแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษา แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีเพอ่ื รองรบั การพัฒนาตามมาตรฐาน และบรรลตุ ามเป้าประสงค์ รวมทง้ั ครอบคลุม การจดั สรรทรพั ยากรเพ่ือสนับสนุนพฒั นาคุณภาพ จัดทำปฏทิ ินปฏิบัตงิ านเพ่ือขับเคลือ่ นการนำแผนปฏิบัติ การประจำปีสู่การปฏิบัติมีการนิเทศ กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และให้ความช่วยเหลือเพื่อปรับปรุงและ พัฒนา โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) อย่างต่อเน่ือง พร้อมทั้งรายงาน ความก้าวหน้าและผลการดำเนินงานเปน็ ระยะ ส่งผลตอ่ คณุ ภาพการศึกษาในรอบปีท่ชี ดั เจน ความโดดเด่น ที่ปรากฏดังนี้ ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้นำการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา โดยการประชุมครูและ บุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้มีความเข้าใจในกระบวนการขับเคล่ือนคุณภาพการศึกษาและเป้าประสงค์ โรงเรียนบ้านตะกดุ ภบิ าล 50
เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษานำสูก่ ารปฏิบัติอยา่ งเปน็ รูปธรรมสร้างบุคลากรแกนนำของโรงเรียน เช่น ครูวิชาการมีแผนพัฒนาการจัดการศึกษาประจำปี ๒๕๖4 – ๒๕๖6 และโครงการ/รายงาน การดำเนินงานโครงการประกันคุณภาพภายใน และระบบการนิเทศภายในโรงเรียน ในการขับเคลื่อน คณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และเปน็ ระบบ ๒.๖ สถานศึกษาจัดให้มีการประเมินและรายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงาน เป็นระยะๆ มีการทบทวนการดำเนินงาน และใช้กระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) ในการปรบั ปรุงพฒั นางาน และบุคลากรอยา่ งตอ่ เนื่อง การดำเนินงาน โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล การนำกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (PLC) มาใช้ โดยใช้กระบวนการร่วมมือร่วมใจกันของครู ผู้บริหารโรงเรียน และหน่วยงานทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ทางวิชาชีพื (PLC) โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ไปที่ผูเ้ รียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาการ เรียนรู ไดด้ ว้ ยตนเอง ผ่านการวางแผน การมวี สิ ยั ทศั น์ร่วมกัน การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ซึง่ กันและกันจนเกิด เป็นวัฒนธรรม หรือชุมชนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโรงเรียนความก้าวหน้าของการดำเนินงานเป็น ระยะๆ อย่างต่อเนื่อง และใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรูเ้ ชิงวิชาชพี (PLC) ในการปรับปรุงพฒั นา งานพัฒนา บุคลากร และใหค้ วามช่วยเหลอื อยา่ งต่อเนอ่ื งเป็นระบบท่เี ปน็ ตวั อยา่ งได้ ๒.๗ สถานศึกษามีการประเมินถอดบทเรียนสังเคราะห์ความรู้ และนำเสนอระบบ หรือรูปแบบการ บริหารจัดการคุณภาพการศึกษาที่ใช้ในการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐาน การศึกษาที่กำหนดไว้ การดำเนินการ สถานศึกษามีการประเมินถอดบทเรียน สังเคราะห์ความรู้และนำเสนอระบบหรือรูปแบบ การบริหารจดั การคุณภาพการศึกษาทใี่ ชในการขับเคลือ่ นคุณภาพการศึกษาสมู่ าตรฐานการศึกษาทก่ี ำหนด ไว้ สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาคุณภาพนักเรียนดว้ ยกระบวนการวิธีการที่หลากหลายเพื่อมุง่ เน้นให้ นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่ดีเยี่ยมมีศักยภาพในการเรียนรู้ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง มีคุณลักษณะรักการเรียนรู้ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เป็นไปตามมาตรฐาน และตัวช้ีวดั ของหลักสตู ร มกี ารออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับนกั เรยี นและดำเนินการตามแผน กลยทุ ธ์/แผนปฏบิ ัติราชการของโรงเรยี นบ้าน โรงเรียนบ้านตะกุดภบิ าล 51
องคก์ ระกอบท่ี 3 การประเมนิ ความสำเร็จตามมาตรฐาน คำอธิบาย : สถานศึกษาสร้างระบบและกลไกในการประเมินคุณภาพภายในที่ใช้สถานศึกษา เป็นฐาน และประเมนิ ตนเองเป็นระยะ ๆ โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่หลากหลายสอดคล้องตามบริบท ของสถานศึกษา และกฎกระทรวงที่กำหนดไว้ เพื่อให้ได้สารสนเทศและผลการประเมินตนเองที่ตรง ตามสภาพจริงและเช่ือถือได้ และนำสารสนเทศจากการประเมนิ วธิ กี ารปฏบิ ัติท่ีดี และการศึกษาแนวคิด เพิ่มเดมิ มาใชป้ รบั ปรงุ พฒั นาระบบงานอยา่ งต่อเนื่อง และลื่อสารแกผ่ ทู้ เี่ กี่ยวขอ้ งทุกฝา่ ย โดยการมสี ่วนร่วม ของผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ บุคลากรทุกฝา่ ย และผู้ที่มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ๓.๑ สถานศึกษามีระบบและกลไกในการประเมินคุณภาพภายในท่ีสอดคล้องตามบริบท ของสถานศึกษาและเปน็ ไปตามกฎกระทรวงทก่ี ำหนดไว้ การดำเนนิ งาน โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ได้มีการสร้างและพัฒนาระบบและกลไกในการประเมินคุณภาพ ภายใน โดยวงจร PDCA (Plan-Do-Check-Action) ซง่ึ เป็นวงจรการพัฒนาคณุ ภาพเพือ่ ใหก้ ารดำเนินงาน มีประสทิ ธภิ าพและคุณภาพเพ่มิ ข้นึ ภายใต้ การบริหารโรงเรียนขนาดเล็กของโรงเรียนบ้านตะกุดภิบาลด้วยกระบวนการ TAKUD 5G โรงเรยี นบ้านตะกดุ ภบิ าล 52
MODEL มีกิจกรรมการปฏบิ ัตเิ ปน็ ลำดับข้นั ตอน ดังนี้ 1. ขั้นวางแผนการปฏิบัติงาน (P) เป็นการประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อวิเคราะห์ และสังเคราะห์สภาพการณ์ปัจจุบันเพื่อความเข้าใจในทิศทางและปั จจัยที่มีอิทธิพลในประเด็นหลัก ของการประชมุ เพื่อร่วมกนั กำหนดความคิดเหน็ ร่วมและสร้างแผนปฏบิ ตั ิการ 2. ขั้นปฏิบัตติ ามแผน (D) ดำเนินการตามข้นั ตอนดงั นี้ ดา้ นการสง่ เสริมโอกาสทางการศกึ ษา 1) การประสานข้อมูลเด็กในเขตบริการจากกลุ่มงานทะเบียน ที่ ว่าการอำเภอไพศาลี เพ่อื เปน็ แนวทางการประชาสมั พนั ธก์ ารรบั นกั เรยี น 2) มีการประชาสัมพันธ์ในการรับนักเรียน โดยการติดป้ายประกาศหน้าโรงเรียน การออก ประชาสัมพันธ์ตามหมู่บ้าน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลวังน้ำลัด ส่งครูออกเยี่ยมตามบ้านเพื่อค้นหา นกั เรยี นและทำเปน็ แผ่นพบั แจกวนั ประชุมผปู้ กครองและวนั ประชมุ ในหมู่บ้าน 3) ครูจัดทำข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล โดยมีการคัดกรองนักเรียนตามโครงการระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน 4) ดำเนนิ การตามโครงการระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นดังต่อไปนี้ (1) วิเคราะห์ข้อมูลให้ความช่วยเหลือนักเรียน เช่น การอบรม การให้คำแนะนำ การช่วยเหลือตามความเหมาะสมเช่น การให้ทุนการศึกษา การแนะแนวการศึกษา การให้คำปรึกษา แกผ่ ้ปู กครอง การสอนซ่อมเสรมิ เปน็ ตน้ (2) ประสานความร่วมมือกับผู้นำทอ้ งถิ่น และชุมชนในการช่วยสอดส่องดูแลพฤตกิ รรม นกั เรยี นขณะใช้ชีวติ อยูบ่ า้ น (3) ประสานความร่วมมือกบั องค์กรต่าง ๆ ในการร่วมกันดูแล สนับสนุนการดำเนินงาน การบรหิ ารของโรงเรยี น ทั้ง 4 งาน ดังน้ี ดา้ นงานบรหิ ารทวั่ ไป มีการสร้างข้อตกลงกับผู้นำท้องถิ่นและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยให้ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้นำท้องถิ่นให้ความเห็นชอบต่อแผนปฏิบัติการของโรงเรียน ติดตามและประเมินผลโครงการ นอกจากนี้ประสานให้ทางผู้นำท้องถิ่นประชาสัมพันธ์การรับนักเรียน และสอดส่องดูแลพฤตกิ รรมของนักเรียนขณะอยู่บ้าน ในส่วนของการพัฒนาโรงเรียนก็ได้รับความร่วมมือ จากชาวบา้ นและผู้ปกครองมาพัฒนาโรงเรยี นตามทโ่ี รงเรยี นร้องขอ หรือในโอกาสวนั สำคญั ต่าง ๆ ด้านงานบรหิ ารงบประมาณ โรงเรียนมีการระดมทุนจากการจดั งานผ้าป่าศิษย์เก่าสำหรับการปรับปรุงซ่อมแซมแหล่เรียนรู้ ในโรงเรียน จดั จ้างครูผสู้ อนทดแทนการขาดแคลนอัตรากำลงั ครูและจากองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลวงั นำ้ ลดั ทจี่ ดั สรรงบประมาณในหมวดเงนิ อุดหนุนพฒั นาการศึกษาของโรงเรียน โรงเรียนบ้านตะกดุ ภบิ าล 53
ด้านงานบรหิ ารบคุ ลากร ประสานความร่วมมอื จากองคก์ รทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรยี นขอรับการสนับสนุนบุคลากร เช่น กลุ่มศิษย์เกา่ โรงเรียนบา้ นตะกุดภบิ าล สนบั สนุนจดั จา้ งครผู ู้สอน จำนวน 3 คน ด้านงานบรหิ ารวิชาการ มกี ารประสานความรว่ มมือกับองค์กรตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี - โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลให้ความรเู้ กี่ยวกบั สารเสพติด ทันตสุขภาพ และการป้องกัน ไข้เลอื ดออก ตลอดจนการป้องกันโรคระบาดในทอ้ งถนิ่ เปน็ ตน้ - สถานตี ำรวจภธู รไพศาลีมาให้ความรู้เร่อื งการป้องกนั ยาเสพติด (ครแู ด) - วัดในเขตบริการของโรงเรียนจัดกิจกรรมเน่ืองในวันสำคัญทางพระพทุ ธศาสนาและให้ปลกู ฝงั ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมในการดำรงชวี ิต และงานประเพณีในท้องถนิ่ - ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาให้ความรู้ด้านงานอาชีพ ตลอดจนเป็นแหล่งเรียนรู้ห้องเรียนธรรมชาติ แกน่ ักเรยี น เช่น การทำปยุ๋ ชีวภาพ การทำน้ำยาอเนกประสงคส์ ำหรับใชใ้ นครัวเรอื น และการทำผลไม้แปรรูป ด้านการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาโรงเรียนดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามแนว ดำเนินการที่ประชุมได้กำหนดรปู แบบการพัฒนาออกเป็น 4 ดา้ น 13 ด้านความรู้และการคิด ประกอบด้วย โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โครงการ แก้ปัญหาการอ่าน การเขียน และการคิดคำนวณ โครงการขับเคลื่อนทักษะการคิดสู่ผู้เรียน การเตรียม ความพร้อมภาษาอังกฤษสู่อาเซียน กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย และโครงการโรงเรียนแกนนำ จัดการเรียนรว่ ม ด้านคุณธรรม จริยธรรมและวินัยนักเรียน ประกอบดว้ ย โครงการขบั เคล่อื นปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพยี งสู่สถานศกึ ษา โครงการลูกเสือ-จิตอาสา และโครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน ด้านสุขภาพและสุนทรียภาพ ประกอบด้วย โครงการกิจกรรมชุมนุม และโครงการโรงเรียน สง่ เสริมสขุ ภาพ ด้านการงานและอาชีพ ประกอบด้วยโครงการส่งเสริมอาชีพในท้องถิ่น และโครงการสหกรณ์ ออมทรพั ย์ของโรงเรยี น 3. ข้ันติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล (C) ได้มีการติดตามการดำเนินกิจกรรม ทั้งด้านการส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา และด้านการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยการพูดคุยอย่าง เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ประกอบการสังเกตการดำเนินงาน มีการประสานงานกับทุกฝ่ายท่ี เกี่ยวขอ้ ง ซ่งึ เปน็ กลมุ่ ตัวแทนตา่ ง ๆ ในการรายงานความก้าวหนา้ ของการดำเนนิ โครงการ การรายงานผล เป็นลักษณะการตดิ ตามผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคเพื่อนำมาแก้ไขและวางแผนปรับปรุงการ ดำเนินงานให้มีประสิทธภิ าพมากยิ่งขึน้ ดังนั้นก่อนการดำเนินการประเมนิ ผลรวบยอดในขั้นสุดทา้ ย จะมี การนำไปปฏิบตั ิและเก็บรวบรวมขอ้ มลู จากการตดิ ตามประเมนิ ผล สะท้อนผลที่ได้และนำมาวางแผนใหม่ โรงเรยี นบ้านตะกดุ ภบิ าล 54
ทำเชน่ นจ้ี นกวา่ จะบรรลุผลตามที่ตวั ชีว้ ัดกำหนดไว้ 4. ขั้นนปรับปรุงรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนขนาดเล็กคุณภาพ (A) หลังจากเสร็จสิ้น โครงการทั้งหมด ไดป้ ระเมินผลความพึงพอใจของผทู้ ีเ่ กี่ยวข้องตอ่ การดำเนินงานของโรงเรียน ซ่งึ ได้นำเขา้ ท่ี ประชมุ ผู้ที่เก่ยี วขอ้ งและได้ขอ้ สรุปในการปรบั ปรุงรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนขนาดเล็ก ดงั น้ี 1) ต้องการให้โรงเรียนปรับกิจกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนานักเรียนดา้ นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการสรุปเรือ่ งท่ีอ่าน ฟัง ดู และนำเสนอได้ และดา้ นความมั่นใจกล้าแสดงออกท่ีเหมาะสม 2) ต้องการให้โรงเรียนมีการปรับปรุงระบบสื่อและเทคโนโลยี และนำมาใช้ประกอบการเรียน การสอนให้มากข้นึ ๓.๒ สถานศกึ ษามีคณะกรรมการท่ีประกอบดว้ ยผู้ท่มี สี ่วนเกี่ยวข้องทกุ ฝ่ายและผู้ทรงคุณวุฒิ จาก ภายนอก และได้ใช้เครือ่ งมอื วธิ ีการทีห่ ลากหลาย เหมาะสมตามบริบทเพ่ือประเมนิ คุณภาพภายใน สถานศึกษา การดำเนินการ โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ได้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบไปด้วยประธาน กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้มีส่วนได้สว่ นเลียเขา้ มามีบทบาท และเขา้ ใจถึงบรบิ ทของโรงเรยี น และเขา้ ใจในเรอ่ื งของการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษาเปน็ อยา่ งดี ลำดับ ช่ือ-สกุล ตำแหนง่ 1 นายไว นาพิณ ประธานกรรมการ 2 นางประกาย วรพต รองประธาน 3 นายประชมุ ชุติมานนั ท์ กรรมการ 4 นายสมศักดิ์ มาสงู เนนิ กรรมการ 5 นายไกร พร้อมตะคุ กรรมการ 6 นายนาค แยมสงู เนิน กรรมการ 7 นายศุภนสั บญุ ช่วย กรรมการ 8 นางสาวณชกาน เรืองชม กรรมการ 9 นางสาวพรรณทิพา โพธ์ิออ่ ง กรรมการและเลขานกุ ารฯ โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล 55
๓.๓ สถานศกึ ษาใชเ้ คร่อื งมือ และวธิ ีการหลากหลาย เหมาะสมและนา่ เชอ่ื ถือติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา การดำเนนิ งาน โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ได้ใช้เครื่องมือ และวิธีการที่หลากหลายเหมาะสมและน่าเชื่อถือ โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามกฎกระทรวงว่า ด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา การติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา โดยนำผลการดำเนนิ การตามแผนปฏิบัติการประจำปีมาปรับปรุงและพัฒนา เพื่อให้ได้ข้อมูลทีส่ ะทอ้ นให้ เห็นถึงความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาของสถานศกึ ษา เครื่องมือและวิธีการที่หลากหลายในการติดตามประเมินผลคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ได้ใช้ระบบการติดตาม ตรวจสอบเครื่องมือตามวงจร (PDCA) มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา ความก้าวหน้าของการดำเนินงานด้านปัจจัย ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต/ผลลัพธ์ เพื่อให้การบริหารจัดการคุณภาพมีประสิทธิภาพ โดยใช้วงจร (PDCA) เปน็ เคร่อื งมอื ตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพ ซึ่งประกอบดว้ ย ๑. วางแผนติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา มีการกำหนดขั้นตอนการทำงาน ติดตาม ตรวจสอบความกา้ วหน้าทงั้ ด้านปจั จัย ด้านกระบวนการและดา้ นผลผลติ /ผลลพั ธ์ ๒. ดำเนนิ การตามแผนการติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าทั้งดา้ นปจั จัยดา้ นกระบวนการ และดา้ นผลผลติ /ผลลัพธ์ ๓. รายงานการตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา ๔. พัฒนาปรบั ปรงุ อยา่ งต่อเนือ่ ง โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนา การจัด การศึกษาประกอบด้วย การปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี การดำเนินงาน ตามโครงการ/กิจกรรม ที่กำหนดไว้ได้ การติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ได้แก่ ด้านปัจจัย ด้านกระบวนการแลด้านผลผลิต/ผลลัพธ์ เพื่อให้การบริหารจัดการคุณภาพของโรงเรียน มปี ระสิทธิภาพใช้ วงจรบรหิ ารงานตามระบบ (PDC โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภิบาล 56
แผนผังกระบวนการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนบา้ นตะกุดภิบาล โรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภบิ าล 57
กรอบการตดิ ตามกระบวนการคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ได้กำหนดให้มีการใช้เครื่องมือและวิธีการที่หลากหลายตลอดจน มกี ารกำกับ ตรวจสอบตดิ ตาม โดยยดึ เปา้ หมายจดุ เนน้ ของโรงเรียน โดยยดึ หลักรว่ มคิดร่วมทำ รว่ มแก้ปัญหา ซึ่งสรุปเป็นข้นั ตอนดงั นี้ ๑. แต่งต้ังคณะกรรมการกำกับตดิ ตามงานตามเปา้ หมาย จุดเนน้ ๒. กลุ่มสาระหรือกลมุ่ งาน เสนอรายงานการดำเนินงานตามปฏทิ นิ ปฏบิ ตั งิ าน/โครงการ เมอ่ื เสรจ็ สนิ้ ภารกจิ เฉพาะงาน คณะทำงานหลอมรวมเป็นของกลุ่มงาน เสนอฝา่ ยบรหิ าร ๓. หัวหน้ากลุ่มสาระ หวั หน้างานและฝ่ายบริหาร กำกบั ติดตามโดยการประชมุ สัมมนา ๔. ปรับปรงุ แกไ้ ขทนั ทีเม่ือพบขอ้ บกพรอ่ งโดยมุ่งให้กลุ่มงาน/กล่มุ สาระ/ผรู้ ับผิดชอบงาน/โครงการ นนั้ ๆ ดำเนินการดว้ ยตนเอง และฝ่ายบริหารเปน็ ผ้ใู ห้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวก ๕. สรุปผลรายงานตามแบบรายงานของทางโรงเรียนเมื่อเสร็จสิ้นโครงการและสรุปรายงาน ในรายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ของกลุม่ งาน/กลุ่มสาระ โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภบิ าล 58
โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ได้มีการดำเนินการตรวจสอบ (Reporting) ในกระบวนการ และผลการ ดำเนนิ การวา่ เป็นไปตามเปา้ หมาย จุดเน้นของโรงเรยี น ดังน้ี ๑. ตรวจสอบการดำเนนิ งานภายในโดยการประเมินตนเองกลมุ่ สาระ/กลมุ่ งาน (SAR) ๒. ตรวจสอบคุณภาพภายในโดยการประเมินตนเองตามสภาพจรงิ ของคณะกรรมการ ระดับโรงเรยี น ปีละ ๑ คร้งั และหรอื จากหนว่ ยงานดน้ สังกัด ๓. นำผลการตรวจสอบมาวิเคราะห์และปรับปรุงแก้ไข พัฒนาโดยกำหนดไว้ใน แผนปฏิบัติการ โรงเรียนปีการศึกษาต่อไป และอาจแก็ใขปรับปรุงทันทีในบางส่วน ทั้งนี้มุ่งให้ผู้ตรวจสอบและผู้รับ การตรวจสอบไดม้ โี อกาสแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นเพอื่ เป็นแนวทางในการพัฒนางานตอ่ ไป โรงเรียนบ้านตะกุดภบิ าล ไดม้ กี ารดำเนนิ การรายงาน (Reporting) ผลการดำเนินงานใหผ้ ู้เกี่ยวข้อง ทกุ สว่ น ได้รับทราบและมสี ว่ นรว่ มเสนอแนะการพฒั นา ได้แก่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ผปู้ กครอง นักเรียน ชุมชนในพื้นที่บริการ ครูผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและนักเรียน และให้บุคลากรทุกคนจัดทำรายงาน การปฏิบตั ิงานของตนเองของกลุ่มสาระ/กลมุ่ งาน ๑. สรุปผลรายงานตามแบบรายงานของทางโรงเรียนเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ และสรุปรายงาน ในรายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ๒. รายงานให้หน่วยงานต้นสังกัดและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบโรงเรียนได้จัดทำ เป็นเอกสารรายงานการประเมนิ ตนเอง และสารสนเทศของโรงเรียนเพือ่ เผยแพร่ประชาสมั พันธ์ปีละ ๑ คร้ัง นอกจากการนำเสนอในรูปเอกสารแล้ว ยังได้ดำเนินการจัดประชุมสัมมนาร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษา ข้นั พนื้ ฐาน ตลอดจนการเผยแพรผ่ ลงานทางเวบ็ ไซด์ให้ผ้ปู กครองนกั เรยี นและชมุ ชนไดร้ ับทราบอยา่ งท่ัวถึง ๓.๔ สถานศึกษามสี ารสนเทศและผลการประเมินตนเองที่ตรงตามสภาพจรงิ และเชอื่ ถอื ได้ การดำเนินงาน โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาลได้ดำเนินการจัดทำระบบสารสนเทศ ในการจัดเก็บข้อมูลผลการดำเนนิ การตามมาตรฐานของสถานศึกษาผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น ระบบงานสารบัญอิเล็กทรอนิกส์ จัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคล DMC ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหาร สพฐ EMIS ระบบสำนักงาน อิเล็กทรอนิกส์ AMSS++ ระบบงานประชาสัมพันธ์ ระบบ Big Data สพป.นว 3 ระบบงานทะเบียนวัดผล ระบบข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการบริหารสพฐ. โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภิบาล Facebook คำสั่งโรงเรียนบ้านตะกดุ ภบิ าล งานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ๓.๕ สถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเอง ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดและสื่อสาร ใหก้ บั ผ้ทู ี่เกย่ี วข้อง การดำเนินงาน โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ได้ดำเนินการจัดทำรายงานประเมินตนเอง เพื่อสื่อสารแก่ผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ทุกฝ่าย โดยไดด้ ำเนินการตามขั้นตอนดังนี้ โรงเรียนบ้านตะกดุ ภิบาล 59
แผนภาพขัน้ ตอนการจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเอง 3.6 สถานศกึ ษามีสารสนเทศจากการประเมิน และศกึ ษาแนวคดิ วิธีการปฏบิ ัตทิ ี่ดี เพ่อื ปรบั ปรุง พัฒนาระบบงานอย่างตอ่ เนื่อง การดำเนนิ งาน โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล มีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพเป็นระบบถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นปัจจุบันและสามารถเรียกใช้ข้อมูล สารสนทศได้ตลอดเวลา โดยผู้บริหารสถานศึกษาสามารถนำไปใช้ ในการตัดสินใจดำเนินการต่าง ๆ ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการดำเนินการจัดสารสนเทศ เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่มีคุณภาพ สำหรับการวางแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาให้ได้ตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอก โดยมีกระบวนการการจัดระบบข้อมูล และสารสนเทศของโรงเรียนดังน้ี ขั้นที่ 1 แต่งตั้งคณะกรรมการและเจ้าหน้าที่สารสนเทศโรงเรียน ประกอบด้วย ครูและเจ้าหน้าท่ี สำนกั งานของทุกกลมุ่ บรหิ ารและกลุม่ สาระการเรียนรู้ ขั้นที่ 2 คณะกรรมการและเจ้าหนา้ ท่ีสารสนเทศ ประชุมวางแผนพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ เพือ่ การบริหารจัดการครอบคลมุ องค์ประกอบในการประกันคุณภาพ และพันธกจิ ของสถานศกึ ษา ขนั้ ท่ี 3 ทกุ กลมุ่ บริหาร กลุ่มสาระการเรยี นรู้ และกลุ่มงาน จัดทำระบบขอ้ มูลและสารสนเทศ ขั้นที่ 4 ทุกกลุ่มบริหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกลุ่มงาน นำข้อมูลและสารสนเทศไปใช้ และประเมนิ ผลการใชร้ ะบบข้อมลู และสารสนเทศ ขั้นที่ 5 ทุกกลุ่มบริหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกลุ่มงาน นำผลการประเมินไปปรับปรุงระบบ ข้อมลู และสารสนเทศ ข้ันที่ 6 ทกุ กล่มุ บรหิ าร กลุ่มสาระการเรยี นรู้ และกลุ่มงานเผยแพรส่ ารสนเทศ โรงเรียนบา้ นตะกุดภิบาล 60
องค์ประกอบที่ 4 การนำการเปลย่ี นแปลงสู่สถานศกึ ษาและการสรา้ งคณุ ค่าแกว่ งวิชาการ คำอธิบาย สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในที่เกิดประสิทธิผล ก่อให้เกิดการพัฒนา ด้านคุณภาพผู้เรียน ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และด้านกระบวนการ บริหารและการจัดการมผี ลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาที่สะท้อนการพัฒนาสงู ขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างนอ้ ย ๓ ปี รวมท้ังสถานศกึ ษาสามารถสรา้ งนวัตกรรมต้นแบบทก่ี อ่ ให้เกิดประโยชน์ ต่อสถานศึกษาอ่ืนต่อ วงวิชาการ หรือต่อสังคมอย่างเป็นรูปธรรม ๔.๑ ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในมีประสทิ ธผิ ลก่อใหเ้ กดิ การพฒั นาดา้ นคณุ ภาพผเู้ รียน อย่างเป็นรูปธรรมและมพี ัฒนาการสงู ข้ึนต่อเนื่องอยา่ งนอ้ ย ๓ ปี ๔.๑.๑ ผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการของผ้เู รียน ๑. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณตามเกณฑ์ ท่ีสถานศกึ ษากำหนด ตารางผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รียน จำนวนนักเรยี นทง้ั หมดแตล่ ะชนั้ 13 11 16 14 11 17 82 จำนวนนักเรยี นทไี่ ดเ้ กรด 3 ขึน้ ไป วชิ า ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 รอ้ ยละ ภาษาไทย 9 9 7 10 7 10 63% คณติ ศาสตร์ 10 6 6 10 6 9 57% วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8 10 12 10 8 9 70% สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 8 10 12 8 8 9 67% ประวัติศาสตร์ 10 10 12 6 9 10 70% สุขศกึ ษาและพลศึกษา 13 11 14 12 9 14 89% ศลิ ปะ 12 10 12 11 9 12 80% การงานอาชีพ 12 10 11 11 7 14 79% ภาษาตา่ งประเทศ 7 7 5 8 8 9 54% ภาษาอังกฤษเพื่อการสอื่ สาร 8 7 5 6 8 9 52% หนา้ ท่ีพลเมอื ง 10 10 15 11 8 14 83% โรงเรียนบา้ นตะกุดภิบาล 61
ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นออกของผเู้ รียน (RT) ปีการศึกษา ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔ ที่ สมรรถนะ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง 1 การอา่ นออกเสยี ง 90.90 10.00 90.90 0.00 9.09 61.53 23.07 15.38 2 การอา่ นร้เู รอ่ื ง 70.00 30.00 90.90 9.09 69.23 23.07 รวม 2 สมรรถนะ 90.90 40.00 90.90 0.00 9.09 61.53 30.76 รอ้ ยละของจานวนนกั เรยี น ปีการศึกษา 2562 -2564 จาแนกตามระดบั คุณภาพ 100.00 ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง 80.00 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 60.00 40.00 20.00 0.00 การอา่ นออกเสียง การอ่านรู้เร่อื ง รวม 2 สมรรถนะ ๒. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์อยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ การแกป้ ัญหา ความสามารถ ปี กศ. 2563 ปี กศ. 2564 รอ้ ยละผลตา่ ง ดา้ นคณติ ศาสตร์ 3.82 ด้านภาษาไทย 75.63 79.45 3.09 รวมท้งั 2 ด้าน 76.72 79.81 3.45 76.18 79.63 โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล มีการดำเนินการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้านการอ่าน การเขียน ตามโครงการอา่ น ออกเขยี นได้ สอดคล้องกับนโยบายการศกึ ษาของโรงเรียนและตน้ สังกดั จะเห็นได้วา่ มีพัฒนา การทางการอา่ นและการเขียนทส่ี งู ข้นึ ๓. ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ผู้เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ด้วยตนเอง โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ส่งเสริม ให้ผู้เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ทั้งด้วยตนเองและการทำงานเป็นทีม เชื่อมโยงความรู้ และประสบการณม์ าใช้ในการสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆ นำมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จัดกิจกรรม การสง่ เสริมความสามารถนกั เรยี น รวมถึงส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนท่มี ีความสามารถในดา้ นต่างๆ ๔. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ส่งเสริมให้ผู้เรียน โรงเรียนบ้านตะกุดภบิ าล 62
มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ มีคณุ ธรรม โดยได้จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีนักเรียน ใช้สื่อ อุปกรณ์เทคโนโลยี รวมถึงเอื้ออำนวยความสะดวกด้านสื่อ อุปกรณ์ อาคารสถานที่แหล่งเรียนรู้ เช่น หอ้ งหอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ ห้องเรยี น และการจดั การเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรค โควิด (Covid-๑๙) ที่นักเรียนจะได้ เรียนรู้การใช้สื่อและเทคโนโลยีในการสื่อสาร เช่น จัดการเรียนการสอน ออนไลน์ ๕. มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา เปรียบเทยี บผลการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ (NT) ระดับชน้ั ประถมศึกษา ปที ี่ ๓ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ ความสามารถ ปี กศ. 2563 ปี กศ. 2564 รอ้ ยละผลตา่ ง ด้านคณติ ศาสตร์ 75.63 79.45 3.82 ดา้ นภาษาไทย 76.72 79.81 3.09 รวมทั้ง 2 ดา้ น 76.18 79.63 3.45 แผนภมู แิ สดงเปรียบเทียบภาพรวมผลการประเมนิ การทดสอบ ความสามารถพ้ืนฐาน ผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) รวมทง้ั 2 ดา้ น 3.45 76.7198.63 ดา้ นภาษาไทย 3.09 76.7792.81 ดา้ นคณติ ศาสตร์ 3.82 75.7693.45 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 รอ้ ยละผลต่าง ปี กศ. 2564 ปี กศ. 2563 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พื้นฐาน(O-NET)ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒- ๒๕๖๔ รายวชิ า ปี กศ. ปี กศ. ผลตา่ ง ปี กศ. 2564 ผลต่าง 2563- 2562 2563 2562- 2564 2563 ภาษาไทย 48.53 65.00 16.47 61.75 -3.25 ภาษาอังกฤษ 32.19 59.17 26.98 45.31 -13.86 คณติ ศาสตร์ 36.88 28.33 -8.55 46.28 17.95 วิทยาศาสตร์ 36.34 40.72 4.38 48.75 8.03 รวมเฉล่ีย 38.49 48.31 9.82 50.52 2.22 โรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภิบาล 63
เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563-2564 ระดับประถมศึกษาปที ่ี 6 70.00 60.00 65.00 59.17 46.28 48.75 50.00 61.75 45.31 36.88 40.00 40.72 30.00 48.53 32.19 28.33 36.34 20.00 10.00 0.00 ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ปี กศ. 2562 ปี กศ. 2563 ปี กศ. 2564 ๖. มคี วามรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ งานอาชีพ โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน ในการจัดการ เจตคติที่ดีต่ออาชีพ ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการเจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อ ในระดับ ชั้นที่สูงขึ้น การทำงานหรืองานอาชีพ โดยการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร โครงการต่างๆ เช่น โรงเรียนบ้าน ตะกุดภบิ าล จดั กจิ กรรมการสอนฝึกทกั ษะอาชีพในรายวิชาชุมนุม การจดั กิจกรรมการแนะแนวศึกษาต่อ เปน็ ต้น ๔.๑.๒ คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผู้เรียน ๑) มีคณุ ลักษณะและคา่ นยิ มท่ีดตี ามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา มีค่านิยมและจิตสำนึกตามท่ี สถานศกึ ษากำหนดโดยไมข่ ัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดขี องสังคม ผลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ จำนวน จำนวนนกั เรียนตามระดับคณุ ภาพ จำนวน ร้อยละของ ระดบั ชน้ั นกั เรียน (คุณลกั ษณะอันพึงประสงค)์ นักเรียนระดับ นักเรยี นระดับ ท้งั หมด ดเี ย่ียม ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน ดขี ึน้ ไป ดีขึ้นไป ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 13 7 6 - - 13 100 ประถมศึกษาปีที่ 2 11 11 - - - 11 100 ประถมศึกษาปีท่ี 3 16 12 4 - - 16 100 ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 14 10 4 - - 14 100 ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 11 6 3 2 - 9 81.81 โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล 64
ระดับชัน้ จำนวน จำนวนนกั เรียนตามระดบั คณุ ภาพ จำนวน รอ้ ยละของ นักเรยี น (คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์) นกั เรยี นระดบั นักเรยี นระดับ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ทั้งหมด รวม ดเี ยี่ยม ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน ดีขึ้นไป ดีข้นึ ไป 17 11 5 1 - เฉล่ยี ร้อยละ 16 94.11 82 57 22 3 0 100 70% 26% 4% 0% 79 96.34 96.34% ๒) มีความภูมใิ จในท้องถิ่นและความเปน็ ไทย โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มสี ่วนร่วมในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมอนั ดขี องสงั คม โดยมกี ารจัดกิจกรรม โครงการตา่ งๆ เช่น โครงการวันสำคญั กจิ กรรม วนั ไหวค้ รู กิจกรรมวันภาษาไทย รวมถงึ กจิ กรรมประเพณีในชมุ ชน เชน่ การแหเ่ ทียนจำนำพรรษาไป ถวายวดั เนือ่ งในวนั เข้าพรรษา เป็นต้น ๓) ยอมรบั ทจ่ี ะอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย ผเู้ รียนยอมรบั และอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลในดา้ น เพศวยั เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา วฒั นธรรม ประเพณี ๔) มีสขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม ผู้เรียนมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม และแสดงออกอย่างเหมาะสม ในแตล่ ะชว่ งวัยสามารถอย่รู ว่ มกับคนอนื่ อย่างมคี วามสขุ เขา้ ใจผ้อู ื่นไม่มคี วามขดั แย้งกับผ้อู ื่น ๔.๒ ระบบประกันคุณภาพภายในมีประสิทธิผล ก่อให้เกิดการพัฒนาด้านกระบวนการบริหาร และการจัดการอยา่ งเป็นรปู ธรรม ในระยะ ๓ ปี ท่สี ะท้อนการพัฒนาสงู ขนึ้ อยา่ งต่อเนื่อง ๔.๒.๑ มเี ปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธะกจิ ทส่ี ถานศึกษากำหนดชดั เจน การจัดการศึกษาถือเปน็ ภารกิจหลักของสถานศกึ ษาที่ต้องบริหารจดั การและพัฒนาคุณภาพคณุ ภาพ ผู้เรียนให้ได้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยโรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ได้นำผลการวิเคราะห์ SWAT ของสถานศึกษา นโยบายและจุดเน้นของหน่วยงานต้นสังกัด จังหวัด และองค์กรปกครองท้องถิ่น ที่มา จากการมีส่วนร่วมคิด ร่วมวางแผน และร่วมทำของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมากำหนดกรอบทิศทางการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษาโดยมงุ่ เน้นที่คุณภาพผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ดังนี้ วสิ ยั ทศั น์ ภายในปี 2566 โรงเรียนบ้านตะกดุ ภิบาลจัดการศกึ ษาให้ไดม้ าตรฐานการศกึ ษา นักเรียนมีความรู้ คู่คณุ ธรรม น้อมนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เคยี งคคู่ วามเป็นไทย มีทักษะการเรียนรูส้ ่ศู ตวรรษท่ี 21 อยรู่ ว่ มกบั ผ้อู น่ื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข เนน้ การมสี ่วนรว่ มทุกภาคสว่ น” พนั ธกิจ ๑. ส่งเสริมและพัฒนานกั เรยี นใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษา มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ทีส่ งู ขน้ึ และมีทักษะการเรียนรทู้ ีส่ ำคัญในศตวรรษที่ ๒๑ ๒. ปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา คุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง เป็นพลเมืองที่ดี รักความเป็นไทย มีสุขภาวะที่ดี อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและมีวิถีชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. พฒั นาหลกั สตู ร กระบวนการจัดการเรยี นรู้ และการวดั ผลประเมนิ ผลที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล 65
๔. พัฒนาครเู ป็นครูยุคใหม่ทีม่ ีขีดความสามารถในการจดั การเรยี นรู้รองรบั การเปล่ียนแปลงเป็นครู มอื อาชพี และสามารถปฏิบตั ิงานได้ตามมาตรฐานวชิ าชีพส่ศู ตวรรษที่ ๒๑ ๕. พัฒนาสถานศึกษาใหม้ รี ะบบการบรหิ ารจัดการที่ดีตามหลกั ธรรมาภิบาล เป็นทยี่ อมรบั ของชุมชน สังคม และสง่ เสริมใหท้ ุกภาคส่วนเขา้ มามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เปา้ หมาย ๑. นกั เรียนมคี วามรู้และทกั ษะท่ีจำเปน็ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ท่สี ูงขนึ้ และมีทักษะการเรียนรู้ทสี่ ำคัญในศตวรรษที่ ๒๑ ๒. นกั เรยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จติ อาสา คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ มีทัศนคตทิ ี่ถกู ต้องต่อบ้านเมือง เป็นพลเมืองที่ดี รักความเป็นไทย มีสุขภาวะที่ดี อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและมีวิถีชีวิตตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๓. สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศกึ ษา หลักสูตรทอ้ งถ่ิน กระบวนการจัดการเรียนรู้ และการวัดผล ประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และเน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ ๔. ครูเป็นครยู ุคใหมท่ ม่ี ขี ีดความสามารถในการจัดการเรยี นรรู้ องรบั การเปลยี่ นแปลงเป็นครมู ืออาชพี พัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ่ งและสามารถปฏิบตั งิ านไดต้ ามมาตรฐานวชิ าชีพสศู่ ตวรรษที่ ๒๑ 5. สถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการทีด่ ีตามหลักธรรมาภิบาล เป็นที่ยอมรับของชุมชน สังคม และชุมชน ผปู้ กครอง ภาคีเครอื ข่ายทงั้ ภาครฐั และเอกชนมสี ว่ นร่วมในการส่งเสรมิ สนับสนุนการจัดการศกึ ษา ๔.๒.๒ มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบทั้งในส่วน การวางแผน พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนำแผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและปรบั ปรงุ พฒั นางานอย่างตอ่ เนื่อง มกี ารบรหิ ารอตั รากำลงั ทรพั ยากรทางการศกึ ษา และระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีระบบการนิเทศภายใน การนำข้อมูลมาใช้ใน การพัฒนาบุคลากร และผู้ท่ีเก่ียวขอ้ งทุกฝ่ายมสี ่วนรว่ มการวางแผน ปรบั ปรุง พฒั นาและรว่ มรบั ผดิ ชอบ ต่อผลการจัดการศกึ ษา การดำเนินการ ๑. ประชมุ คณะครูวางแผนการบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ๒. คณะครวู างแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา ๓. คณะครนู ำแผนไปปฏิบตั เิ พื่อพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา มกี ารตดิ ตามตรวจสอบ ประเมินผล และพัฒนาอย่างต่อเน่ือง มีการบริหารอัตรา กำลัง ทรัพยากรการศกึ ษา และระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน มีระบบการนิเทศภายใน ๔. คุณครูมีการนำแผนไปปฏิบัติ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไปตรวจสอบปรับปรุงแก้ไขให้ดี มคี ณุ ภาพมากข้ึน ๕.ประชุมประชาสมั พันธข์ า่ วสาร การนำแผนการบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษาให้ผู้ปกครอง ได้รู้เพอื่ หาแนวทางพัฒนาสถานศึกษารว่ มกัน โรงเรียนบ้านตะกดุ ภิบาล 66
๔.๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลมุ่ เปา้ หมาย สถานศกึ ษาบริหารจัดการเกี่ยวกบั งานวชิ าการ ทง้ั ด้านการพฒั นาหลักสูตร กิจกรรมเสรมิ หลักสตู รท่ี เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เชื่อมโยงวิถีชีวิตจริง และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายหมาย รวมถึง การจดั การเรียนการสอนของกลมุ่ ที่เรียนแบบควบรวมหรอื กล่มุ ที่เรยี นร่วมดว้ ย การดำเนนิ การ ๑. ประชุมคณะครูวางแผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการด้านการพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๒. คณะครูจัดทำแผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการด้านการพัฒนาหลักสูตร และกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ๓. คณะครูนำแผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการด้านการพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรม พฒั นาผู้เรยี นไปใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ ๔. คุณครูนำแผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการด้านการพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรม พฒั นาผู้เรียนไปตดิ ตามตรวจสอบปรับปรุงแก้ไขให้ดีมคี ุณภาพมากข้นึ ๕. ประชาสัมพนั ธเ์ ก่ียวกบั งานวิชาการดา้ นการพฒั นาหลักสตู ร กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นให้ผู้ปกครอง ไดร้ เู้ พือ่ หาแนวทางพัฒนาสถานศึกษาร่วมกัน การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้มีความเหมาะสม กับความต้องการ ของนักเรียน ผู้ปกครอง ชมุ ชน และบรบิ ทของสถานศึกษา โดยมีการดำเนนิ การศกึ ษาวเิ คราะห์ความต้องการ และผลกระทบของนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ครู ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ เพื่อกำหนดวิสัยทัศน์ และ เป้าหมายกับหลักสูตรของสถานศึกษาให้มีความสอดคล้อง เหมาะสมกับบริบทสถานที่ แหล่งเรียนรู้ และสภาพ ชมุ ชน ได้ทำการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา โดยยดึ หลักการพจิ ารณาดา้ นต่างๆ ดังตอ่ ไปนี้ ๑. การวิเคราะห์ความจำเป็นของสถานศกึ ษา มีการวิเคราะห์ความต้องการจำเปน็ ของ สถานศึกษา โดยระบุจุดเด่น และจุดที่ควรพฒั นาของสถานศึกษาเพื่อกำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย โครงสร้างของหลักสูตร ได้สอดคล้องและเหมาะสมกบั ความต้องการของชมุ ชน นักเรียน และ สถานศกึ ษา ๒. นำผลการวิเคราะห์สภาพปัญหามาปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาในการใช้หลักสูตร โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ได้ดำเนินการใช้ หลักสูตรดังกล่าว มุ่งพัฒนาผู้เรยี นให้มีสมรรถนะจำเป็นพื้นฐาน ๔ ประการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลอมรวมอยู่ในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของกลุ่มสาระ การเรียนรู้ตา่ งๆ ทง้ั ๘ กลมุ่ สาระ ๔.๒.๔ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรให้มคี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ ๑. สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจดั ใหม้ ชี มุ ชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ มาใชใ้ นการพัฒนางานและการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น การดำเนนิ การ ครโู รงเรียนบา้ นตะกดุ ภิบาล มคี วามเข้าใจ และมีสว่ นรว่ มในการจดั ทำหลักสตู รสถานศึกษาสามารถ เช่ือมโยงเป้าหมายการจัดการศกึ ษา และมาตรฐานการเรยี นร้ขู องหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กับหลักสูตร สถานศึกษาและสามารถนำมาใชใ้ นการส่งเสริม และพฒั นานักเรยี นเป็นรายบุคคลโดย ดำเนินการดงั นี้ ๑. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา มีการวิเคราะห์ วางแผน พัฒนา โรงเรยี นบา้ นตะกุดภบิ าล 67
หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ฯ ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของสถานศึกษา และมาตรฐาน การเรียนร้หู ลกั สตู รขั้นพนื้ ฐาน ๒. อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารใหค้ วามรู้ การจัดทำหลักสตู รสถานศึกษา นำผลการประเมินไป ใชป้ รับปรุง และพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน มีความยืดหยุ่นในการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ี่หลากหลาย เหมาะสมกับ บริบทและสภาพชุมชน ๓. มีการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้จากประสบการณ์การปฏิบัติได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างยั่งยืน เพ่ือพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้สู่ การพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี นตามเปา้ หมาย เพอ่ื เปน็ การปรับปรงุ แก้ปญั หาการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้และร่วมกัน พัฒนานวตั กรรมที่ใช้ในการแกป้ ญั หาเก่ียวกับการจัดการเรียนรูแ้ กน่ กั เรียนในแตล่ ะกจิ กรรมการเรียนรู้ ๔. ส่งเสริมให้ครูได้รับการพัฒนาครูและบุคลากรเป็นมืออาชีพ เข้าร่วมแสดงผลงาน ประกวดส่อื นวัตกรรม ๕. มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคลในการดำเนินงาน และส่งเสริม สนับสนนุ ในการแชง่ ขนั ทกั ษะตา่ ง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ผลการพัฒนา ครูร้อยละ ๑๐๐ ขึ้นไป เข้าใจและมีส่วนร่วมในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สามารถเชื่อมโยง เป้าหมายการจดั การศกึ ษาและมาตรฐานการเรยี นรูข้ องหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานกบั หลักสตู ร สถานศกึ ษา และสามารถนำไปใช้ในการส่งเสริมและพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคล ส่งเสริมให้ครูมีแผนการจัดการเรยี นรู้ ได้รับการนิเทศการจัดการเรยี นการสอนทุกกลมุ่ สาระการเรียนรดู้ งั ขอ้ มลู ตอ่ ไปน้ี ๑. ข้อมลู ครูทมี่ ีแผนการจัดการเรียนการสอน ตารางแสดงข้อมลู ทีม่ ีแผนการจัดการเรยี นการสอน ปกี ารศกึ ษา จำนวนครูทง้ั หมด จำนวนครูทีม่ ีแผน คิดเป็นร้อยละ (คน) การจัดการเรยี นการสอน (คน) ๒๕๖๒ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ ๒๕๖๓ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ ๒๕๖๔ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ เฉล่ยี ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ ๒. ขอ้ มลู ครูที่ได้รับการนิเทศการจัดการเรียนการสอน ตารางแสดงขอ้ มลู ครูทไ่ี ดร้ บั การนิเทศ การจดั การเรยี นการสอน ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา จำนวนครทู ง้ั หมด จำนวนครทู ี่ได้รบั การนเิ ทศ คดิ เป็นร้อยละ (คน) การจดั การเรยี นการสอน (คน) ๒๕๖๒ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ ๒๔๖๓ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ ๒๔๖๔ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ เฉล่ีย ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ โรงเรียนบา้ นตะกุดภบิ าล 68
๓. ขอ้ มลู ครูที่ได้รบั การนิเทศการจัดการเรียนการสอน ตารางแสดงขอ้ มลู ครทู ไ่ี ดร้ บั การนเิ ทศ การจัดการเรยี นการสอนภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา จำนวนครทู ้ังหมด จำนวนครูท่ีไดร้ บั การนิเทศ คดิ เป็นร้อยละ (คน) การจดั การเรยี นการสอน (คน) ๒๕๖๒ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ ๒๕๖๓ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ ๒๕๖๔ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ เฉลย่ี ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ ๒. ครูมที กั ษะและจัดการเรยี นการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นนกั เรยี นเปน็ สำคัญ การดำเนนิ งาน โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาลได้ส่งเสริม สนับสนุนและกำกับติดตามการจัดการเรียนการสอน ของครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การจัดการเรียนการสอน ของ ครทู กุ คนเปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ และเกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ตอ่ ผู้เรียนดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้ ๑. กำหนดให้ครู ศึกษาวิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคลโดยใช้ข้อมูลอย่างหลากหลาย และเปน็ จริง และนำผลการศึกษามาพฒั นานักเรยี น ๒. กำหนดให้จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดยเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ เน้นใหน้ ักเรียน ได้คดิ วิเคราะห์ และลงมอื ปฏิบัตจิ รงิ โดยใชแ้ หลง่ เรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย รวมทง้ั ส่งเสริมใหม้ กี ารบูรณาการ การเรยี นรู้กบั กล่มุ วชิ า อ่ืนๆ และหรอื ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ินตามสภาพแวดล้อม ๓. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูทุกคนใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาตนเองอย่างสมํ่าเสมอ และนำเทคโนโลยมี าช่วยสนับสนนุ การจัดการเรยี นการสอนและการพฒั นาการเรยี นรู้ของนักเรียน ๔. มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมและพฒั นานักเรียนเป็นรายบคุ คลในการดำเนินงานตามโครงการพฒั นา นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ และส่งเสริมสนับสนุนในการแข่งขันทั กษะต่างๆ ทั้งภายใน และภายนอกสถานศกึ ษา ๕. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ดำเนินโครงการและกิจกรรมต่างๆ เพื่อพัฒนานักเรียนอยา่ งสมํา่ เสมอ ผลการพฒั นา ครูร้อยละ ๑๐๐ ขึ้นไป มีการศึกษาวเิ คราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคลโดยใช้ขอ้ มูลอย่างหลากหลาย และเปน็ จริง เพื่อจำแนกผู้เรียนกลุ่มสูง กลุ่มกลาง และกลุ่มต่ำ ทุกภาคเรียน และนำผลการศึกษา มาพัฒนา นกั เรียน ดังแสดงในรายงานการประเมนิ ตนเองรายบคุ คล โรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภบิ าล 69
๔. ข้อมลู ครทู ส่ี ่งรายงานผลการประเมนิ ตนเองรายบคุ คล ตารางแลดงขอ้ มลครูทล่ี ง่ รายงานผลการประเมินตนเองรายบุคคล ปกี ารศึกษา จำนวนครูท้งั หมด จำนวนครูท่สี ง่ รายงานผลการ คิดเปน็ รอ้ ยละ (คน) ประเมินตนเองรายบคุ คล (คน) ๒๕๖๒ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ ๒๕๖๓ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ ๒๕๖๔ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ เฉล่ีย ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ ครูร้อยละ ๑๐๐ ขึ้นไป จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เน้นให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์และลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย มีการบูรณาการ การเรียนรู้กับกลุ่ม ๆ วิชาอื่น และภูมิปัญญาท้องถิ่น ดังแสดงในรายละเอียดผลการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการเรียนรตู้ ามหลกั สูตรสถานศึกษา ครรู อ้ ยละ ๑๐๐ ข้นึ ไป ใชเ้ ทคโนโลยีในการพัฒนาตนเองอย่างสมำ่ เสมอ เขา้ รว่ มกิจกรรม การอบรม ออนไลน์ตามนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และนำเทคโนโลยีมาช่วย สนับสนุน การจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน ดังรายละเอียดผลการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การเรยี นรหู้ ลักสตู รสถานศกึ ษา ครูร้อยละ ๑๐๐ ขึ้นไป มีการวัดผลประเมินผลที่สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้นักเรียน โดยองิ พฒั นาการของนกั เรียน และนำผลการประเมินมาพฒั นานักเรียนให้เกิดการพฒั นาสงู สุด ตามศักยภาพ ของนักเรียน ดังแสดงในรายละเอียดผลการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการ เรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา ๓. ครูมคี วามมงุ่ มนั่ ในการปฏบิ ตั งิ าน อทุ ศิ ตนในการพฒั นานกั เรยี น มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมตาม จรรยาบรรณวชิ าชพี และเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี การดำเนนิ งาน ครูโรงเรียนบา้ นตะกดุ ภบิ าล มีความตั้งใจ ทุ่มเทแรงกาย แรงใจในการปฏิบัติหน้าทีแ่ ละรับผิดชอบ กิจกรรมการเรียนการสอนพัฒนานักเรียน ป้องกันแก้ไขปัญหานักเรียนรายบุคคลเหมาะสมตามศักยภาพ เพอ่ื ใหน้ ักเรียนเกดิ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น มีคณุ ลกั ษณะตามนโยบายทางการศึกษา ครูปฏิบัติตน มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นแบบอย่างที่ดี ยึดมั่นปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู มีความสัมพันธ์ที่ดีกับนักเรียน ผ้ปู กครอง และชุมชน โดยดำเนนิ การดังน้ี ๑. ด้านความตั้งใจ ทุ่มเทแรงกาย แรงใจในการปฏิบัติหน้าที่และรับผิดชอบกิจกรรม การเรียน การสอนเพื่อพัฒนานักเรียนโดยครูโรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ได้มีการจัดทำการจัดการเรียนการสอน และมีการพัฒนาส่อื นวตั กรรม เพ่ือประกอบการจัดการเรยี นการเรียนรู้ใหม้ คี วามแปลกใหม่ กระตุ้นใหผ้ ู้เรียนมี ความสนใจการเรยี นมากข้ึน ๒. ด้านการป้องกันแก้ไขปัญหานักเรียนเป็นรายบุคคลให้เหมาะสมตามศักยภาพ เพื่อให้นักเรียน เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและมีคุณลักษณะตามนโยบายทางการศึกษา โดยครูได้มีการจัดทำระบบดูแล ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น กจิ กรรมการเยีย่ มบ้านนกั เรยี น เพือ่ แก้ไขปญั หานักเรยี นเปน็ รายบคุ คล โรงเรยี นบ้านตะกดุ ภิบาล 70
๓. ด้านการปฏิบัติตน มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นแบบอยา่ งที่ดี ยึดมั่นปฏิบตั ิตนตาม จรรยาบรรณ วิชาชพี ครู ครโู รงเรยี นบ้านตะกุดภบิ าล ไม่เคยถกู ลงโทษทางวนิ ยั และยังมีการส่งเสรมิ การเปน็ แบบอยา่ งที่ดี ๔. ด้านการมีความสัมพันธ์ที่ดีกับนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ประชุมผู้ปกครอง เยี่ยมบ้าน นักเรียน ซึ่งทางโรงเรียนบ้านตะกุดภิบาลได้มีการจัดกิจกรรมการประชุมผู้ปกครองและการเยี่ยม บ้าน ในระหวา่ งภาคเรียนเพือ่ เปน็ การแลกเปล่ียนข้อมลู ปญั หา ความคดิ เห็น ระหวา่ งครูกับผปู้ กครอง ผลการพฒั นา ครรู ้อยละ ๑๐๐ ขน้ึ ไปมคี วามต้ังใจ ทมุ่ เทแรงกาย แรงใจในการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่และรับผิดชอบกจิ กรรม การเรียนการสอนเพอื่ พฒั นานกั เรยี น ดังข้อมลู ต่อไปน้ี ครูร้อยละ ๑๐๐ ขึ้นไป มีการจัดอบรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและแก้ไขปัญหานักเรียน เป็นรายบุคคลให้เหมาะสมตามศักยภาพ เพื่อให้นักเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และมีคุณลักษณะ ตาม นโยบายทางการศึกษา ครูร้อยละ ๑๐๐ ขึ้นไป มีความสัมพันธ์ที่ดีกับนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมขน ประชุมผู้ปกครอง เยย่ี มบา้ นนักเรียน ดังนี้ ๕. ขอ้ มลู การส่งบันทกึ การเยย่ี มบ้านนกั เรียนปี ๒๕๖๒- ๒๕๖๔ ตารางแลดงข้อมลู การล่งบนั ทกึ การเยี่ยมบ้านนกั เรียน ปี ๒๕๖๒- ๒๕๖๔ ปีการศกึ ษา จำนวนนกั เรยี น จำนวนนกั เรียนทคี่ รอู อกเย่ยี ม คิดเปน็ รอ้ ยละ ทงั้ หมด (คน) บ้าน (คน) ๒๕๖๒ ๙๖ ๙๖ ๑๐๐ ๒๕๖๓ ๑๑๓ ๑๑๓ ๑๐๐ ๒๕๖๔ ๑๒๓ ๑๒๓ ๑๐๐ เฉล่ยี ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๔.๒.๕ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรู้ สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อม ทางสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย อาคารสถานท่ีของโรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล เกี่ยวกับการใหบ้ ริการดา้ น อาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ สิ่งอำนวยความ สะดวกประจำอาคาร การใหบ้ ริการ ดา้ นสาธารณปู โภคและสงิ่ แวดลอ้ ม ตลอดจนสามารถพัฒนา ส่งิ แวดลอ้ มใหส้ วยงาม สามารถให้บรกิ ารแกค่ ณะ ครู นกั เรยี น บคุ ลากร ทางการศึกษา และผู้ท่มี าตดิ ต่อราชการกับโรงเรียน ดงั น้ี ๑. อาคารสถานท่ีทุกแหง่ มคี วามสะอาดปลอดภยั ถกู สขุ ลกั ษณะ มั่นคงแข็งแรง เหมาะสมแก่การทำ กิจกรรมการบริหารงานอาคารสถานที่จัดดำเนนิ การให้อาคารเรียน อาคารประกอบ และสถานท่ี มหี ้องเรียน ห้องสขุ า โรงอาหารสะอาดถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย อาคารมคี วามม่นั คงแข็งแรง จดั สถานที่ให้ นกั เรียนได้ทำ กจิ กรรมเหมาะสม ทง้ั เป็นรายบคุ คล รายกล่มุ อปุ กรณแ์ ละสงิ่ อำนวยความสะดวกประจำอาคาร ประกอบด้วย โต๊ะ เก้าอี้ ป้ายนิเทศ อุปกรณ์ไฟฟ้าครบถ้วนปลอดภัย สวนหย่อม ที่สามารถ ให้นักเรียนชื่นชม พักผ่อน จัดกิจกรรมต่าง ๆ อยู่ในสภาพดี ปลอดภัย มีการซ่อมบำรุงและดูแล รักษาอย่าง เหมาะสม ทันต่อเหตุการณ์ มีระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปา อยู่ในสภาพใช้การได้ดี ปลอดภัย มีระบบ การป้องกันอันตรายทเ่ี ตรยี มพรอ้ ม ใช้งานไดต้ ลอดเวลา โดยมกี ารมอบหมายหน้าท่ี การดแู ลรกั ษาความสะอาด อาคารเรียน สวนหย่อมประจำอาคารเรยี น โดยคำนึงถึงความสะอาดเป็น ระเบยี บ ถกู สขุ ลกั ษณะและปลอดภยั ๒. อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวกประจำอาคารมีปริมาณเพียงพอ รอบบริเวณ อยู่ในสภาพดี โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล 71
สะอาด และปลอดภัยการจัดการด้านอุปกรณแ์ ละส่ิงอำนวยความสะดวกประจำอาคารเรยี น มีปริมาณเพยี งพอ อยูใ่ นสภาพดี สะอาดและปลอดภัย เพียงพอกับจำนวนนักเรยี น นอกจากนีโ้ รงเรยี น ยังได้มอบหมายการดูแล รักษาความสะอาด การกำจัดขยะมูลฝอย ตลอดจนการแยกขยะอย่างถูกวิธี ปลูกฝัง และสร้างจิตสำนึก ใหท้ ุกคนมีสว่ นร่วมในการรักษาความสะอาด การจัดระบบซ่อมบำรุงและดูแลรักษาอยา่ งเหมาะสม ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ โรงเรียนมีระบบการซ่อมบำรุงอาคารสถานที่โรงเรียน และวัสดุอุปกรณ์อำนวยความสะดวก ในห้องเรียนและอาคารเรียน โดยครูผู้รับผิดชอบอาคารจะรายงานขอซ่อม ปรับปรุง อาคารสถานทีใ่ ห้อยูใ่ น สภาพปกติ จากการดำเนินการจัดระบบการซ่อมบำรงุ และดูแลรักษาอย่างเหมาะสม ทันต่อเหตกุ ารณ์ ทำให้ โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น และวัสดุอุปกรณ์ใช้งานได้อย่างสะดวกรวดเร็วทันต่อการใช้บริการของ นักเรียนและครดู งั รายละเอยี ด ระบบสาธารณปู โภคอยู่ในสภาพใช้การไดด้ ี ปลอดภยั และมรี ะบบปอ้ งกนั อนั ตราย การบรกิ ารด้านสาธารณูปโภคอยใู่ นสภาพใชก้ ารได้ดี ปลอดภัยและมรี ะบบป้องกนั อนั ตราย โรงเรยี น บริการน้ําดืม่ ที่สะอาด งานอนามัยโรงเรียนรว่ มกับนักเรียนแกนนำ คุ้มครองผูบ้ ริโภคและ อย.น้อย ตรวจสง่ิ ปนเปื้อนในนํ้าดื่ม ทำให้นักเรียนมีนํ้าดื่มสะอาดและมีปริมาณ เพียงพอ ผ่ านการตรวจสอบว่า มคี วามปลอดภัย มกี ารตรวจซ่อม ระบบไฟฟ้าอย่างสมาํ่ เสมอ ๔.๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการจดั การ เรียนรู้ สถานศึกษาจัดระบบการจัดหา การพัฒนาและการบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ ในการบริหารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ทเี่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา การดำเนินการ โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล สนับสนุนให้ครู นักเรียน ได้ใช้ทรัพยากรสารสนเทศและเทคโนโลยี สารสนเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยจัดการ และให้มีความปลอดภัยในการใช้งานง่าย และเชื่อถือได้ ของอปุ กรณ์แสดงวธิ กี ารท ๔.๓ ระบบการประกันคุณภาพภายในมีประสิทธิผล ก่อให้เกิดคุณภาพด้านกระบวน การจัดการ เรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ อย่างเป็นรูปธรรมและมีพัฒนาการสูงขึ้นต่อเนื่องอย่าง น้อย ๓ ปี ระหวา่ งปกี ารศึกษา ๒๔๖๑ - ๒๔๖๔ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคญั ๔.๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในการดำเนินชวี ิต จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง มีแผนการจดั การเรียนรู้ทีส่ ามารถนำไปปฏิบัติได้จริง มีรูปแบบ การจดั การเรียนรู้เฉพาะสำหรบั ผู้ท่มี ีความจำเปน็ และต้องการความช่วยเหลือพเิ ศษ ผูเ้ รยี นไดร้ ับ การฝึกทักษะ แสดงออก แสดงความคิดเห็น สรปุ องค์ความรนู้ ำเสนอผลงานและนำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตได้ การดำเนนิ การ โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาลจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดของหลักสูตร สถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จรงิ มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้เฉพาะสำหรับผู้ที่มีความจำเป็น และต้องการ ความชว่ ยเหลือพิเศษ ผเู้ รียนได้รบั การฝกึ ทกั ษะ แสดงออกแสดงความคดิ เหน็ สรปุ องคค์ วามรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ได้ ดังนี้ โรงเรยี นบา้ นตะกุดภบิ าล 72
1. ครูผู้สอนมีการจัดการเรียนรู้ เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มแี ผนการจัดการเรียนรูบ้ ูรณาการระหวา่ งกลมุ่ สาระวชิ าตา่ ง ๆ ที่สามารถนำไปจัดกจิ กรรมได้ ผู้เรยี น สามารถ คิดวเิ คราะหแ์ ละลงมอื ปฏบิ ัติโดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นเข้ารว่ มมบี ทบาท ในการเรยี นได้อย่าง มีประสทิ ธภิ าพ ๔.๓.๒ การใชส้ ่ือเทคโนโลยสี าระสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอ้อื ตอ่ การเรียนรู้ มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัด การเรียนรู้โดยสร้างโอกาสใหผ้ เู้ รียนได้แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองจากสือ่ ท่ีหลากหลาย โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาลได้เห็นความสำคัญและคำนึงถึงการเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับวัย ของ ผูเ้ รียนและธรรมชาตวิ ชิ าทส่ี อน ท้งั น้ีครผู ู้สอนต้องจดั ทำสือ่ เพ่ือจดั การเรียนการสอนรวมท้ังใช้เทคโนโลยี และมแี หล่งเรยี นรแู้ บบบูรณาการใหผ้ ูเ้ รียนตัง้ แตช่ ัน้ อนุบาลถงึ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ โดยมีการดำเนนิ การ ดังนี้ 1. ส่งเสริมครูผ้สู อนในการวางแผนจดั หาและผลติ สื่อและเทคโนโลยีเพอ่ื การเรียนรู้ ๒. การใช้และพฒั นาส่อื ในการจัดการเรียนการสอนในระดบั ช้นั ต่างๆ ๓. ระบบการใหบ้ รกิ าร บำรุงรกั ษาสอื่ และเทคโนโลยีเพอื่ ใหพ้ รอ้ มตอ่ การใช้งาน ๔. มีแหลง่ สืบค้นข้อมลู มแี หลง่ เรียนรูท้ เ่ี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ ทีส่ ร้างโอกาสให้ผเู้ รียนแสวงหาความรู้ดว้ ย ตนเอง ๔.๓.๓. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยเน้น การมปี ฏิสัมพันธเ์ ซงิ บวก ให้เด็กรกั ครู ครูรกั เดก็ และเดก็ รกั เด็ก เดก็ รักที่,จะเรยี นรู้ สามารถเรียนรู้ ร่วมกัน อย่างมคี วามสขุ การดำเนินการ ครูมีการบรหิ ารจดั การช้นั เรียน โดยเนน้ การมีปฏสิ ัมพนั ธเ์ ชิงบวกใหเ้ ด็กรักครู ครรู กั เด็ก และเด็กรัก เด็ก เด็กรักท่จี ะเรยี นรู้ สามารถเรียนร้รู ่วมกนั อยา่ งมีความสขุ ๑. ครูท่มี กี ารวเิ คราะห์นกั เรียนเปน็ รายบุคคล ครูร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล มีการศึกษาวิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล มีการติดตามและพัฒนาศักยภาพนักเรียนได้ครบถ้วนทุกคนและสม่ำเสมอ โดยในจัดการเรียนการสอน ได้ คำนึงถงึ ความแตกต่างของนักเรยี นแตล่ ะบคุ คล ๒. มีการติดตามและพัฒนาศักยภาพนักเรียนได้ครบถ้วนทุกคนและสม่ำเสมอ จัดกิจกรรมพฒั นา ผู้เรียน ใหค้ วามดูแล ชว่ ยเหลอื ตดิ ตามและพัฒนาศักยภาพนกั เรียนพัฒนาศกั ยภาพนกั เรยี นอยา่ งต่อเนื่อง ๔.๓.๔. ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผูเ้ รยี น มกี ารตรวจสอบและประเมินผลคุณภาพการจดั การเรยี นร้อู ยา่ งเปน็ ระบบ มขี ั้นตอนโดยใช้เคร่ืองมือ และวิธีการประเมินผลที่เหมาะสมกับเหมายการจัดการเรียนรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรยี น เพื่อนำไปใช้ พัฒนาการเรยี นรู้ การดำเนนิ งาน โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล มีการใช้เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ และหลากหลาย มีการกำหนดเกณฑ์การตัดสินผลการเรียนในระดับประถมศึกษาเป็นรายปีตามกลุ่มสาระ การเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ยกระดับคุณภาพนักเรียนมีการรายงานผลการเรียนต่อนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนอย่างมีประสทิ ธิภาพ รวมทั้งนำผลการเรยี นไปพัฒนานักเรียน พัฒนาการสอน ตลอดจน พัฒนาหลักสตู ร โรงเรยี นบา้ นตะกุดภิบาล 73
ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียนจะได้รับการพัฒนาและประเมินผลตามตัวชี้วัด เพื่อให้บรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ นักเรยี น ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อใช้เป็นข้อมูลและสารสนเทศท่ี แสดงพัฒนา การความก้าวหน้าและความสำเร็จทางการเรียนและการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ใน ระดับชั้นเรียน และระดับโรงเรยี น ขน้ั ตอนการปฏิบัติของครูผ้สู อนแตล่ ะกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๑. ศึกษา วิเคราะห์หลักสูตรและตัวชี้วัดจากหลักสูตรสถานศึกษาชั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัดที่ควรรู้ และ ตัวชี้วัดที่ต้องรู้ กำหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับคะแนนปลายภาคเรียนของแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้ โดยคำนึงถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน คิด วิเคราะห์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รวมทั้ง สมรรถนะต่างๆ ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวนักเรียน เพื่อนำไปบูรณาการสอดแทรกในระหว่างการจัด กจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยคำนงึ ถงึ ธรรมชาติรายวิชา จดุ เน้นของโรงเรยี น ๒. จัดทำโครงสรา้ งรายวิชาและแผนการประเมินผลรายวชิ า ๒.๑ วเิ คราะหต์ ัวช้ีวดั ในแต่ละมาตรฐานการเรียนรแู้ ล้วจดั กลุ่มตัวชี้วัดทคี่ วรรู้ ตวั ชว้ี ดั ทตี่ ้องรู้ ๒.๒ ครูผสู้ อนได้กำหนดกิจกรรมการเรยี นรู้เพอื่ พัฒนานกั เรยี นและประเมินให้ครอบคลุมทุกตัวช้ีวัด ตามทีโ่ รงเรียนกำหนด ๒.๓ กำหนดหน่วยการเรียนรู้โดยเลือกมาตรฐาน ตัวชี้วัดที่สอดคล้องสัมพันธ์กัน กำหนด สัดส่วน เวลาเรียนในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ตามโครงสร้างรายวิชา คำนึงถึงความสำคัญของมาตรฐานการเรียนรู้/ ตวั ชี้วัด ๒.๔ กำหนดภาระงานหรือขึน้ งานหรือกิจกรรมที่เป็นหลกั ฐานแสดงออกซึ่งความรู้ ความสามารถ ทจี่ ะสะทอ้ นตัวช้วี ดั หรอื ผลการเรยี นรู้ ๓. ชี้แจงรายละเอียดของการวัดและประเมินผลโดยภาระงาน โดยเลือกวิธีการวดั และประเมินผล ดว้ ยวิธกี ารและเครอ่ื งมือทเ่ี หมาะสม ๔. ประเมนิ ผู้เรยี นกอ่ นเรียน ระหวา่ งเรียน และส้ินสดุ การเรียนการสอน ๔.๑ ประเมินวิเคราะห์ผู้เรียน เพื่อตรวจสอบความรู้ทักษะและความพร้อมด้านต่างๆ มีแนว ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี ๑. วิเคราะห์ความรู้และทกั ษะท่ีเปน็ พ้นื ฐานของเร่อื งท่จี ะเรียนรู้ ๒. เลอื กวธิ ีการและเครอ่ื งมอื สำหรบั การประเมนิ อยา่ งเหมาะสม ๓. ดำเนนิ การประเมินความรพู้ ืน้ ฐานของนกั เรียน ๔. นำผลการประเมินไปพัฒนานักเรียนให้มีความพร้อมที่จะเรียน เช่น การจัดการ เรียนรู้ พื้นฐาน สำหรับผู้ท่ีต้องการความช่วยเหลือและเตรียมแผนการจัดการ เรียนรู้เพื่อสนับสนุนนักเรียน ทีม่ คี วามสามารถพิเศษ ๔.๒ การประเมนิ ความกา้ วหนา้ ระหวา่ งเรยี นเป็นการมุ่งตรวจสอบพฒั นาการของ นักเรียนให้บรรลุ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ตามหน่วยที่ครูได้วางแผนไว้เพื่อนำข้อมูลไปพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขส่วน ท่บี กพร่อง ซงึ่ สามารถเลอื กใชว้ ธิ ีการวัดและประเมินผลไดห้ ลากหลายดังนี้ ๑. เลอื กวิธแี ละเคร่ืองมอื การประเมินใหส้ อดคลอ้ งกบั ตัวชว้ี ดั ๒. สรา้ งเคร่ืองมอื วัดผลและประเมนิ ผลให้สอดคลอ้ งกับวิธกี ารประเมนิ ที่กำหนด ๓. ดำเนนิ การวดั และประเมนิ ผลควบคู่ไปกับการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ๔. นำผลไปพัฒนานกั เรียน โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล 74
๔.๓ การประเมินความสำเร็จหลงั เรียน เป็นการประเมนิ เพื่อมุ่งตรวจสอบความสำเรจ็ ของนกั เรียน มี ๒ ลกั ษณะ คือ ๑. การประเมินเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้เพ่ือตรวจสอบผลการเรียนของนักเรียน ตามตัวชี้วัด หรือผลการพัฒนา นำไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้บรรลุ ตามตัวช้ีวัดหรือผลการเรยี นรู้ ๒. การประเมินผลปลายภาคเรียน เป็นการประเมินเพื่อตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ในการเรียนรูต้ ามตัวชี้วัดหรอื ผลการเรียนรู้ ใช้เป็นข้อมูลสำหรับปรับปรุงแก้ใข ซ่อมเสริม นักเรียนที่ไมผ่ า่ น การประเมิน โดยใช้วิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย และให้สอดคล้องกับตัวขี้วัด สำหรับกิจกรรมพัฒนา ผู้เรยี น เปน็ กจิ กรรมท่โี รงเรยี นจดั ข้ึนทุกระดับชั้น โดยครูผสู้ อนทไ่ี ดร้ ับผดิ ชอบได้ ดำเนินการจัดกจิ กรรมพฒั นา ผเู้ รยี นอยา่ งมีเป้าหมาย ซึง่ นักเรียนจะต้องผา่ นเกณฑ์การจบแต่ละระดบั การศึกษา ตามระเบียบวา่ ด้วยการวัด และประเมนิ ผลการเรยี นของสถานศกึ ษา ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาชัน้ พน้ื ฐาน ๔.๓.๕ มีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้และใหข้ ้อมูลปอ้ นกลบั เพอื่ ปรับปรุงและพฒั นาการจัดการเรียนรู้ ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ รวมทั้งให้ข้อมูลป้อนกลับ เพอ่ื นำไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนรงู้ านพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษากลุ่มบริหาร วชิ าการโรงเรยี นบ้านตะกดุ ภบิ าล สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๓ การดำเนนิ การ โรงเรียนบ้านบ้านตะกุดภิบาลได้ใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพอย่างสร้างสรรค์ มาแก้ปัญหา การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนคล้ายกนั โดยได้รวมกลมุ่ กันวิเคราะห์ปญั หา สาเหตุ และรว่ มกันหาทางออก ได้ อย่างเหมาะสม และนำข้อมูลที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันมาพัฒนาการเรียนการสอนได้ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ องค์ประกอบท่ี 5 การเกดิ วัฒนธรรมคณุ ภาพทีส่ ะท้อนการพัฒนาที่ยัง่ ยืน คำอธิบาย : ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั ในคุณค่าของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาแสดงภาวะผู้นำและเปิด โอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมขับเคลื่อนคุณภาพสถานศึกษาโดยจัดโครงสร้าง กำหนดบทบาทหน้าท่ี ผู้รับผิดชอบ จัดทำคู่มือและแนวปฏิบัติตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่พร้อมรับ การเปลี่ยนแปลงและความเสี่ยงทีเ่ กดิ ข้ึนในอนาคต สร้างเครอื ข่ายร่วมพัฒนาคุณภาพการศึกษา พฒั นาระบบ สารสนเทศเพื่อให้มีสารสนเทศที่ถูกต้อง ครบถ้วน ครอบคลุม เป็นปัจจุบัน และเพียงพอต่อการตัดสินใจ ส่งเสริมให้ครูพัฒนาบทเรียนร่วมกันผ่านกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC) และสรา้ งนวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายและสถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลง ส่งเสรมิ การประกนั คุณภาพทงั้ ระดับห้องเรียนและระดบั สถานศึกษา เพื่อสะท้อนการเกิดวัฒนธรรม คุณภาพ อย่างต่อเนื่อง ทั้งในส่วนของคณะครูและองค์กรในภาพรวม โดยได้รับความร่วมมือในการบริหาร จัดการ คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาจาก ผู้ทีเ่ ก่ียวข้องทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษาในการ ส่งเสรมิ สนับสนนุ ช่วยเหลืออยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ๕.๑ ผู้บริหารสถานศึกษามีภาวะผู้นำทางวิชาการ สร้างทีมงานคุณภาพ สามารถบริหารจัดการ กระตุ้น หนุนเสริมให้บุคลากรเกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายร่วมกันขับเคลื่อนระบบการประกัน คุณภาพภายในท่ีสะท้อนการพัฒนาท่ีย่ังยืน สรา้ งความเชอื่ มนั่ และเปน็ ทย่ี อมรบั ของผู้ทเี่ กยี่ วซ้อง โรงเรยี นบ้านตะกุดภิบาล 75
๕.๒ สถานศึกษาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) และบุคลากรสถานศึกษา เป็นบคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ ร่วมกนั พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน โดยการใชก้ ระบวนการสรา้ ง ๕.๓ การบริหารจัดการคุณภาพเกิดขึ้นทั้งในระดับรายบุคคล ระดับห้องเรียน ระดับกลุ่มสาระ การเรยี นรู้ และระดบั สถานศึกษา ทสี่ ะท้อนถึงความตระหนักในคุณค่าและเกิดวฒั นธรรมคุณภาพในตัวบุคคล และองค์กรในภาพรวม ๕.๓.๑ การบรหิ ารจดั การคุณภาพเกดิ ข้ึนท้ังในระดบั สถานศกึ ษาระดบั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ผู้บรหิ าร สถานศกึ ษาไดส้ นับสนุนคณะครแู ละนักเรียนในทุกด้านใหน้ ักเรียนไดร้ ับโอกาสในการเขา้ ร่วมแข่งขันกิจกรรม ต่างๆ ทท่ี างหน่วยงานทางการศึกษาจดั ข้นึ ซงึ่ นักเรียนไดร้ ับรางวัลต่างๆ มากมาย ๕.๓.๒ การบรหิ ารจัดการคุณภาพเกิดขึ้นระดบั หอ้ งเรียน ทางโรงเรียนได้จดั โครงการนเิ ทศ ห้องเรยี น เพื่อเป็นการพฒั นาดา้ นการสร้างสภาพแวดล้อมและบรรยากาศในการจดั การเรยี นการสอน ๕.๓.๓ การบริหารจัดการคณุ ภาพเกิดขน้ึ ระดบั รายบุคคล โดยแบ่งเป็น ๕.๓.๓.๑ ผเู้ รียน ทางโรงเรยี นไดจ้ ัดทำโครงการเพ่ือบรหิ ารจัดการคณุ ภาพผ้เู รียนดงั นี้ ๑) โครงการหนนู อ้ ยสขุ ภาพดมี พี ฒั นาการสมวยั ๒) โครงการหนูนอ้ ยรักการเรียนรู้ ๓) โครงการหนูน้อยเรียนรอู้ ยู่อย่างชาวพทุ ธ ๔) โครงการหนนู อ้ ยเดก็ ดขี องสงั คม ๕) โครงการพฒั นาศักยภาพครูสคู่ รูมอื อาชีพ ระดบั ปฐมวยั ๖) โครงการพฒั นาคณุ ภาพของเด็ก “เรยี นฟรี ๑๕ ปี อย่างมคี ุณภาพ” ๗) โครงการยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ๘) โครงการส่งเสรมิ ทกั ษะการคดิ และสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม ๙) โครงการ 1 อาชพี ชีวติ พอเพียง ๑๐) โครงการส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑๒) โครงการสง่ เสริมสุขภาพอนามยั และจติ สังคม ๑๓) โครงการเด็กดี ทำดี มจี ิตอาสา ๑๔) โครงการเดินตามรอยพอ่ อย่อู ยา่ งพอเพยี งเคยี งคู่ความเป็นไทย ๑๔) โครงการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น “เรยี นฟรี ๑๕ ปี อย่างมีคณุ ภาพ ๕.๓.๓.๒ ครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา ทางโรงเรียนได้จัดทำโครงการเพื่อบริหาร จดั การคุณภาพครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา ดงั นี้ ๑) โครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในให้มีประสิทธผิ ล ๒) โครงการส่งเสริมกระบวนการบริหารและการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย ๓) โครงการพฒั นาอาคารสถานท่ีและส่ิงแวดล้อมทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ ๔) โครงการพัฒนาศักยภาพครสู คู่ รูมืออาชพี ๕) โครงการพฒั นาระบบการเงินและระบบสาธารณปู โภค ๖) โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการในสถานศกึ ษา ๗) โครงการพฒั นาระบบการประกันคุณภาพภายในให้มปี ระสิทธิผล ๘) โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มที่เออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๕.๔ สถานศึกษามีโครงสร้างการบริหารจัดการ กำหนดบทบาทหน้าที่ผู้รับผิดชอบงาน มีคู่มือ และแนวทางการปฏิบัติงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง โรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภิบาล 76
และความเสี่ยงทจ่ี ะเกิดขึน้ ในอนาคต ๕.๕ สถานศึกษามีการบรหิ ารจดั การระบบขอ้ มูลสารสนเทศที่ทนั สมยั มขี อ้ มลู ที่ถูกตอ้ ง เชอ่ื ถือได้ ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน สมบูรณ์ เพียงพอ ครอบคลุมภารกิจของสถานศึกษา ที่พร้อมใช้งานได้ อยา่ งมี ประสิทธิภาพ มกี ารปอ้ งกันและรกั ษาความปลอดภัยของระบบ ๕.๖ สถานศึกษาได้รับความร่วมมือในการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา จากผทู้ ่ีเกยี่ วข้องทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ในการส่งเสรมิ สนบั สนนุ ช่วยเหลือ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง การดำเนนิ งาน 1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และตวั ชว้ี ัดความสำเรจ็ โดยมสี ่วนรว่ มของทุกภาคส่วน ๒. ประชุมปฏิบัติการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๔-พ.ศ.๒๕๖๖ ประชุมปฏิบัติการและจัดทำแผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ประจำปี การศึกษา ๒๕๖๔ โดยมีส่วนร่วมของทุกภาคสว่ น ๓. บุคคล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาให้ความรู้ และทุนสนับสนุนนักเรียนโดยมีส่วนร่วม ทุกภาคส่วนเป็นประจำ ลงช่อื ผนู้ ำเสนอผลงาน (นางสาวพรรทพิ า โพธ์อิ อ่ ง) ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภบิ าล โรงเรียนบ้านตะกุดภบิ าล 77
20 ภาคผนวก โรงเรียนบา้ นตะกุดภิบาล 78
คำส่ังโรงเรยี นบา้ นตะกุดภิบาล ที่ 6/2565 เรื่อง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปี 2564 ระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน …………………………………………. พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 6 วา่ ดว้ ยมาตรฐานและการประกันคุณภาพ การศกึ ษามาตรา 47 ใหม้ ีระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษา เพือ่ พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุก ระดับประกอบดว้ ยระบบประกนั ภายใน และระบบการประกนั คณุ ภาพภายนอก ระบบ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี าร ประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและ สถานศึกษา จดั ใหม้ ีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และใหถ้ ือวา่ การประกันคุณภาพภายใน เป็นสว่ น หนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 หมวด 2 การประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษาที่กำหนดให้มีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เป็นกลไกหลักในการ ขับเคลื่อน การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาให้ได้มาตรฐานอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ อันส่งผลต่อการ ยกระดบั คุณภาพการศึกษา โดยมกี ารจดั ทำรายงานประจำปี เสนอต่อหนว่ ยงานต้นสงั กัด หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่อื นำไปสู่การพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา และเพอ่ื รองรับการประกนั คุณภาพภายนอกของสถานศึกษา จึงแต่งตั้งบุคคลในท้ายคำสั่งนี้เป็นคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน สถานศึกษา เพื่อทำการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และมาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐานให้แลว้ เสร็จ ดังต่อไปน้ี 1. คณะกรรมการอำนวยการ ประกอบดว้ ย 1.1 นางสาวพรรณทิพา โพธิ์ออ่ ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา ประธานกรรมการ 1.2 นายไว นาพนิ ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาฯ กรรมการ 1.3 นางสาวณชกาน เรอื งชม ครู กรรมการ 1.4 นางสาวศริ ิพร ป้อมนารถ เจา้ หน้าท่ีธรุ การโรงเรียน กรรมการและเลขานุการ มหี นา้ ที่ ให้คำแนะนำ ปรึกษา อำนวยความสะดวก แก้ไขปญั หาในการดำเนินการประเมนิ คุณภาพ ภายในสถานศึกษา แก่คณะกรรมการดำเนินงาน เพอ่ื ใหก้ ารดำเนินงานเป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ยและมี ประสิทธิภาพ 2. คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดบั ปฐมวัย ประกอบดว้ ย 2.1 นางสาวพรรณทิพา โพธิ์อ่อง ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา ประธานกรรมการ 2.2 นางสาวพมิ พ์ชยา ใช้ปัญญาธนานนั ท์ ครู กรรมการ 2.3 นางสาวปทั มา พุทธทองศรี ครูอตั ราจา้ ง กรรมการ 2.4 นางสาวศศวิ ภิ า วิชัยยทุ ธ ครอู ัตราจ้าง กรรมการ 2.5 นางสาวศิรพิ ร ปอ้ มนารถ เจ้าหน้าท่ธี รุ การโรงเรียน กรรมการและเลขานกุ าร โรงเรียนบา้ นตะกุดภบิ าล 79
3. คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ประกอบด้วย 3.1 นางสาวณชกาน เรืองชม ครู ประธานกรรมการ 3.2 นางสาวรุ่งระวี จนั ทรศ์ รี ครู กรรมการ 3.3 นางสาวนิภาพร แปน้ อินทร์ ครูอัตราจา้ ง กรรมการ 3.4 นางสาวกชพรรณ สทุ ธศิริ ครอู ัตราจ้าง กรรมการ 3.5 นายอภิชาติ แก่นย่ิง ครพู ีเ่ ลย้ี ง กรรมการ 3.6 นางสาวบญุ ผานชุ ฤทธบ์ิ ำรุง ครู กรรมการและเลขานกุ าร 3.7 นางสาวศิรพิ ร ป้อมนารถ เจา้ หน้าท่ธี ุรการ กรรมการและผชู้ ่วยเลขาฯ คณะกรรมการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา มหี นา้ ที่ดงั น้ี 1) วางแผนกำหนดแนวทางและวธิ ีการดำเนินการประกนั คุณภาพภายในโรงเรียน 2) กำกับ ติดตาม และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา 3) เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพฯ จากตัวแทนในคณะกรรมการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในโรงเรยี น และทำหนา้ ทต่ี รวจสอบ ทบทวน รายงานคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา 4) ให้โรงเรียนจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนเป็นส่วนหน่ึงของการบริหาร การศกึ ษาที่ประกอบด้วย 8 ประการคอื 4.1) การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา 4.2) จดั ทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มงุ่ คุณภาพมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศกึ ษา 4.3) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ 4.4) การดำเนนิ งานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา 4.5) จดั ใหก้ ารตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 4.6) จัดให้มกี ารประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 4.7) จัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2564 เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และเสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สังกัด หน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ ง ภายในวันที่ 30 เมษายน 2565 4.8) จดั ใหม้ ีการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาอย่างตอ่ เนื่อง 5) กำกับ ติดตาม ตรวจสอบและใหข้ ้อเสนอแนะเก่ียวกับการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในของสถานศึกษา ท้ังน้ี ตั้งแต่บดั นเ้ี ป็นตน้ ไป สง่ั ณ วนั ท่ี 31 เดือน มนี าคม พ.ศ. 2565 (นางสาวพรรณทพิ า โพธอ์ิ อ่ ง) ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านตะกดุ ภิบ โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภบิ าล 80
องค์ประกอบท่ี ๑ การกำหนดเป้าหมายมาตรฐานคุณภาพ บคุ ลากรทกุ ฝา่ ยของสถานศึกษาและผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี รว่ มกนั กำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของ สถานศึกษา ท่สี อดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาทก่ี ระทรวงศกึ ษาธิการประกาศ เปา้ ประสงค์ของหนว่ ยงาน ต้นสงั กดั ปรัชญาการจัดการศึกษา และวัตถปุ ระสงคก์ ารจัดตั้งสถานศึกษา โรงเรียนบ้านตะกดุ ภบิ าล 81
สถานศกึ ษามกี ารกำหนดและทบทวน ปรับเปลย่ี นเปา้ หมายคณุ ภาพรายปีที่แสดงถงึ ความทา้ ทาย ตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพตาม มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาโดยการมสี ว่ นร่วมของบคุ ลากรทุกฝา่ ย ของสถานศกึ ษาและผทู้ ม่ี ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี โรงเรยี นบา้ นตะกุดภบิ าล 82
องค์ประกอบท่ี ๒ การขบั เคล่อื นคณุ ภาพสู่มาตรฐาน แผนปฏบิ ัตกิ าราชการประจำปโี รงเรยี นบา้ นตะกุดภบิ าล โรงเรียนบา้ นตะกุดภบิ าล 83
โครงสรา้ งการบรหิ ารงานโรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภิบาล โรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภบิ าล 84
ประชุมคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น ประชมุ ครแู ละบุคลากรโรงเรยี นบ้านตะกุดภบิ าล และประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน คณะครขู องโรงเรียนบา้ นตะกดุ ภบิ าลเข้ารบั การอบรมในหน่วยงานราชการตา่ ง ๆ เพอ่ื เพิม่ ศักยภาพให้มีประสทิ ธภิ าพสงู สุด คณะครูเข้ารบั การอบรมเว็บไซต์ Live Worksheets เพอ่ื พัฒนาการสอนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์โควดิ 19 โรงเรยี นบ้านตะกดุ ภบิ าล 85
สถานศึกษาได้จดั การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาเพอื่ เปดิ โอกาสให้ผ้ทู ี่มสี ว่ นเกยี่ วข้อง ได้มสี ่วนรว่ มในการบริหาร ตดั สินใจ และร่วมจดั การศึกษา สถานศึกษาได้จัดประชมุ ผู้ปกครองเพ่ือรับทราบนโยบายและร่วมแสดงความคดิ เห็น เปดิ โอกาสใหผ้ ู้ทมี่ ีส่วนเก่ยี วข้องไดม้ สี ่วนรว่ มในการบรหิ าร ตดั สนิ ใจ และร่วมจดั การศกึ ษา สถานศึกษาได้จดั ประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาและประชุมคณะกรรมการบรกิ ารโรงเรยี นเพ่ือรว่ มกัน กำหนดวิสัยทัศนแ์ ละเป้าหมายของการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นตะกุดภิบาล 86
แผนปฏบิ ตั กิ าราชการประจำปขี องโรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภิบาล แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาระยะ ๓ ปี ของโรงเรยี นบา้ นตะกุดภิบาล โรงเรยี นบ้านตะกดุ ภิบาล 87
การนเิ ทศภายในแบบร่วมพัฒนาส่มู ืออาชพี ในการจดั การเรียนการสอน ของครูโรงเรียนบา้ นตะกดุ ภบิ าล เพ่อื พัฒนาครูให้มีความรทู้ ักษะและสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การใหค้ ำแนะนำ การนิเทศภายในแบบร่วมพัฒนาสูม่ ืออาชพี ในการจัดการเรียนการสอนในชว่ งสถานการณโ์ ควิด 19 ของครโู รงเรยี นบา้ นตะกดุ ภบิ าล เพอ่ื พฒั นาครใู ห้มคี วามรทู้ กั ษะและสง่ เสริมสนบั สนนุ การให้คำแนะนำ กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้เชงิ วชิ าชพี (PLC) มาใชโ้ ดยใชก้ ระบวนการรว่ มมอื รว่ มใจของครู ผบู้ ริหารโรงเรยี น และหนว่ ยงานการศกึ ษาท่เี กย่ี วข้อง โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภิบาล 88
การประเมนิ การเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเขม้ ตำแหน่องครผู ชู้ ่วยของโรงเรยี นบ้านตะกุดภิบาล การประเมินเพื่อเลอื่ นวิทยฐานะทางวชิ าการ ตำแหน่อง ครูชำนาญการของโรงเรียนบ้านตะกดุ ภิบาล โรงเรียนคณุ ภาพมาตรฐานกจิ กรรมวิทยาศาสตรส์ ำหรบั เดก็ ปฐมวัย “บา้ นวิทยาศาสตรน์ อ้ ย” ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร โรงเรียนบา้ นตะกุดภบิ าล 89
กิจกรรมสปั ดาหว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือมุ่งเนน้ ใหน้ ักเรยี นเปดิ ประสบการณ์ และมศี ักยภาพในการเรยี นรู้ กิจกรรมเขา้ คา่ ย English Camp เพ่ือเปิดประสบการณก์ ารเรียนการสอน เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นไดม้ โี อกาสใช้ภาษาองั กฤษในสถานการณจ์ ริง และในขณะเดยี วกันก็เป็นการเปล่ยี นบรรยากาศการเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี นเปน็ นอกหอ้ งเรียน การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการจัดการเรยี นรู้ เพอ่ื ใหน้ กั เรียนเกดิ ทกั ษะในการแสวงหาความรู้ ดว้ ยตนเอง มคี ณุ ลักษณะรักการเรียนรู้ ใฝร่ ู้ใฝ่เรียน พฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนื่อง โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภิบาล 90
องคป์ ระกอบที่ ๓ การประเมนิ ความสำเรจ็ ตามมาตรฐาน สถานศกึ ษาไดจ้ ดั การประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาเพอื่ เปิดโอกาสใหผ้ ูท้ มี่ สี ว่ นเกยี่ วข้อง ไดม้ ีสว่ นร่วมในการบริหาร ตดั สนิ ใจ และรว่ มจดั การศกึ ษา โปรแกรมระบบบรหิ ารจดั การผลการเรยี น ระบบจัดเกบ็ ขอ้ มลู นกั เรยี นรายบุคคล (DMC) โรงเรียนบ้านตะกดุ ภบิ าล 91
ระบบข้อมลู สารสนเทศเพอ่ื การบรหิ าร สพฐ EMIS ระบบสำนกั งานอิเล็กทรอนกิ ส์ AMSS++ โรงเรยี นบ้านตะกุดภิบาล 92
องค์ประกอบท่ี ๔ การนำการเปล่ยี นแปลงสูส่ ถานศึกษาและการสรา้ งคณุ คา่ แกว่ งวิชาการ นักเรียนมคี วามรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคติทด่ี ีต่องานอาชีพ กจิ กรรมประกอบอาหาร การทำแซนวชิ เพอ่ื ฝกึ ทกั ษะอาชพี ของผู้เรยี นในอนาคต โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภบิ าล 93
การสง่ เสรมิ การแนะแนวศกึ ษาต่อโดยสถานศึกษาตา่ งๆ โดยนักเรยี นที่สำเรจ็ การศกึ ษาใน ระดับช้ัน ป.๖ เขา้ ศกึ ษาต่อในระดบั ชน้ั ทสี่ ูงขึน้ กจิ กรรมวนั ไหวค้ รู เปน็ การแสดงออกถงึ ความเคารพ และระลกึ ถึงบญุ คณุ ของครูบาอาจารย์ กจิ กรรมวันภาษาไทย เปน็ การแสดงออกในการสง่ เสรมิ ความเปน็ ไทย และการละเลน่ ของเดก็ ไทย โรงเรยี นบ้านตะกุดภบิ าล 94
กจิ กรรมวนั เขา้ พรรษา เปน็ การแสดงออกในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ผ้เู รียนยอมรบั และอย่รู ่วมกนั บนความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ในด้าน เพศวัย เช้ือชาติ ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี การประชมุ ผปู้ กครอง โรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภบิ าล 95
ผู้เรยี นมีการรกั ษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสงั คม และแสดงออกอย่างเหมาะสมในแตล่ ะชว่ ง วัยสามารถอยูร่ ว่ มกับคนอืน่ อยา่ งมคี วามสขุ เข้าใจผอู้ ื่นไมม่ คี วามขัดแย้งกบั ผูอ้ น่ื การประชุมจัดทำหลกั สตู รและการจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้ โรงเรียนบา้ นตะกุดภิบาล 96
ซอ่ มแซมพน้ื หนา้ อาคารเรยี นหลังใหม่ ซ่อมแซมพ้ืนปนู หน้าหอ้ งพยาบาล ซอ่ มแซมบริเวณร้วั รอบโรงเรยี น โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภิบาล 97
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128