Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore the positive effects of

the positive effects of

Published by กิตติพงศ์ ชุมพล, 2020-08-28 00:42:06

Description: the positive effects of

Search

Read the Text Version

DIGITAL MEDIA

ส่ือโทรทัศนเ พ่ือการศึกษา โทรทัศนเป็นส่ือมวลชนทีม่ ีประสิทธภิ าพยงิ่ ประเภทหน่ึง เน่ืองจากเป็นส่อื ทีส่ ง ไดทัง้ ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว และเสียง เม่อื มกี ารนําโทรทัศนมาใชในการศกึ ษา จงึ ทาํ ให เกิดคําวา “โทรทัศนการศึกษา” ข้นึ เพ่อื ถา ยทอดความรูแ กผ ูเรียนหรือผูร ับทางบาน และ “โทรทัศนการสอน” เพ่ือสอนเน้ือหาตามหลักสูตรแตล ะวิชาการใชโทรทศั นการ ศึกษาและการสอนเรา สามารถใชโ ทรทัศนเพ่ือการศึกษาและการสอนไดทงั้ ในระบบ และนอกระบบโรงเรียนใน รูปแบบตางๆ ดงั นี้ 1. การสอนโดยตรง เป็นการใชโ ทรทัศนเพ่อื เสนอรายการที่จดั ทาํ ข้ึนตามเน้ือหาใน หลักสตู รในรปู แบบของโทรทัศนการสอน การสอนโดยตรงนี้สามารถกระทาํ ไดทงั้ ในโทรทัศนระบบ วงจรเปิดและวงจรปิด ถาเป็นการสอนในระบบวงจรเปิดและเป็นการออกอากาศจาก สถานีสง มายัง หองเรียน การสอนลกั ษณะนี้จะมีครปู ระจําชัน้ คอยเป็นพเ่ี ลยี้ งควบคมุ การเรียนและตรวจงาน ปฏิบัตขิ องผเู รยี นในหอ งเรยี นนัน้ แตถาเป็นการสงในระบบ วงจรปิด ผูส อนท่สี อนอยใู นหองเรยี นหรอื ในหองสง จะเป็นผรู ับผิดชอบผูเ รยี นทัง้ หมดดว ยตนเองโดยไมม ผี อู ่นื ควบคุมการเรียนในแตล ะหอง การใชโทรทัศนในการ สอนสามารถใชไดดังนี้

ใชเป็นเคร่อื งมอื ในการสอน โดยมกี ารใชเป็นชดุ การ สอนทีส่ มบูรณ เน่ืองจากมีทัง้ ภาพและเสยี ง ซ่ึงสามารถอาํ นวยประโยชนในการเรียนรไู ดในทุกพิสัย การใช แบบนี้จะใชร ว มกับส่ืออ่นื ดว ยก็ได หรอื อาจจะใชเป็นส่ือการสอนในวธิ ีการสอนเป็นคณะโดยการเชิญวทิ ยากรอ่ืนมารวม สอนดว ย หลกั สําคญั ในการใชโทรทัศนเป็นเคร่ืองมือในการสอนนี้ คือ ผสู อนจะตอ งกาํ หนดแผนการสอนอยา งรดั กุมเสยี กอ น และใชโ ทรทัศนโดย การสอนสดหรอื ใชร ายการท่ีบันทกึ ลงวดี ิทศั นไวมาเป็นสวน หน่ึงของการสอนดว ย ใชเ ป็นส่ือสอนแทนครู ในกรณีที่ขาดแคลนครูผสู อนหรอื ผู เชีย่ วชาญในแตละวชิ า กอ็ าจใชโ ทรทัศนเพ่อื ออกอากาศการสอนของครจู ากหองสงไปยงั หองเรียนในท่ี ตา งๆ ได การสอนนี้จะเป็นการสอนโดยตรงในแตล ะวิชา ใชเ ป็นส่ือเพ่ือเสรมิ ความรู เป็นการใชร ายการ โทรทัศนเพ่ือเสรมิ ความรจู ากเน้ือหาบทเรยี นเพ่ือใหผูเรียนไดร ับความรู เพม่ิ ข้นึ จากทเี่ รียนในหองเรยี น รายการ ตา งๆ เหลา นี้จะมิใชเป็นเน้ือหา บทเรียนโดยตรง เชน รายการตอบปัญหาภาษาอังกฤษ รายการกระจกหกดาน แตจะมีสิ่งท่ีเกีย่ วเน่ือง กับบทเรียนเพ่อื เพิ่มพูนความรปู ระสบการณและ ความคิดแกผ ูเรยี นใหก วา งขวางย่งิ ข้นึ

Mobile Ad สหรฐั อเมริกา Mobile Ad จะสรางรายได 70 พนั ลา นดอลลารส หรฐั ฯ เพ่มิ ข้นึ จากปี พ.ศ.2559 ทมี่ ีรายไดเ พยี ง 47 พันลานดอลลารสหรัฐฯ ซ่ึงแสดงใหเ ห็นวา โฆษณาบนสมา รทโฟนกาํ ลังเป็นท่นี ิยม แตก ม็ ีหลายคนทีไ่ มช อบโฆษณาประเภทนี้อาจดว ยการแจงเตอื น แบบถี่ยิบ หรือแบนเนอรท่แี สดงบอ ยเหลอื เกนิ อยางไรกด็ ี หากมองในมมุ การตลาด ฟีเจอรเหลา นี้ของ Mobile Ad ชวยใหก ลมุ เป าหมายเห็นแบรนดบ อยจงึ ทําใหจดจาํ แบรนดได ผปู ระกอบการเองกส็ ามารถทําการตลาดเลียนแบบ Mobile Ad ไดตามเทคนิค ตอไปนี้เพ่อื ใหแบรนดเ ขาถึงกลมุ เป าหมายไดแ บบเนียนๆ 1. บอกโปรโมชนั หรือขา วสารของแบรนดใ นรูปแบบแบนเนอร  แนะนําใหเ ขียนสัน้ ๆ ดว ย คาํ ท่กี ระตุน ใหเ กิดการคลิกเขาไปอานรายละเอยี ดเพิม่ เตมิ และอยา ลมื ใชส ชี มพูสดเป็น พ้ืนหลงั แบนเนอร เพราะชวยใหแ บนเนอรเดน สะดุดตา นอกจากนี้ การใชแ บนเนอรในรูป แบบการแสดงขอ ความยงั ไมไดอ านก็กระตนุ ใหเกิดการคลกิ ไดเ ชนกัน และเป็นการตดั สนิ ใจคลกิ แบบทนั ทดี ว ย เพราะกลุมเป าหมายเขาใจวา มขี อความเขามาจรงิ ๆ      ตองรู : อยาสง แบนเนอรท ่ีแสดงขอความเดิมไปใหล ูกคา คนเดิม เพราะนอกจากจะไมถูก คลกิ แลว ยงั ทาํ ใหพวกเขาเกดิ ความรสู กึ รําคาญ และนําไปสกู ารบล็อกแบนเนอรใ นทีส่ ุด

2. ทําโฆษณาใน Instagram Stories ฟีเจอรนี้นอกจากใชอัพเดตเร่อื งราวรายวนั ของแบรนดไ ดแ ลว ยังทาํ โฆษณาผา นภาพนิ่งหรือ วดิ ีโอท่ีมคี วามยาวไมเกนิ 15 วินาทีไดดวย ซ่งึ Stories ทีเ่ ป็นโฆษณาจะมีคาํ วา Sponsored ข้ึนชัดเจน และเม่ือคลิกไปที่คําวา See More Learn More หรอื Watch More จะลิงกไปยังเว็บไซตของแบรนดโดยอัตโนมัติ        ตองรู : กระตนุ ใหล ูกคาคลกิ Stories เพ่อื ลงิ กไ ปยังเวบ็ ไซตของแบรนดดว ยการวางเสนโคง ทม่ี ลี ักษณะคลา ยเสนผมไวก ลางภาพ วิธนี ี้ กระตุนใหก ลุมเป าหมายแตะทีห่ น าจอโทรศัพทไดอ ยางแนนอน 3. ตงั้ คาใหโ ฆษณาของแบรนดโชวใ นเกม และสรางปุม X ปลอมๆ ท่มี ุมขวาบน ซ่ึงเม่อื คลกิ ทปี่ มุ นี้แลวจะถูกลิงกไปท่ีหน าเว็บไซตของ แบรนด วธิ นี ี้คอ นขา งใชไ ดผ ลเพราะคนสวนใหญเม่อื เหน็ โฆษณาเดงในเกมจะคลกิ ปุม X ทันที เพราะคดิ วาเป็นปมุ ปิดโฆษณา

ส่อื กจิ กรรม ความหมายของส่อื กจิ กรรม ส่อื  หมายถึง ส่งิ ตา งๆทเี่ ป็นตัวกลางทีจ่ ะนํามาใชก ารถา ยทอดความรู ประสบการณ ทศั นคติ คานิยม หรอื ทกั ษะทม่ี ีไปสเู ด็กไดอยา ง มปี ระสิทธภิ าพ และเด็กเกิดการเรยี นรตู ามจดุ มุงหมายไดด ีทีส่ ุด         กจิ กรรม หมายถึง การทผ่ี เู รยี นปฏบิ ตั ิการอยา งใดอยางหน่ึงเพ่ือการเรยี นรู         ส่ือกิจกรรม หมายถงึ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนเพ่อื ใหผเู รยี นไดป ระสบการณหรือเรียนรูเน้ือหาบทเรียนดว ย การดู การฟัง การสงั เกต การทดลอง การสมั ผัส จับตอ งดวยตนเอง รวมถงึ การรว มแสดงความคดิ เหน็   การแสดงบทบาทในละคร  การละเลน   เกม  กีฬา  การแขงขนั ตางๆตลอดจนการทาํ งานรว มกบั บุคคลอ่ืน  ทําใหผ ูเรียนไดรับประสบการณแปลกใหมดว ยความเพลิดเพลิน  บาง กิจกรรมอาจใชส ่ือวัสดุหรืออุปกรณเขา มาชว ยในการถา ยทอดความรูเ พ่ือใหผ เู รยี นรบั รแู ละเรยี นรูเ น้ือหาสาระในกจิ กรรมไดชดั เจนย่ิง ข้นึ

ความสําคัญของส่ือ 1.เป็นเคร่ืองมอื สง เสรมิ เดก็ ใหกลาแสดงออกและเกดิ การเรยี นรู อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. เป็นตวั กลางในการถา ยทอดความรู ประสบการณ ทัศนคติ  คานิยม หรือทักษะของผสู อนไปสผู เู รียน 3. เป็นเคร่ืองมอื เรา ความสนใจของเดก็ ใหติดตามเร่ืองราวดวย ความสนใจและไมเกดิ ความรูสึกวาเป็นการ  “เรียน” 4. เป็นเคร่อื งมอื ทําส่ิงทเ่ี ป็นนามธรรมใหเ ป็นรปู ธรรมและผเู รียนไดร ับประสบการณตรงทาํ ใหจาํ ไดนาน                คุณคา ของส่อื ประเภทกจิ กรรม 1. ชวยรวมวสั ดุอปุ กรณหรอื ประสบการณทก่ี ระจัดกระจายไวในทแี่ หง เดยี วกัน 2. สง เสรมิ ใหผ ูเรยี นกลา แสดงออกและสามารถทํางานกับบุคคลอ่นื ได 3. ชว ยใหเ กดิ ปฏสิ มั พนั ธระหวา งผเู รียนกบั ผรู ว มกจิ กรรมอ่นื ๆ 4. ชว ยถา ยทอดเน้ือหาเป็นรปู ธรรมไดชัดเจนจากการไดสมั ผสั ดวยตัวเอง 5. เป็นนวัฒกรรมการเรียนการสอนที่ทาํ ใหผ ูเรยี น เรียนรไู ดอยางเพลดิ เพลนิ ประเภทของส่ือกจิ กรรม 1.การสาธติ (Demonstration) 2.การจัดนิทรรศการ (Exhibition). 3.นาฏการ (Dramatization) 4. การใชช มุ ชนเพ่อื การศึกษา (Community Study) 5. สถานการณจาํ ลอง (Simulation)6. การศึกษานอกสถานท่ี (Field Trip)

สือสิงพมิ พ์ ในปัจจุบันสามารถแบงประเภทของส่ือสงิ่ พมิ พไดม ากมายหลายประเภท โดยทงั้ สิง่ พมิ พ 2 มติ ิ และส่งิ พมิ พ 3 มติ ิ คือ สง่ิ พิมพท ี่มี ลกั ษณะเป็นแผน เรียบ ใชวสั ดจุ ําพวกกระดาษและมีเป าหมายเพ่ือนําเสนอเน้ือหาขาวสารตางๆ เชน หนังสือ นิตยสาร จลุ สาร หนังสือพิมพ แผนพับ โบชวั ร ใบปลิว นามบตั ร แมกกาซนี พอ็ กเก็ตบุค เป็นตน สว นสงิ่ พมิ พ 3 มิติ คอื สิ่งพมิ พท มี่ ีลักษณะพเิ ศษท่ี ตอ งอาศัยระบบการพิมพแบบพิเศษ และสวนใหญจะเป็นการพมิ พโดยตรงลงบนผลติ ภัณฑท สี่ รา งรปู ทรงมาแลว สาํ หรบั ตวั อยางการ พิมพแบบ 3 มติ ไิ ดแก การพิมพสกนี บนภาชนะตา งๆ เชน แกว กระป อง พลาสติก การพมิ พระบบแพดบนภาชนะทมี่ ีผวิ ตา งระดบั เชน เคร่อื งปั้นดนิ เผา เคร่อื งใชไ ฟฟ า การพิมพระบบพนหมึก เชน การพิมพวนั หมดอายขุ องอาหารกระป องตา งๆ โดยสามารถจาํ แนก ประเภทของส่ือสิ่งพมิ พได ดังนี้

1. ส่อื สงิ่ พมิ พประเภทหนังสือ        ส่อื สิ่งพมิ พป ระเภทหนังสือจะมีหนังสือสารคดี ตํารา แบบเรยี น และหนังสือบันเทิงคดี จะเน นความรตู างๆ 2. ส่ือส่ิงพิมพเ พ่อื เผยแพรข าวสาร – หนังสอื พิมพ (Newspapers) เป็นส่ือสง่ิ พมิ พทีผ่ ลิตข้นึ โดยนําเสนอเร่อื งราวขา วสารภาพ และความคดิ เหน็ ในลักษณะของแผน พมิ พ แผน ใหญ ทใ่ี ชวิธกี ารพบั รวมกบั ซ่ึงส่อื ส่ิงพิมพชนิดนี้ไดพิมพออกเผยแพรท ัง้ ลักษณะหนังสือพิมพร ายวัน รายสปั ดาห และรายเดือน – วารสาร นิตยสาร เป็นส่อื ส่งิ พมิ พท ่ผี ลิตข้ึนโดยนําเสนอสาระขา ว ความบนั เทิง ทีม่ ีรปู แบบการนําเสนอ ท่ีโดดเดน สะดดุ ตา และสราง ความสนใจใหกับผอู า น ทงั้ นี้การผลิตนัน้ มกี ารกาํ หนดระยะเวลาการออกแบบเผยแพรท ี่แนนอน ทงั้ ลักษณะวารสาร นิตยสารรายปักษ (15 วนั ) และรายเดือน – จลุ สาร เป็นส่ือส่งิ พิมพทผ่ี ลิตข้นึ แบบไมม ุง หวงั ผลกาํ ไร เป็นแบบใหเปลาโดยใหผ ูอ านศกึ ษาหาความรู ท่ีกาํ หนดออกแบบเผยแพรเ ป็น ครัง้ ๆ หรอื ลําดบั ตางๆ ในวาระพเิ ศษ – โบชัวร  (Brochure) เป็นส่อื ส่ิงพมิ พทมี่ ีลกั ษณะเป็นสมุดเลมเลก็ ๆ เยบ็ ติดกันเป็นเลม จํานวน 8 หน า เป็นอยา งน อยมปี กหน า และปก หลัง ซ่งึ ในการแสดงเน้ือหาจะเกย่ี วกับโฆษณาสนิ คา – ใบปลิว (Leaflet, Handbill) เป็นส่ือส่งิ พมิ พใ บเดยี ว ทเี่ น นการประกาศ มักมีขนาด A4 เพ่ืองายในการแจกจาย ลักษณะการแสดง เน้ือหาเป็นขอความทผ่ี อู า นแลว เขา ใจงา ย – แผน พับ (Folder) เป็นส่ือสิ่งพมิ พท่ีเน นการผลติ โดยเน นการเสนอเน้ือหา ซ่ึงเน้ือหาที่นําเสนอนัน้ เป็นเน้ือหาท่ีสรปุ ใจความสําคัญ ลกั ษณะเป็นการพับเป็นรูปเลม ตางๆ – โปสเตอร (Poster) เป็นส่ือส่ิงพิมพโฆษณา โดยใชปิดตามสถานท่ีตางๆ มีขนาดใหญเป็นพเิ ศษซ่ึงเน นการนําเสนออยา งโดดเดนดึงดดู ความสนใจ

ส่อื ดจิ ิทัล (Digital Media) ส่ือดจิ ทิ ลั  เป็นนวตั กรรมที่สรา งข้นึ มาทดแทนสิง่ ที่มอี ยเู ดิม เพ่อื ใหราคาถูกลงและ รกั ษาไวซ่ึงคุณภาพ เอ้อื ตอประโยชนการใชสอย ที่มากกวาเดมิ และส่ือดิจติ อล (ตรง กันขามกับส่อื อนาลอ็ ก) มักหมายถึงส่อื อเิ ล็กทรอนิกสซ่ึงทางานโดยใชร หัสดิจติ อล ในปัจจุบนั การเขยี นโปรแกรมตงั้ อยูบนพ้ืนฐานของเลขฐานสอง ในกรณีนี้ ดิจิตอล หมายถงึ การแยกแยะระหวาง \"0\" กับ \"1\" ในการแสดงขอ มูล คอมพิวเตอรเป็น เคร่อื งจกั รท่ีมกั จะแปลขอมูลดิจติ อลฐานสองแลว จงึ แสดงชัน้ ของเคร่อื งประมวลผล ชนั้ ของขอ มลู ดิจิตอลท่ีเหนือกวา ส่ือดิจิตอลเชนเดียวกับส่ือเสียง วิดีโอ หรือเน้ือหา ดจิ ิตอลอ่นื ๆ สามารถถูกสรา งข้นึ อา งองิ ถงึ และไดร ับการแจกจายผานทางเคร่ือง ประมวลผลขอ มูลดิจิตอล ส่ือดิจติ อลไดนามาซ่ึงการเปล่ียนแปลงอยางใหญห ลวง เม่อื เทียบกับส่ืออนาล็อก

องคป ระกอบของส่อื ดจิ ติ อล 1. ขอ ความ  เป็นสว นทีเ่ กย่ี วกบั เน้ือหาของมัลติมเี ดยี ใชแสดงรายละเอียด หรอื เน้ือหาของเร่อื งท่ีนาเสนอ ถอื วา เป็นองค ประกอบพ้ืนฐานทส่ี าคญั ของมลั ติมเี ดีย ระบบมลั ตมิ ีเดียทีน่ าเสนอผานจอภาพของเคร่ืองคอมพวิ เตอร นอกจากจะมีรูปแบบ และสีของตวั อักษรใหเลือกมากมายตามความตองการแลวยังสามารถกาหนดลกั ษณะของการปฏสิ มั พันธ (โตต อบ)ใน ระหวางการนาเสนอไดอีกดว ย ซ่งึ ปัจจุบนั มหี ลายรปู แบบ 2. เสยี ง  ถูกจัดเก็บอยใู นรูปของสัญญาณดิจติ อลซ่งึ สามารถเลนซา กลบั ไปกลับมาได โดยใชโปรแกรมท่อี อกแบบ มาโดยเฉ พาะสาหรับทางานดา นเสียง หากในงานมัลติมเี ดยี มกี ารใชเสยี งที่เราใจและสอดคลอ งกบั เน้ือหาใน การนาเสนอ จะชวยให ระบบมัลติมีเดียนัน้ เกิดความสมบูรณแบบมากย่ิงข้ึน นอกจากนี้ยังชวยสรา งความนาสนใจและนาตดิ ตามในเร่อื งราวตา งๆ ไดเ ป็นอยางดี ทัง้ นี้เน่ืองจากเสยี งมีอทิ ธพิ ลตอผใู ชมากกวาขอ ความหรอื ภาพน่ิงดังนัน้ เสยี งจึงเป็นองคประกอบทจ่ี าเป็นสา หรบั มัลติมีเดยี ซ่งึ สามารถนาเขา เสยี งผา นทางไมโครโฟน แผนซดี ดี ีวดี ี เทป และวิทยุ เป็นตน      3. ภาพนิ่ง  เป็นภาพที่ไมมีการเคล่อื นไหว เชน ภาพถาย ภาพวาด และภาพลายเสน เป็นตน ภาพน่ิงนับวามีบทบาทตอ ระบบงานมลั ตมิ ีเดยี มากกวาขอ ความหรอื ตวั อกั ษร เ 4. ภาพเคล่ือนไหว  ภาพกราฟิกทมี่ ีการเคล่ือนไหวเพ่ือแสดงขัน้ ตอนหรอื ปรากฏ การณตา งๆ ทเี่ กิดข้ึนอยา งตอ เน่ือง เชน การเคล่อื นทีข่ องลูกสบู ของเคร่อื งยนต เป็นตน 5. วดิ โี อ  เป็นองคป ระกอบของมัลตมิ เี ดยี ทม่ี คี วามสาคญั เป็นอยางมาก เน่ืองจากวดิ โี อในระบบดจิ ิตอล สามารถ นาเสนอ ขอ ความหรือรูปภาพ (ภาพน่ิงหรือภาพเคล่อื นไหว) ประกอบกับเสียงไดสมบรู ณมากกวา องคป ระกอบชนิดอ่ืนๆ อยางไร ก็ตาม ปัญหาหลกั ของการใชวิดีโอในระบบมลั ตมิ เี ดียกค็ อื การสิน้ เปลอื งทรัพยากรของพ้ืนทบ่ี นหนวยความจาเป็นจานวน มาก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook