สงครามโลกครงั ที 1 โดย น.ส.อนติ ศรา ชเู อยี ม ม6/4 เลขที 10 เสนอ ศ.อําพร ขุมเนียม
สาเหตขุ องสงครามโลกครงั ที 1 สงครามโลกครังที 1 เปนสงครามทีเริมและมี ศูนย์กลางอยู่ในทวีปยุโรป ชนวนเหตุสําคัญของความ ขั ดแย้งเริมจาก เมือ วันที 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 เกิดการลอบปลงพระชนม์ อาร์ช ดยุก ฟรานซ์ เฟอร์ ดินานด์ มกุฎราชกุมารแห่ งจักรวรรดิออสเตรีย- ฮังการี ขณะเสด็จเยือนกรุ งซาราเจโว เมืองหลวงของ แคว้นบอสเนี ย-เฮอร์เซโกวีนา โดย กัฟรีโล ปรินซีป นั กชาตินิ ยมชาวเซอร์เบีย ออสเตรีย-ฮังการี เชือว่า เซ อร์เบียอยู่เบืองหลังในการกระทาํ ดังกล่าว จึงยืน คําขาดต่อราชอาณาจักรเซอร์เบีย เปนข้ อเรียกร้อง 10 ประการ ซึงมีเจตนาทาํ ให้ ยอมรับไม่ได้และจุดชนวน สงครามขึ น เมือเซอร์เบียยอมตกลงในข้ อเรียกร้อง เพียง 8 ข้ อ ออสเตรีย-ฮังการี จึงประกาศสงคราม เมือวันที 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1914
ทังนี ตัวเร่งไฟสงครามให้ โหมกระหนามาจากปม ปญหาเรืองสมดุลอาํ นาจทีสั งสมมานานของหลาย ประเทศในภาคพืนยุโรป ทังเรืองการแข่ งขั นทาง เศรษฐกิจ การแย่งชิงอาณานิ คมและระบบภาคี พันธมิตรทีแบ่งเปน 2 ฝายมหาอาํ นาจก่อนหน้ านี โดย แยกเปน ฝายสั ญญาไตรภาคี ประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี อิตาลี และฝายสั ญญาไตรพันธมิตร ประกอบด้วย อังกฤษ ฝรังเศส รัสเซีย ซึงชาติ พันธมิตรเหล่านี รวมถึงชาติอาณานิ คมของแต่ละ ประเทศ ต่างถูกดึงให้ เข้ าร่วมในสงคราม ทาํ ให้ ความ ขั ดแย้งลุกลามไปทัวโลกอย่างรวดเร็ว
ภาพรวมการรบของ สงครามโลกครงั ที 1 สงครามเปดฉากในวันที 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1914 วัน เดียวกับการประกาศสงคราม ประเทศออสเตรีย- ฮังการี ได้เปดฉากรุ กรานเซอร์เบียเปนครังแรก ส่ วน เยอรมันทีอยู่ฝายเดียวกัน ก็เปดฉากรุ กรานเบลเยียม เปนจุดเริมของสงครามทียากเกินจะยับยังอีกต่อไป สงครามครังนี แบ่งเปน 2 ฝายคือ ฝาย มหาอาํ นาจไตรภาคีมี ฝรังเศส อังกฤษ รัสเซีย และ ประเทศอาณานิ คม หลังจากนั นได้มีชาติมหาอาํ นาจ เข้ าร่วมเพิมเติมคือ จักรวรรดิญี ปุน เมือเดือนสิ งหาคม ป 1914 , อิตาลี เมือเดือนเมษายน ป 1915 และ สหรัฐอเมริกา เมือเดือนเมษายน ป 1917 ส่ วนอีกฝายคือ ฝายมหาอาํ นาจกลาง ประกอบด้วย จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิเยอรมนี และดิน แดนอาณานิ คม จากนั นมีจักรวรรดิออตโตมาน เข้ า ร่วมด้วยในเดือนตุลาคม ป 1914 และบัลแกเรียในป 1915 มีประเทศทีวางตัวเปนกลางไม่ฝกใฝฝายใดคือ เนเธอร์แลนด์ สเปน และประเทศตามคาบสมุทร สแกนดิเนเวีย แม้ว่าประเทศเหล่านี อาจจะเคยส่ ง เสบียงและยุทโธปกรณ์ ไปช่วยเหลือบางประเทศทีรบ อยู่ก็ตาม
การสู้รบทีเกิดขึ นตามแนวรบด้านตะวันตก จะ เปนการรบรู ปแบบ สนามเพลาะ (การขุ ดหลุม เปนแนวยาวหลายแนวสลับซับซ้อนกัน ด้านหน้ า สร้างลวดหนามไว้ต้านทานข้ าศึ ก) และปอม ป ร า ก า ร ซึ ง ถู ก แ ย ก อ อ ก จ า ก กั น ด้ ว ย ดิ น แ ด น ร ก ร้ า ง แนวปราการทัง 2 ฝาย จะตรึงขนานกันเปนระยะ มากกว่า 600 กิโลเมตร ส่ วนในแนวรบด้านตะวันออก เนื องจาก เปนทีราบกว้างขวางและมีเครือข่ ายทางรถไฟ จาํ กัด ทาํ ให้ ไม่สามารถรบรู ปแบบสนามเพลาะได้ แม้ว่าความรุ นแรงจะไม่ต่างจากด้านตะวันตก ก็ตาม ขณะทีแนวรบตะวันออกกลางและแนวรบ อิตาลี ก็มีการสู้รบกันอย่างดุเดือดเช่นกัน สงครามครังนี ยังเปนครังแรกในประวัติศาสตร์ ของการรบทางอากาศอีกด้วย หลังจากการรบทียาวนานตังแต่ วันที 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1914 ถึงวันที 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 รวมเวลากว่า 4 ป 4 เดือน ในทีสุด ฝายทีได้รับชัยชนะคือ ฝายพันธมิตรทีมีแกนนํา เปน ฝรังเศส อังกฤษ รัสเซีย ส่ วนฝายทีพ่ายแพ้ คือ ฝายมหาอาํ นาจกลาง ทีประกอบด้วย จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิเยอรมนี ภายหลังสงครามได้มีการเซ็นสนธิสั ญญาจาํ นวน มาก แต่สั ญญาทีสําคัญคือ สนธิสั ญญาแวร์ซายส์ (สนธิสั ญญาสั นติภาพ ซึงเปนการยุติสถานะ สงครามระหว่างฝายสั มพันธมิตรและจักรวรรดิ เยอรมัน) เมือวันที 28 มิถุนายน 1919
ผลกระทบของ สงครามโลกครงั ท1ี ผลสําคัญอย่างหนึ งคือ มีการวาดรู ปแผนทียุโรปใหม่ ทาํ ให้ ประเทศมหาอาํ นาจสูญเสี ยดินแดนของตัวเอง เปนจาํ นวนมาก - จักรวรรดิออสเตรีย- ฮังการี แตกออกเปน ประเทศใหม่ ได้แก่ ออสเตรีย ฮังการี เชโกสโลวาเกีย ยูโกสลาเวีย - จักรวรรดิออตโตมานล่มสลายไป แผ่นดิน เดิมของจักรวรรดิบางส่ วน ถูกแบ่งให้ กลายเปน อาณานิ คมของผู้ชนะสงครามทังหลาย - เยอรมัน ต้องชดใช้ค่าปฏิกรรมสงคราม จาํ นวนมหาศาล - จักรวรรดิรัสเซีย ได้สูญเสี ยดินแดน ชายแดนด้านตะวันตกจาํ นวนมาก กลายเปนประเทศ ใหม่ ได้แก่ เอสโตเนี ย ฟนแลนด์ ลัตเวีย ลิทัวเนี ย และโปแลนด์
ขณะเดียวกัน ผู้ชนะสงครามโลกครังที 1 ได้มีการก่อ ตัง สั นนิ บาตชาติ เปนองค์การทีมีสมาชิกหลาย ประเทศ โดยมีจุดประสงค์อยู่ทีการแก้ไขปญหา ระหว่างประเทศด้วยวิธีการทางการทูตสหรัฐอเมริกา ทีได้เข้ าร่วมรบ ก้าวขึ นมาเปนมหาอาํ นาจโลกเสรี เคียงคู่กับอังกฤษและฝรังเศส ส่ วนรัสเซียกลายเปน มหาอาํ นาจโลกสั งคมนิ ยม ต่อมาสามารถขยาย อาํ นาจไปผนวกกับแคว้นต่าง ๆ เช่น ยูเครน เบลารุ ส ฯลฯ จึงประกาศจัดตังสหภาพโซเวียต (Union of Soviet Republics -USSR) ในป ค.ศ. 1922 ส่ วน สนธิสั ญญาแวร์ซาย ทีร่างโดยฝาย ชนะสงครามให้ กับเยอรมนี และสนธิสั ญญาสั นติภาพ อีก 4 ฉบับให้ กับพันธมิตรของเยอรมนี นั น ก็เพือให้ ฝายผู้แพ้ยอมรับผิดในฐานะเปนผู้ก่อให้ เกิดสงคราม แล้วต้องเสี ยค่าปฏิกรรมสงคราม เสี ยดินแดนทังใน ยุโรปและอาณานิ คม ต้องลดกาํ ลังทหารกับอาวุธ และต้องถูกพันธมิตรเข้ ายึดครองดินแดน จนกว่าจะ ปฏิบัติตามเงือนไขของสนธิสั ญญา แต่เนื องจาก ประเทศผู้แพ้ไม่ได้เข้ าร่วมในการร่างสนธิสั ญญา แต่ ถูกบีบบังคับให้ ลงนามยอมรับข้ อตกลงของสนธิ สั ญญา จึงเกิดการต่อต้านในหลายประเทศ เช่น การ ก่อตัวของลัทธิฟาสซิสต์ในอิตาลี นาซีในเยอรมัน และเผด็จการทหารในญี ปุน ซึงในเวลาต่อมา ประเทศมหาอาํ นาจทัง 3 ได้ร่วมมือเปนพันธมิตร ระหว่างกัน เพือต่อต้านโลกเสรีและคอมมิวนิ สต์ เรียกกันว่าฝายอักษะ (Axis) มีการจัดตังองค์กร กลางในการเจรจาไกล่เกลียข้ อพิพาทระหว่าง ประเทศ เพือความมันคงปลอดภัยและสั นติภาพของ โลกในอนาคต
ไทยกบั สงครามโลกครงั ที 1 สงครามโลกครังที 1 ได้เกิดขึ นตรงกับ พ.ศ. 2457 ขณะนั นประเทศไทยวางตัวเปนกลาง แต่เนื องด้วย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หั ว ทีทรง ติดตามสถานการณ์ สงครามอย่างใกล้ชิด แล้วทรง เห็ นว่าฝายเยอรมันเปนฝายทีรุ กราน จึงทรงตัดสิ น พระทัยประกาศสงครามกับเยอรมนี และออสเตรีย -ฮังการี เมือวันที 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 จึงมีการ ป ร ะ ก า ศ เ รี ย ก พ ล ท ห า ร อ า ส า สํ า ห รั บ ก อ ง บิ น แ ล ะ ก อ ง ยานยนตร์ทหารบก เพือเข้ าร่วมรบในสมรภูมิยุโรป การไปร่วมรบครังนี ทหารไทยได้ประสบกาณ์ มากมาย ทังทางเทคนิ คการรบ และทางการช่างใน สงครามจริง ไทยยังได้เปลียนธงชาติทีมีสั ญลักษณ์ รู ปช้าง เปนธงไตรรงค์เพือใช้ในการนี ด้วย หลังสงครามเสร็จสิ น ฝายสั มพันธมิตรที ไทยไปช่วยรบได้รับชนะ ไทยได้รับเชิญให้ เข้ าเปน สมาชิกประเภทริเริมองค์การสั นนิ บาตชาติ อันเปน หลักประกันความปลอดภัยของประเทศ ทังยังได้รับ เกียรติเข้ าร่วมทาํ สนธิสั ญญาแวร์ซาย ได้ทาํ การยกเลิก สั ญญาทีเคยทาํ ไว้กับออสเตรีย – ฮังการีและเยอรมัน ต่อมามีการสร้างอนุสาวรีย์ทีเกียวกับสงครามโลกครัง นี และในด้านการทหาร ได้จัดตังกรมอากาศยานขึ น เปนครังแรกอีกด้วย รับ
ไ ด้ ท ร า บ ถึ ง ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ ป น ม า ข อ ง ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั ง ที 1 ไปแล้ว เชือว่าหลายคนคงได้ข้ อคิดสําคัญคือ ไม่ ควรแก้ไขปญหาต่าง ๆ ด้วยความรุ นแรง เพราะ นอกจากจะไม่ช่วยแก้ปญหาแล้ว ยังเพิมความรุ นแรง ให้ กับปญหาได้อีกด้วยค
ขอคบค่ะ ณุ
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: