สุขภาพจิตกบั ผสู้ ูงอายุ Mental health in the elderly LECTURE: KITIKORN PORNMA B.N.S. M.N.S. (PSYCHIATRIC AND MENTAL HEALTH NURSING)
ผ้ดู ูแลจำเป็นต้องทำควำมเข้ำใจว่ำผ้สู ูงอำยตุ ้องเผชิญกับปัญหำหลำย ด้ำน ไม่ว่ำจะเป็นภำวะควำมเครียด ควำมวิตกกังวล ควำมเปลย่ี นแปลง ของระดบั ฮอร์โมนในร่ำงกำยจำกภำวะร่ำงกำยที่เส่ือมถอยด้วยโรคท่ี เป็นอยู่ ผ้สู ูงอำยบุ ำงคนอำจมภี ำวะโรคซึมเศร้ำแอบแฝงอยู่อย่ำงไม่รู้ตวั ซ่ึงผ้ดู ูแลและคนใกล้ชิดต้องหมนั่ คอยสังเกตว่ำลกั ษณะกำรแสดง ออกแบบใด ที่เป็นสัญญำณน่ำห่วงในเรื่องสุขภำพจิตผ้สู ูงอำยุ สุขภาพจิตผู้สูงอายุ เรื่องสาคัญท่ีไม่ควรมองข้าม
สาเหตุทม่ี ผี ลกระทบต่อสุขภาพจติ ผู้สูงอายุ 1.ความเปล่ยี นแปลงทางดา้ นรา่ งกาย มีความเส่อื มของอวยั วะตา่ งๆ เชน่ ความจาแยล่ ง การไดย้ ินลดลง สายตาแยล่ ง มีขอ้ จากดั ในการเคลอื่ นไหวรา่ งกายทาใหช้ ว่ ยตวั เองไมไ่ ด้ ตอ้ งพง่ึ พาคนอน่ื 2.ความเปล่ยี นแปลงทางดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจ ผสู้ งู อายจุ ะมีอาการซมึ เศรา้ หงดุ หงิด ขีร้ ะแวง วติ กกงั วล โกรธงา่ ย เอาแตใ่ จ เกิดขนึ้ จากความเส่อื มของสมองและระดบั ฮอรโ์ มนในรา่ งกายไมส่ มดลุ เหมือนเดมิ การ เผชิญกบั ความสญู เสยี และการพลดั พรากของคชู่ ีวติ ญาตสิ นิทหรอื เพ่ือนฝงู เกิดความเหงา ขาดท่ีพง่ึ ทางใจ
สาเหตุทม่ี ผี ลกระทบต่อสุขภาพจติ ผู้สูงอายุ 3.ความเปล่ยี นแปลงทางดา้ นสงั คม การมีบทบาททางสงั คมลดลงทาใหผ้ สู้ งู อายสุ ญู เสียความม่นั คงในชีวติ รูส้ กึ วา่ หมด ความสาคญั ในสงั คม อย่ใู นสภาวะท่ีไรค้ ณุ คา่ สญู เสียความภาคภมู ใิ จในตนเอง และรูส้ กึ วา่ ตนเองกาลงั เรม่ิ เป็นภาระของ ครอบครวั รวมไปถงึ การสญู เสียการสมาคมกบั เพ่ือนฝงู เม่ือเกษียณอายุ หรอื ไม่สะดวกเดินทางเพราะปัญหาทางสขุ ภาพ 4.ภาวะความเจ็บป่วยดว้ ยโรคเรอื้ รงั หรอื โรคท่ีรกั ษาไมห่ าย เชน่ เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู มะเรง็ โรคสมองเส่อื ม เป็นตน้ ทาใหผ้ สู้ งู อายเุ กิดปัญหาทางดา้ นจิตใจตามมา รูส้ กึ เบ่อื หน่ายในการรกั ษาท่ียืดเยือ้ ยงุ่ ยาก เจ็บตวั มีค่าใชจ้ ่ายท่ีสงู โดยท่ีมี ผลการรกั ษาไม่หายขาด ผสู้ งู อายจุ งึ ไม่ยอมรว่ มมอื ในการรกั ษา ทาใหอ้ าการทรุดหนกั อย่างรวดเรว็ ทนทกุ ขท์ รมาน มีคณุ ภาพ ชีวิตแย่ลง
ภาวะสุขภาพจติ ทพ่ี บบ่อยในผู้สูงอายุ อารมณแ์ ปรปรวนในผู้สูงอายุ คือ อาการเปล่ยี นแปลงทางอารมณท์ ่ีรวดเรว็ อาจมีหลากหลายอารมณ์ ใน 1 วนั โดยอาจรูส้ กึ เศรา้ รูส้ กึ มีความสขุ หรอื อาจรอ้ งไหโ้ ดยไมม่ ีสาเหตุ โดยการเปล่ยี นแปลงทางอารมณ์ นีอ้ าจเกิดขนึ้ ไดต้ ามธรรมชาติ หรอื เก่ียวขอ้ งกบั อาการเจ็บป่วย ความเปลย่ี นแปลงภายในรา่ งกาย ความ ผดิ ปกตขิ องระดบั ฮอรโ์ มนในรา่ งกาย ความเครยี ด การเปล่ยี นแปลงท่ีสาคญั ในชีวิต หรอื แมแ้ ตโ่ รคจิตเวช บางชนิด
ภาวะสุขภาพจติ ทพ่ี บบ่อยในผู้สูงอายุ ภาวะเครยี ด วติ กกังวล ผสู้ งู อายจุ ะรูส้ กึ เครยี ดงา่ ย เน่ืองจากปรบั ตวั กบั การเปล่ยี นแปลงตา่ งๆ ไดย้ าก ความสามารถและประสทิ ธิภาพลดลง มกั แสดงออกเป็นความกลวั ขาดความเช่ือม่นั ในตวั เอง ยา้ คิดยา้ ทา นอนไมห่ ลบั เหงา วา้ เหว่ ทอ้ แท้ ความวิตกกงั วลอาจแสดงออกทางรา่ งกาย เชน่ ปวดศีรษะ ทอ้ งเสีย ทอ้ งผกู เบ่ืออาหาร อาหารไมย่ อ่ ย ปวดตงึ กลา้ มเนือ้ มือเทา้ เยน็ ใจส่นั เหง่ือออกตามมือ เป็นตน้ แสดงออก ดา้ นพฤติกรรม เช่น จจู้ ี้ ขีบ้ น่ มีเร่อื งขดั แยง้ กบั ผอู้ ่ืนบอ่ ยครงั้ แยกตวั จากสงั คม เกบ็ ตวั กดั เลบ็ กดั ฟัน สบู บหุ ร่ี หรอื ด่ืมเหลา้ หนกั
ภาวะสุขภาพจติ ทพ่ี บบ่อยในผู้สูงอายุ โรคซมึ เศร้าในผู้สูงอายุ เป็นการเจบ็ ป่วยทางจิตใจชนิดหนง่ึ เม่ือเกิดขนึ้ จะทาใหผ้ สู้ งู อายไุ มม่ ีความสขุ หดหู่ เบ่ือหนา่ ยสง่ิ ตา่ งๆ รอบตวั มองโลกในแง่รา้ ย ชอบอยเู่ งียบๆ ตามลาพงั รูส้ กึ ชวี ติ สนิ้ หวงั มองวา่ ตนไม่ มีคณุ คา่ บางรายมีอาการตรงกนั ขา้ ม หงดุ หงดิ โมโหง่าย เอาแตใ่ จตนเอง นอ้ ยใจง่าย ทะเลาะกบั ลกู หลาน บอ่ ยครงั้ อาการทาง จิตใจสง่ ผลใหเ้ กิดอาการทางรา่ งกาย เช่น นอนไมห่ ลบั นอนมากเกินปกติ ออ่ นเพลีย ไมส่ ดช่ืน เบ่ืออาหาร ชอบพดู เร่อื งเศรา้ ๆ ในรายท่ีมีอาการรุนแรงอาจมีความคดิ ทารา้ ยตนเองได้
อาการแบบไหน ทเี่ ข้าข่ายต้องดูแลใกล้ชิด 1.การดาเนินชวี ติ ประจาวันทเ่ี ปลี่ยนไป ไดแ้ ก่ การรบั ประทานอาหารผิดปกติ อาจจะรบั ประทานมากขนึ้ กว่าเดิม ย่งิ ไมส่ บายใจก็ย่งิ รบั ประทาน มาก หรอื บางคนก็ตรงขา้ ม คือ รบั ประทานนอ้ ยลง เบ่อื อาหาร ซูบผอมลงทง้ั ๆ ท่ีไมม่ ปี ัญหาทางรา่ งกาย บางคนมี อาการทอ้ งอืด ทอ้ งเฟอ้ 2.รูปแบบการนอนทผี่ ิดปกติ อาจจะมีการนอนหลบั มากกวา่ ปกติ เชน่ มีอาการงว่ ง ซมึ อยากนอนตลอดเวลา หรอื บางคนก็ตรงขา้ มคือ นอนไมห่ ลบั ตกใจต่ืนตอนดกึ แลว้ ไมส่ ามารถหลบั ตอ่ ไดอ้ ีก บางคนอาจมอี าการฝันรา้ ยตดิ ตอ่ กนั บอ่ ยๆ 3.อารมณผ์ ิดปกติ บุคลิกภาพเปลย่ี นไปจากเดมิ เชน่ หงดุ หงิดบอ่ ยขนึ้ เคยเป็นคนรา่ เรงิ แจม่ ใส ชา่ งพดู ชา่ งคยุ ก็กลบั ซึมเศรา้ เงียบขรมึ เครง่ เครยี ด ฉนุ เฉียว ไมพ่ ดู ไมจ่ า บางคนอาจเคยพดู นอ้ ยก็กลายเป็นคนพดู มาก วิตกกงั วลมากขนึ้ กว่าเดมิ จนสงั เกตเห็นได้ และสรา้ งความลาบากใจ ใหก้ บั คนรอบขา้ ง เป็นตน้ 4.มีอาการเจบ็ ป่ วยทางกายซงึ่ หาสาเหตุไม่พบ เร่อื งนีผ้ ดู้ แู ลควรสงั เกตใหม้ าก เพราะโรคบางอย่างยงั ตรวจไมพ่ บอาจเป็นอาการแอบแฝงของโรค รา้ ยแรงบางชนิดได้ เช่น อาการปวดเม่อื ยตามตวั ปวดศีรษะ ปวดกระดกู วงิ เวียนศีรษะ ปวดทอ้ ง เป็นตน้
แนวทางการดูแลสุขภาพจติ ใจของผู้สูงอายุ •การใหเ้ กียรติ ยอมรบั ในการตดั สินใจ ยอมรบั บทบาท และใหค้ วามสาคญั กบั ผสู้ งู อายุ เช่น คอยซกั ถาม เร่อื งสขุ ภาพและความเป็นอยู่ ชวนคยุ เลา่ เรอ่ื งสนกุ ๆ ใหท้ า่ นฟัง •หากิจกรรมใหผ้ สู้ งู อายทุ า เป็นสงิ่ ท่ีทาแลว้ เพลดิ เพลิน สิง่ ท่ีทา่ นชอบและสนใจท่ีจะทา หม่นั ทากจิ กรรม รว่ มกนั เพ่ือสง่ เสรมิ ความสมั พนั ธใ์ นครอบครวั กระตนุ้ ในผสู้ งู อายรุ ูส้ กึ วา่ ตนเองเป็นท่ีปรกึ ษาของบคุ คลใน ครอบครวั ได้ •อยา่ ทาใหผ้ สู้ งู อายรุ ูส้ กึ วา่ เขาเป็นผทู้ ่ีทาใหค้ ณุ ตอ้ งแบกภาระเหน่ือยยากในการดแู ล
แนวทางการดูแลสุขภาพจติ ใจของผู้สูงอายุ •หม่นั สงั เกตความผดิ ปกติ และควรสอบถามสาเหตทุ ่ีทาใหผ้ สู้ งู อายเุ กิดความวิตกกงั วล พูดคยุ และรบั ฟัง แลกเปล่ยี นวิธีแกไ้ ขปัญหารว่ มกนั ไมค่ วรใหผ้ สู้ งู อายเุ กบ็ ปัญหา หรอื ความไมส่ บายใจไวเ้ พียงลาพงั •ใหผ้ สู้ งู อายพุ บปะกบั บคุ คลท่ีชอบหรอื คนุ้ เคย เชน่ ลกู หลาน เพ่ือน หรอื เพ่ือนบา้ น •ชวนสวดมนต์ ปฏบิ ตั ิธรรม ฝึกสมาธิ ปรบั เปล่ยี นบรรยากาศใหผ้ สู้ งู อายรุ ูส้ กึ สดช่ืน หลีกเล่ยี งเหตกุ ารณท์ ่ี ทาใหเ้ กิดความกระทบกระเทือนใจ
ความสุขของผู้สูงวัยเกดิ ขนึ้ ไดด้ ว้ ยความรัก ความเข้าใจของผู้ดแู ลและคนใกล้ชิด ลูกหลานจงึ ควรมองการแสดงออกของผู้สูงอายุหรือปัญหาทเ่ี กิดขนึ้ ดว้ ยทศั นคตเิ ชงิ บวก จะช่วยใหเ้ รารู้สาเหตแุ ละค้นพบทางแก้ปัญหาทเี่ หมาะสม สาหรับตวั ผู้สูงอายุ เอง ควรทาความเข้าใจกับธรรมชาตยิ อมรับการเปลี่ยนแปลงทงั้ ทางร่างกาย อารมณ์ และความรู้สึกของตวั เองอยา่ งเทา่ ทนั และปรับตวั กับการเปล่ียนแปลงนั้นเพอ่ื ให้ ชีวติ มีความสุข
อย่างไรกต็ าม หากพยายามแก้ไขกับปัญหาแล้ว แตก่ ลับไม่ดีขนึ้ ควรไปปรึกษาแพทยเ์ พอ่ื หาสาเหตุและรับการรักษาทเ่ี หมาะสม ตอ่ ไป
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: