Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5.งานนำเสนอ บทที่ 11 photosynthesis 2565

5.งานนำเสนอ บทที่ 11 photosynthesis 2565

Published by กชพรรณ บุญกัน, 2022-08-27 11:02:08

Description: 5.งานนำเสนอ บทที่ 11 photosynthesis 2565

Search

Read the Text Version

1) C3 pathway (Calvin’s cycle) 36 2. Reduction : รีดวิ ซ์ 12 PGA ใช้ 12ATP + 12NADPH เปลีย่ นเป็นนา้ ตาล 12 PGAL (3C) : 12ATP เติมหมู่ Pi ให้ 12 PGA : 12 PGA ถกู รดี วิ ซโ์ ดย 12NADPH : ไดน้ า้ ตาลเสถยี รตวั แรก : 12PGAL --- นาไปสรา้ ง glucose sucrose starch สลายเป็นพลังงาน : PGAL แบ่งเป็น 2 กอง PGAL (3C) แยกออกมาเกิด dehydration สรา้ ง 1 glucose (6C) 10PGAL (3C) วนกลบั เพือ่ สร้างเปน็ RuBP กลบั คนื (Regeneration) 3. Regeneration : 6ATP เติมหมู่ Pi ให้ 10PGAL เปลี่ยนโครงสรา้ งเปน็ 6RuBP : ขนั้ ตอนนีจ้ ะอาศัย ATP จาก cyclic e- transfer รว่ มด้วย การสร้าง glucose 1 โมเลกุล เกิด Calvin cycle 6 รอบ (1 รอบ ต่อการตรึง C02 1 โมเลกุล) ใช้ 18 ATP และ 12 NADPH

ขนั้ ตอนที่ 1 คาร์บอกซเิ ลชนั : Carboxylation 37 เรมิ่ ตน้ จาก RuBP (5C) สมการ คือ 3CO2 + 3RuBP + 3H2O 6PGA จับกับคารบ์ อนไดออกไซด์ แล้วได้ผลิตภณั ฑ์เป็น PGA(3C) ขน้ั ตอนที่ 2 Reduction: รีดกั ชนั PGA เปลี่ยนแปลงเปน็ PGAL เนอื่ งจากได้รบั อิเล็กตรอนจาก NADPH + H+ 6PGA + 6NADPH + H+ + 6ATP 6PGAL + 6NADP++ 6Pi + 6H2O + 6ADP ขั้นตอนที่ 3 เปน็ ข้นั ตอนทจี่ ะสร้าง RuBP กลบั ขึ้นมาใหมเ่ พ่ือกลับไปรบั CO2 เขา้ สู่วัฏจกั รใหมโ่ ดย G3P จานวน 5 โมเลกุล จะถกู นากลบั ไปสรา้ ง RuBP ใหม่อกี คร้ัง Regeneration: รีเจเนอเรชัน สมการ คอื 5PGAL +3ATP 6PGAL + 3ADP + 2Pi

การตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 fixation) 38 C3 - pathway เมือ่ เกิด light reaction มากเกนิ ไปทาให.้ ... ---- มี ATP, NADPH, O2 มากเกนิ กวา่ กาลังการผลิตน้าตาลของ Calvin’s cycle ---- เมือ่ ในสภาพทม่ี ี C02 ถูกใช้ไปเยอะๆ (Calvin’s cycle เกินมากขนึ้ ) CO2 ลดลง CO2 มากขนึ้ (จาก light reaction) ---- O2 > CO2 ทาให้ RubisCO หันมาตรงึ O2 แทนการตรึง CO2 เอนไซม์ RubisCO จะทาหน้าทเ่ี ป็น Oxygenase ตรงึ O2ไดเ้ ป็นสาร ---- Phosphoglycolate (2C) ---- Phosphoglycolate เกิดปฏกิ ิรยิ าต่อใน Chloroplast Mitochondria และ Peroxisome จนสดุ ทา้ ยได้ PGA(3C) และ CO2 ปลดปลอ่ ยออกมา เรยี กกระบวนการนว้ี า่ “การหายใจแสง: Photorespiration”

การหายใจแสง (Photorespiration) 39 การหายใจแสง (Photorespiration) เกิดข้ึนในวนั ทมี่ ีแสงแดดจัด ทาให้พืชปิดปากใบ O2 จะไปแย่ง CO2 จับเอนไซม์ กับเอนไซม์ RubisCO ทาใหเ้ กิด PGA และ ฟอสโฟไกลโคเลต (Phosphoglycolate) 1 โมเลกุล โดยฟอสโฟไกลโคเลต จะถกู สง่ ไปสลายท่ี Peroxisome และMitochondria โดยใชพ้ ลังงานสลายให้กลายเป็น CO2 RubisCO การหายใจแสงของพชื (Photorespiration)

การหายใจแสง (Photorespiration) 40 ---- เกิดในภาวะ Light reaction มาก → ATP, NADPH, 02 มากเกิน แต่ CO2 น้อยลงจน Calvin’s cycle ไม่ สามารถสร้างน้าตาลได้อีก จนอาจทาให้เกิดอันตรายจากสารพลังงานสูงท่ีเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ มีการตรึง O2 (Oxygenation) O2 จะไปแย่งจับ RubisCO แข่งขันกับ CO2 ---- RuBP ตรึง O2 (Oxygenation) ได้ PGA + Phosphoglycolate ---- PGA(3C) ท่ไี ด้ จะเขา้ สู่ Calvin ไดเ้ ลย ---- Phosphoglycolate ตอ้ งเปลย่ี นแปลงเป็น PGA กอ่ นเกิดปฏิกริ ิยาตอ่ ที่ Peroxisome และ Mitochondria ได้ PGA และ CO2 ---- มีการใช้ ATP + NADPH + O2 สูงมาก ขอ้ ดคี ือ จะได้ใช้ ATP + NADPH ให้หมด แลว้ ได้ ADP + Pi + NADP+ เพอ่ื หมุนเวยี นใชต้ อ่ ใน light reaction เพอ่ื ปอ้ งกันอันตรายแก่พืช

ปัจจัยที่ทาให้เกิด Photorespiration 41 1) แสงมาก → Light reaction มากกว่า Calvin’s cycle 2) อณุ หภูมสิ งู - CO2 ละลายไดน้ อ้ ยลง ก็จะตรงึ CO2 ไดน้ อ้ ยลงทาให้ RubisCO ตรงึ O2 มากข้ึน 3) CO2 ในเน้ือเยอ่ื ลดลงเกดิ Calvin’s cycle นอ้ ยลง จึงตอ้ งตรึง O2 ---- พืช C3 มกี ารตรงึ O2 มากท่ีสดุ เพราะไม่มกี ลไกการเพมิ่ CO2 ในเนื้อเย่ือ ---- พชื C4 และ พชื CAM ไมพ่ บ Photorespiration เพราะมกี ลไกการเพ่ิม CO2 ในเน้ือเยื่อดว้ ยการตรึง 2 ครั้ง โดย C4 – Hatch and Slack pathway และ CAM - pathway พชื C3 Cuticle พืช C4 Upper Epidermis Palisade mesophyll Bundle sheath cell Vascular bundle Vascular bundle Bundle sheath cell Spongy mesophyll Lower epidermis โครงสรา้ งภายในของใบพชื C3 และ พืช C4

การตรึง CO2 ของพืช C3 C4 และ CAM 42 --- พืช C3 : พืชที่ตรึง C02 แล้วได้ สารเสถียรตัวแรก มี 3C = PGA (Phosphoglycerate) ใช้ Calvin’s cycle อยา่ งเดียว จงึ สามารถเกดิ Photorespiration ได้สูง --- พืชเขตอบอุ่น พชื ท่วั ไป เชน่ ข้าวสาลี ข้าวเจา้ ข้าวบารเ์ ลย์ เป็นต้น ---- พืช C4 มลี ักษณะโครงสร้างภายในใบท่ีแตกต่างไปจากพืช C3 โครงสร้างภายในใบพืช C4 ประกอบด้วย epidermal cell, mesophyll cell และ Bundle sheath cell ท่ีมคี ลอโรพลาสต์ ซ่งึ Bundle sheath cell เป็นเซลลท์ ี่อยู่ล้อมรอบมดั ท่อลาเลียงน้า (vascular bundle) โครงสร้างแบบน้ี เรยี กวา่ Kranz anatomy พชื C4 : พืชที่ ตรึง C02 2 ครั้งต่อรอบ ไดส้ ารเสถยี รตวั แรกมี 4C = OAA(Oxaloacetate) ตรงึ ครง้ั ที่ 1 ใช้ Hatch & Slack pathway ตรึงครงั้ ที่ 2 ใช้ Calvin’s cycle --- พืชทนรอ้ น เชน่ ออ้ ย ข้าวโพด ขา้ วฟ่าง หญ้าคา หญา้ ขน ลกู เดือย บานไม่ร้โู รยหญา้ แหว้ หมู หญ้าแพรก ผัดโขมจนี หญา้ ขจรจบ ผักเป็ด หงอนไก่

การตรึง CO2 ของพืช C4 : Hatch & Slack Pathway 43 C4 pathway (Hatch and Slack pathway) ---- พบในพชื C4 มปี ระสทิ ธิภาพผลิตกลูโคส สูงกว่า C3 มาก เพราะว่าพชื C4 มีกลไกการตรึง C02 2 คร้ัง ครัง้ ที่ 1 : Hatch and Slack pathway เกิดท่ี Mesophyll ครง้ั ท่ี 2 : Calvin’s cycle เกดิ ที่ Bundle sheath ได้สารเสถียรตวั แรก มี 4C = OAA (Oxaloacetate) 1) Hatch and Slack pathway เกิดที่ Mesophyll --- ตรงึ C02 จากบรรยากาศ โดยเอนไซม์ PEP carboxylase PEP (Phosphoenolpyruvate(3C)) + C02 → OAA (4C) --- OAA(4C) ออกซไิ ดซ์ NADPH เปลีย่ นเป็น Malate(4C) --- ลาเลยี ง Malate(4C) ไปท่ี Bundle sheath cell --- Malate ปล่อย C02 สู่ Calvin’s cycle ใน Bundle sheath --- Malate(4C) เปล่ียนเปน็ Pyruvate(4C) --- Pyruvate(3C) ใช้ ATP เติมหมู่ Pi กลับไปเปน็ PEP ดงั เดมิ

การตรงึ CO2 ของพืช C4 : Hatch & Slack Pathway 44 --- ตรงึ C02 โดยใช้ PEP carboxylase แล้วเก็บ C02 ในรูป HCO3- (สารละลาย) ก่อน แล้วคอ่ ยไปตรึงใน Calvin cycle (รอบ 2) เป็นกลไกเพ่มิ ความเขม้ ข้นของ CO2 2) Calvin cycle เกดิ ที่ bundle sheath ตรึงโดย RubisCO เหมือนกบั C3 path way รบั CO2 จาก Malate (3C)

การตรงึ CO2 ของพืช CAM : Crassulacean Acid Metabolism 45 CAM pathway (Crassulacean acid metabolism) 2) Calvin’s cycle ---- พบใน พชื CAM (Crassulacean acid metabolism) (กลางวัน) เชน่ กลว้ ยไม้ ลน้ิ มงั กร กระบองเพชร กุหลาบหนิ สบั ปะรด การตรึง C02 คล้าย C4 แต่ตรึงคนละเวลา ---- การตรึง CO2 จากบรรยากาศ ในขนั้ Hatch & Slack (กลางคืน) เพราะ 1. ปากใบ เปิด-กลางคนื แต่ ปิด-กลางวัน 2. PEP carboxylase ไมใ่ ช้แสงกระตุน้ ** 3. ATP ทใี่ ช้ มาจาก Cellular respiration (มาจากการหายใจระดับเซลล์) 4. กระบวนการนี้เกดิ ใน Cytosol ของ Mesophyll 1) Hatch and Slack pathway (กลางคืน)

การตรึง CO2 ของพชื CAM : Crassulacean Acid Metabolism 46 1) Hatch and Slack pathway (กลางคืน) 2) Calvin’s cycle (กลางวัน) ---- เกิดที่ mesophyll (cytosol) (night) ---- เกิดท่ี mesophyll (กลางวนั ) ---- ตรงึ C02 จากบรรยากาศ โดยเอนไซม์ PEP carboxylase ---- ตรึงโดย RubisCO ---- PEP(3C) + CO2 OAA(4C) ---- เหมือนกับ C3 path way ---- OAA(4C) ออกซไิ ดซ์ NADPH เปลยี่ นเปน็ Malate (Malic acid) ---- รบั CO2 จาก Malate(4C) ---- ซงึ่ Malic acid(4C) เก็บไว้ใน Sap vacuole ก่อน CAM Plant C02 C4 Plant C02 จากการสะสมในเนื้อเยื่อ จากบรรยากาศ ดงั น้ัน เนื้อเยือ่ ของพชื CAM จงึ เปน็ กรดตอนกลางคืน Mesophyll C02 Organic acid Night Day (จากการสะสม Malic acid) รอมีแสงมากระตุ้น cell C02 (กลางวนั ) Malic acid จงึ ถกู ลาเลยี งไปใChloroplast เพอ่ื ไปปล่อย CO2 ให้ Calvin’s cycle เมอ่ื มีแสง Bundle Calvin’s Calvin’s RubisCO ใน Calvin cycle จงึ จะทางาน sheath cycle cycle cell Sugar Sugar

เปรียบเทียบกระบวนการตรึง CO2 ของพชื C3 C4 และ CAM 47 จานวนคร้ังท่ีตรึง 1 ครง้ั / รอบ 2 ครง้ั / รอบ 2 ครง้ั / รอบ จากบรรยากาศและ จากบรรยากาศและ สารท่ีใช้ตรึง CO2 RuBP (5C) จากการสะสมในเน้ือเยอื่ จากการสะสมในเน้อื เย่อื เอนไซมท์ ใี่ ช้ตรึง ตาแหน่งการตรึง PGA (3C) PEP (3C) PEP (3C) Mesophyll RuBP (5C) RuBP (5C) ผลติ ภัณฑต์ วั แรกทีส่ เถยี ร OAA (4C) Hatch & Slack PGA (3C) Phosphoglycerate OAA (4C) Mesophyll Calvin’s cycle --- 1) Mesophyll OAA (4C) Oxaloacetate เกดิ ท่ี Mesophyll 2) Bundle sheath cell เกิดท่ี Mesophyll ตอนกลางคืน เกดิ ที่ Mesophyll ตอนกลางวนั OAA (4C) Oxaloacetate เกิด ที่ Mesophyll เกดิ ท่ี Bundle sheath cell

เปรยี บเทียบกระบวนการตรึง CO2 ของพืช C3 C4 และ CAM 48 เอนไซมใ์ น Mesophyll RubisCO PEP Carboxylase PEP Carboxylase RubisCO RubisCO เอนไซม์ใน Bundle sheath --- cell --- เกดิ ไดม้ าก Photorespiration สงู ไมม่ ี ไมม่ ี (ต้องการ CO2 มาก) CO2 ต่า ต่า ตา่ Saturation point (มีกลไกการเพ่ิม CO2) (มีกลไกการเพมิ่ CO2) ตา่ สูง ตา่ ทส่ี ุด Light พืชทั่วไป Saturation point ปานกลาง สูง กระบองเพชร กลว้ ยไม้ สับปะรด ประสทิ ธิภาพการใช้นา้ ออ้ ย ข้าวโพด ขา้ วฟ่าง บานไมร่ โู้ รย หญ้าคา หญา้ ขน ตวั อย่างพืช

เปรียบเทียบกระบวนการตรึง CO2 ของพืช C3 C4 และ CAM 49 การมี Bundle sheath cell อาจมี หรอื ไมม่ ี มี Bundle sheath อาจจะมี หรือไมม่ ี กลไกการตรึง CO2 ถา้ มีจะไม่พบคลอโรพลาสต์ ทม่ี ี คลอโรพลาสต์ Mesophyll = Kranz anatomy cell C02 C02 C02 Malic acid/ Malate Mesophyll (4C) cell C02 Oxaloacetate (4C) Calvin’s cycle Mesophyll RuBP Budle C02 cell sheath Sugar cell Calvin’s cycle PGA(3C) Calvin’s cycle Sugar Sugar

ปัจจยั ทม่ี ผี ลตอ่ อตั ราการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง 50 ---- ปรมิ าณแสง (Light) Light compensation --- ความเขม้ แสงมาก ทาให้อัตราการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงสงู ขนึ้ จนถงึ จุดอิ่มตัวของแสง --- ปรมิ าณแสงทเ่ี พม่ิ ข้ึน คือ อนภุ าค Photon ที่เพ่ิมมากขึ้นจะไปกระต้นุ ทาให้ point เป็นค่าปริมาณแสงที่การ สั ง เ ค ร า ะ ห์ ด้ ว ย แ ส ง ส ม ดุ ล กั บ 1. Photosystem ในปฏกิ ริ ยิ า Light reaction มกี ารถา่ ยทอดอิเล็กตรอนมากข้นึ กระบวนการหายใจระดับเซลล์ของพืชหรือ 2. กระตนุ้ การแตกตวั ของน้า (Photolysis) มากยิ่งขึ้นทาใหม้ ีการถา่ ยทอดอเิ ล็กตรอนมากยง่ิ ขน้ึ การการรับ C02 ใน Calvin’s cycle 3. กระต้นุ การทางานของเอนไซมห์ ลายชนิดใน Calvin’s cycle ให้ Active เชน่ RubisCo เท่ากับการปล่อย C02 ใน Kreb’s 4. กระตุน้ ให้มกี ารเปดิ ปากใบรบั แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เข้ามาใน Calvin’s cycle มากย่ิงข้ึน cycle Light saturation point เป็นค่าปริมาณแสงที่การสังเคราะห์ด้วย แสงของพืชจะไมเ่ พม่ิ ข้นึ ได้อกี แลว้ แม้ว่าจะ เพม่ิ ความเขม้ แสงใหม้ ากข้นึ ทั้งพืช C3 และ พืช C4 จะมี Light compensation point ท่ีคล้ายกัน สว่ นมาก C4 จะมี Light compensation point ต่ากว่า แสดงว่า C4 ไวตอ่ แสงมากกวา่ พืชในร่ม มี Light compensation point ต่ากว่าพืชกลางแจ้ง แสดงว่าพืชใน รม่ มอี ัตราการหายใจต่ากว่า แสงเพียงเล็กน้อยสามารถทาให้อัตราสังเคราะห์ด้วยแสงเพิ่มจนถึง จดุ สมดุลได้มาก

ปัจจัยทีม่ ผี ลต่ออัตราการสังเคราะห์ดว้ ยแสง 51 ---- ปริมาณคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) เมื่อเพ่ิมความเข้มข้นของคาร์บอนดออกซด์ไปถึง ระ ดับ หน่ึ งที่ ท า ให้ อัต รา ก า รต รึง คา ร์บ อน ได ออ ก ไ ชด์ ด้ว ย กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเท่ากับอัตราการปล่อย คาร์บอนไดออกไซด์จากกระบวนการหายใจ เรียกความเข้ม ขั น ข อ ง ค า ร์ บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์ ณ จุ ด น้ี ว่ า ค า ร์ บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์ ค อ ม เ พ น เ ซ ช่ั น พ อ ย ท์ ( CO2 compensation point) จากกราฟ จะเห็นว่าถา้ ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์เพม่ิ ขน้ึ ซ่ึงเป็นจุดที่พืชมีอัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ พืชจะตรึงแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดไ์ ปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงมากขึ้น สุทธเิ ท่ากบั ศนู ยแ์ ละเมือ่ เพม่ิ ความเข้มขน้ ของคารบ์ อนไดออกไซด์ จนกระทั่งถึงจดุ หน่ึงอัตราการตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์จะไมเ่ พมิ่ เรยี กว่า มากขึ้นอัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์จะมากกว่าอัตราการ จุดอม่ิ ตวั ของคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 Saturation point) ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากการหายใจ นั่นคืออัตรา การตรงึ คารบ์ อนไดออกไซดส์ ุทธิเปน็ บวก เม่ือพืชได้รับคาร์บอนไดออกไซด์ในปริมาณท่ีต่ากว่าค่า คารบ์ อนไดออกไชด์คอมเพนเซชนั จะทาให้พืชตายได้

ปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ อัตราการสงั เคราะห์ด้วยแสง 52 ---- อุณหภมู ิ (Temperature) โดยท่ัวไปอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ และจะมากท่ีสุดเม่ือ ถึงอุณหภูมิหน่ึง ถ้าอุณหภูมิมากกว่านี้อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดลง เนื่องจาก เอนไซมท์ ี่เก่ยี วขอ้ งกับกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงจะทางานไดด้ ใี นอุณหภูมทิ ่ีเหมาะสม อุณหภูมิมีผลต่อการทางานของเอนไซม์จึงเป็นปัจจัย ท่ีส่งผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง ถ้าพืชได้รับแสง และปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์เพียงพอ เมื่ออุณหภูมิ สูงขึ้น 10 องศาเซลเซียส อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง จะเพมิ่ ข้นึ 2 เท่า โดยท่วั ไปอณุ หภูมทิ ี่เหมาะสมต่อการสงั เคราะห์ด้วยแสงมากที่สุดมี จากกราฟ จะเห็นวา่ พชื C3 สังเคราะห์ดว้ ยแสงไดด้ ีท่สี ุดในช่วงอุณหภูมิประมาณ ค่าประมาณ 10-35 องศาเชลเซียส ถ้าพืชได้รับอุณหภูมิท่ีไม่เหมาะสม 25 ℃ ส่วนพืช C4 สงั เคราะห์ดว้ ยแสงได้ดีในชว่ งอณุ หภูมิประมาณ 35 ℃ อณุ หภมู ทิ ่ีสงู หรอื ต่าเกินไปจะทาให้อัตราการสังเคราะห์ดว้ ยแสงสุดลง

ปัจจัยทีม่ ีผลต่ออัตราการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง ธาตอุ าหารของพืช 53 ปรมิ าณนา้ ที่พชื ไดร้ ับ การปิดเปิดปากใบจะมีผล ธาตุอาหารท่ีเกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ ธาตุแมกนีเซียมและไนโตรเจนซึ่งเป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ อายใุ บของพืช ต่ อ ก ร ะ บ ว น ก า ร แ พ ร่ ข อ ง แ ก๊ ส เม่ือพืชขาดธาตุชนิดนี้จะทาให้ขาดคลอโรฟิลล์ด้วย ใบพืชจึงเกิดอาการ ใบเหลอื งซีดเรยี กอาการทปี่ รากฎเชน่ นีว้ ่า คลอโรชิส (chlorosis) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และ แก๊สออกซิเจน(O2) ท่ีแพร่เข้าออก นอกจากน้ีแมกนีเซียมและไนโตรเจนยังเป็นองค์ประกอบของ ผ่านปากใบ ดังน้ัน ปริมาณน้าท่ี ไ ซ โ ท โ ค ร ม ที่ ท า ห น้ า ท่ี ใ น ก า ร ถ่ า ย ท อ ด อิ เ ล็ ก ต ร อ น ข อ ง ปฏิกริ ยิ าแสงด้วย ซ่งึ จะสง่ ผลให้อตั ราการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงลดลง พืชได้รับจึงมีผลต่อการสังเคราะห์ ธาตุแมงกานีสและคลอรีนเป็นธาตุอาหารที่ใช้ในกระบนการ ด้วยแสงของพืช สลายโมเลกุลของน้าเพื่อให้อิเล็กตรอนไปชดเชยในระบบแสง II ของ ปฏกิ ิริยา ท่ีมกี ารถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักรธาตุเหล็กจาเป็นต่อ ปัจจัยด้านอายุของใบพืชจะมีผลต่ออัตราการ การสรา้ งคลอโรฟลิ ลแ์ ละเป็นองคป์ ระกอบของไชโทโครมซึ่งเปน็ ตัวถ่ายทอด สังเคราะห์ด้วยแสง โดยใบพืชท่ีอ่อนหรือแก่เกินไปจะมี อเิ ล็กตรอน ความสามารถในการสังเคราะห์ด้วยแสงต่ากว่าใบพืชท่ี เจรญิ เติบโตเต็มท่ี เพราะวา่ ใบท่ีอ่อนเกนิ ไปการพัฒนาของ ดังน้ัน การขาดธาตุอาหารของพืชจึงทาให้ประสิทธิภาพใน คลอโรพลาสต์ยังไม่เจริญเต็มที่ ส่วนใบท่ีแก่เกินไปจะมี การสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืชลดลง การสลายตัวของกรานุมและคลอโรฟิลล์มีผลทาให้การ สังเคราะห์ด้วยแสงของพชื ลดลง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook