การเตรยี มตัวและปฏบิ ตั ิตนเมื่อเกิด แผน่ ดนิ ไหว กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย
แผ่นดนิ ไหว EarthQuake เปน็ ปรากฎการณธ์ รรมชาตทิ เี่ กดิ จากการเคลอื่ นตวั โดยฉบั พลนั ของเปลอื กโลก ท�ำ ใหเ้ กดิ การสน่ั สะเทอื นของ พน้ื ดนิ หากมคี วามรนุ แรงมากจะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย ร้ายแรงต่อชีวติ และทรพั ยส์ ินของมนษุ ย์ 2 การเตรียมตัวและปฏิบัตติ นเมื่อเกิดแผน่ ดนิ ไหว
ขนาดความรนุ แรงของ แผ่นดินไหว ขนาด (รกิ เตอร์) ความรุนแรง น้อยกว่า 3.0 ประชาชนไมร่ ้สู ึก ตรวจวัดได้เฉพาะเคร่ืองมือ 3.0 - 3.9 คนอยู่ในบา้ นเทา่ น้ันรู้สกึ 4.0 - 4.9 ประชาชนส่วนใหญ่รสู้ ึกได้ 5.0 - 5.9 ประชาชนทุกคนรู้สกึ 6.0 - 6.9 และอาคารเสียหาย 7.0 - 7.9 ประชาชนต่นื ตกใจ และอาคารเสยี หายปานกลาง อาคารเสียหายอย่างมาก มากกว่า 8.0 อาคารเสยี หายเกอื บทง้ั หมด “ป้องกนั ภัยเชิงรุก บรรเทาทุกขเ์ ม่อื เกดิ ภัย ฟืน้ ฟูและกู้ภยั คอื หัวใจ กรม ปภ.” 3
วิธีการสงั เกต แมว้ า่ แผน่ ดนิ ไหวเปน็ ภยั ธรรมชาตทิ ่ีไมส่ ามารถคาดเดา ได้ว่าจะเกดิ เม่ือใด แตเ่ ราสามารถสังเกตจากส่ิงรอบตวั ทบี่ ่ง บอกว่าจะเกดิ แผน่ ดนิ ไหว ไดแ้ ก่ น�ำ้ ในแมน่ ้ำ�มีสขี นุ่ ระดบั นำ้�เปล่ียนแปลง พฤตกิ รรมของสัตวเ์ ปลยี่ นไป เช่น สนุ ัข เป็ด ไก่ ตื่นตกใจ หนู งู วง่ิ ออกจากรู ปลากระโดดข้นึ จากผวิ น้ำ� 4 การเตรียมตัวและปฏบิ ัตติ นเมอ่ื เกดิ แผน่ ดนิ ไหว
ป้องกันไว้ กอ่ นเกิดแผน่ ดนิ ไหว ควรเตรียมเคร่ืองอุปโภคที่จำ�เป็นไว้ใช้ยามฉุกเฉิน เชน่ ไฟฉายพรอ้ มถ่าน ยาสามญั ประจ�ำ บ้าน อาหาร สำ�เรจ็ รปู น้�ำ ด่ืม เส้ือผา้ สำ�รอง และเครื่องนอนสนาม เปน็ ตน้ “ป้องกนั ภัยเชงิ รกุ บรรเทาทกุ ข์เมื่อเกดิ ภยั ฟนื้ ฟแู ละกภู้ ัย คือหวั ใจ กรม ปภ.” 5
ตรวจสภาพความปลอดภัยของอาคารบ้านเรือน และ อุปกรณ์เครื่องใช้ขนาดใหญ่ควรยึดตรึงกับฝาบ้านหรือ เสาโครงสรา้ ง สงิ่ ของหนกั ๆ ควรวางไวท้ ต่ี �่ำ สดุ วางโตะ๊ ตู้ หรอื เตียงนอนใหห้ ่างจากหน้าต่าง 6 การเตรยี มตวั และปฏบิ ตั ติ นเมอื่ เกิดแผน่ ดนิ ไหว
ซักซ้อมความพร้อมของสมาชิกในครอบครัว กำ�หนด วธิ ปี ฏบิ ตั เิ มอื่ เกดิ แผน่ ดนิ ไหว และจดุ นดั พบทปี่ ลอดภยั ภายนอกบ้าน รวมทงั้ สอนสมาชกิ ในครอบครวั ใหร้ ้จู กั วธิ ตี ดั ไฟ ปดิ วาลว์ น�้ำ และถงั แกส๊ “ป้องกันภยั เชิงรุก บรรเทาทุกขเ์ มือ่ เกดิ ภยั ฟน้ื ฟูและกภู้ ัย คือหวั ใจ กรม ปภ.” 7
ในพื้นทีเ่ ส่ยี งภัยแผน่ ดินไหว ต้องสรา้ งอาคารบา้ นเรอื นให้ เป็นไปตามทก่ี ฎหมายก�ำ หนด แนะน�ำ ใหส้ มาชกิ ทกุ คนเรยี นรวู้ ธิ กี ารปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ 8 การเตรียมตัวและปฏิบัตติ นเมอื่ เกดิ แผ่นดนิ ไหว
ควรเตรยี มไฟฉาย นกหวดี และตดิ ต้ังเครื่องดับเพลงิ ไว้ประจำ�จุดเส่ยี งในอาคารบา้ นเรอื น ควรจดั หาเครอื่ งรบั วทิ ยทุ ่ีใชถ้ า่ นหรอื แบตเตอรี่ ส�ำ หรบั เปิดฟงั ขา่ วสาร คำ�เตือน ค�ำ แนะนำ� “ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทกุ ข์เมอื่ เกดิ ภยั ฟื้นฟูและกู้ภยั คือหัวใจ กรม ปภ.” 9
ขณะเกิดแผ่นดนิ ไหว จะรบั มอื อย่างไร ควบคุมสติอย่าตื่นตระหนก เปิดวิทยุติดตามรับฟัง ค�ำ เตอื น ค�ำ แนะน�ำ จากทางราชการอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และ ปฏิบัติตาม คำ�แนะนำ�อย่างเคร่งครัด อย่าวิ่งเข้าออก นอกบา้ นเพราะอาจท�ำ ใหไ้ ดร้ บั บาดเจบ็ ได้งา่ ย 10 การเตรียมตวั และปฏิบตั ิตนเมือ่ เกดิ แผน่ ดนิ ไหว
ตรวจสอบและปิดวาลว์ น�้ำ ปิดแก๊ส และยกสะพานไฟ ส�ำ หรับตัดกระแสไฟฟา้ และตัดตอนการสง่ นำ�้ เมอ่ื เกดิ เหตุแผน่ ดนิ ไหว “ป้องกนั ภยั เชิงรุก บรรเทาทุกขเ์ ม่ือเกิดภยั ฟ้นื ฟแู ละกภู้ ัย คอื หัวใจ กรม ปภ.” 11
ห้ามใช้เทียน ไม้ขีดไฟ ไฟแช็ก หรือสิ่งท่ีทำ�ให้เกิด ประกายไฟ เพราะถา้ มีแก๊สรั่ว อาจท�ำ ใหต้ ดิ ไฟได้ 12 การเตรยี มตวั และปฏิบัติตนเมอ่ื เกิดแผน่ ดินไหว
มาตรการ หมอบ-ปอ้ ง-เกาะ เม่ือเกิดแผน่ ดนิ ไหว “หมอบ” เม่อื เกิดเหตแุ ผน่ ดินไหวให้หมอบลงกบั พื้น “ปอ้ งกนั ภยั เชิงรุก บรรเทาทกุ ข์เมอ่ื เกิดภยั ฟ้นื ฟแู ละกู้ภัย คอื หวั ใจ กรม ปภ.” 13
มาตรการ หมอบ-ป้อง-เกาะ เม่อื เกิดแผน่ ดนิ ไหว ใช้แขนปก “ป้อง” ศีรษะและคอ เพ่ือป้องกันสิ่งของ หลน่ ใส่ 14 การเตรียมตวั และปฏิบัติตนเมอ่ื เกิดแผน่ ดินไหว
มาตรการ หมอบ-ป้อง-เกาะ เม่อื เกิดแผน่ ดนิ ไหว “เกาะ” ยึดเกาะโต๊ะให้แน่นและเคล่ือนตัวไปพร้อมโต๊ะ รอจนความส่ันไหวยตุ ลิ งแล้วจึงออกไปสจู่ ุดทีป่ ลอดภัย “ปอ้ งกันภัยเชิงรุก บรรเทาทกุ ข์เมือ่ เกิดภัย ฟน้ื ฟแู ละก้ภู ยั คอื หัวใจ กรม ปภ.” 15
ส�ำ หรับผู้ท่ี อยู่ในบ้านเรือน ให้ยืนหรือหมอบอยู่ในส่วนที่โครงสร้างแข็งแรงท่ี สามารถรบั น�้ำ หนกั ไดม้ าก หรอื หลบอยู่ใตโ้ ตะ๊ หรอื เตยี ง ให้อยู่ห่างจากบริเวณที่อาจมีวัสดุหล่นใส่ หลบลงใต้ โต๊ะหรือมุมห้องและให้อยู่ห่างจากประตู ระเบียงและ หน้าต่าง 16 การเตรยี มตวั และปฏิบตั ติ นเม่อื เกดิ แผน่ ดนิ ไหว
ส�ำ หรับผู้ท่ี อยู่ในตึกสูง ถ้าอาคารมั่นคงแข็งแรงให้หลบอย่อู าคารน้นั “ป้องกนั ภัยเชงิ รกุ บรรเทาทุกข์เมอ่ื เกิดภัย ฟืน้ ฟูและก้ภู ัย คอื หัวใจ กรม ปภ.” 17
ถา้ อาคารเกา่ และไมม่ น่ั คงใหห้ าทางออกจากอาคาร โดยเร็วทีส่ ุด 18 การเตรยี มตัวและปฏบิ ตั ติ นเมอ่ื เกดิ แผ่นดนิ ไหว
หลังการส่ันสะเทือนส้ินสุด ให้รีบออกจากอาคาร เมอื่ มีค�ำ สง่ั ใหอ้ พยพจากผคู้ วบคุมสถานการณ์ “ป้องกนั ภัยเชิงรกุ บรรเทาทกุ ข์เมื่อเกิดภัย ฟน้ื ฟแู ละกู้ภยั คอื หวั ใจ กรม ปภ.” 19
ถา้ อยู่ใกลท้ างออก ใหร้ บี หาทางออกจากอาคารโดยเรว็ อยา่ แย่งกันออกจนเกดิ ความชลุ มุน 20 การเตรียมตัวและปฏิบัติตนเมอ่ื เกิดแผ่นดินไหว
กรณที ี่ไมอ่ ยู่ใกลท้ างออกให้ “หมอบ” “ปอ้ ง” “เกาะ” จนกว่าจะมีผ้เู ข้าไปช่วยเหลอื “ปอ้ งกนั ภยั เชงิ รุก บรรเทาทุกขเ์ มอ่ื เกดิ ภัย ฟื้นฟูและกู้ภยั คือหวั ใจ กรม ปภ.” 21
เม่ือเกิดเหตุแผ่นดินไหว ห้ามใช้ลิฟต์โดยเด็ดขาด เพราะหากไฟฟา้ ดบั อาจตดิ อยู่ในลิฟต์ 22 การเตรยี มตัวและปฏิบัตติ นเม่อื เกดิ แผ่นดินไหว
ให้ระวังช้ินส่วนของอาคารหล่นใส่ อย่าอยู่ใต้คาน ทช่ี �ำ รดุ ใกล้หนา้ ต่าง กระจกและระเบียง “ป้องกันภัยเชิงรกุ บรรเทาทุกข์เม่อื เกดิ ภยั ฟ้ืนฟูและกู้ภยั คือหวั ใจ กรม ปภ.” 23
สำ�หรบั ผู้ท่ี อยู่ในท่ีโลง่ แจง้ ใหอ้ ยหู่ า่ งจากอาคาร ก�ำ แพง ปา้ ยโฆษณาขนาดใหญ่ ต้นไมข้ นาดใหญ่ และเสาไฟฟา้ 24 การเตรยี มตัวและปฏิบัตติ นเมือ่ เกิดแผ่นดนิ ไหว
สำ�หรบั ผู้ท่ี ขบั รถยนต์ ถา้ ก�ำ ลงั ขบั หรอื อยู่ในรถ ใหห้ ยดุ จอดในทปี่ ลอดภยั จนกระทั่งการสัน่ สะเทือนสนิ้ สุดลง “ป้องกนั ภยั เชงิ รกุ บรรเทาทกุ ข์เม่อื เกดิ ภัย ฟนื้ ฟูและกู้ภยั คือหัวใจ กรม ปภ.” 25
ส�ำ หรับผทู้ ่ี อยู่บริเวณชายหาด หากอยบู่ รเิ วณชายหาด ใหอ้ ยหู่ า่ งจากชายฝง่ั หรอื หลบ ข้ึนที่สูงเพราะอาจเกิดคลื่นยักษ์ขนาดใหญ่ (สึนามิ) ซดั เข้าหาฝ่งั 26 การเตรยี มตวั และปฏิบัตติ นเม่ือเกดิ แผ่นดนิ ไหว
การปฏบิ ัติตน ภายหลังเกดิ แผน่ ดินไหว ตรวจสอบตวั เองและคนรอบข้างวา่ ไดร้ ับบาดเจบ็ หรอื ไม่ ปฐมพยาบาลขั้นต้นผไู้ ดร้ ับบาดเจบ็ ก่อน “ป้องกนั ภยั เชงิ รุก บรรเทาทุกขเ์ มอ่ื เกดิ ภยั ฟน้ื ฟแู ละกภู้ ยั คือหัวใจ กรม ปภ.” 27
รีบออกจากอาคารที่เสียหายทันทีเพราะหากเกิด แผน่ ดนิ ไหวตามมา(After-shock) อาคารอาจพงั ลงมาได้ 28 การเตรยี มตวั และปฏิบัตติ นเมอ่ื เกิดแผ่นดินไหว
ใสร่ องเทา้ หมุ้ สน้ เสมอ เพอ่ื ปอ้ งกนั เศษแกว้ วสั ดแุ หลมคม และส่งิ หกั พงั ท่มิ แทง “ป้องกนั ภยั เชงิ รกุ บรรเทาทกุ ข์เม่อื เกดิ ภยั ฟืน้ ฟูและกภู้ ัย คือหวั ใจ กรม ปภ.” 29
ตรวจสอบสายไฟ ทอ่ น�ำ้ ทอ่ แกส๊ ถา้ แกส๊ รว่ั ใหป้ ดิ วาลว์ ถงั แก๊ส และยกสะพานไฟ เพื่อปอ้ งกนั อคั คีภยั 30 การเตรยี มตัวและปฏิบัติตนเมื่อเกดิ แผน่ ดินไหว
ตรวจสอบแก๊สร่วั ดว้ ยการดมกลนิ่ เทา่ นน้ั ถ้าได้กลน่ิ ให้ เปดิ ประตู หนา้ ตา่ งทุกบานเพื่อระบายอากาศ อยา่ จุดไมข้ ดี หรอื ก่อไฟ จนกว่าจะแน่ใจวา่ ไม่มแี กส๊ ร่วั “ปอ้ งกนั ภัยเชิงรกุ บรรเทาทกุ ขเ์ มอื่ เกดิ ภยั ฟนื้ ฟแู ละก้ภู ัย คือหวั ใจ กรม ปภ.” 31
ใหอ้ อกจากบริเวณทสี่ ายไฟขาดหรอื วัสดทุ ่สี ายไฟพาดถงึ ส�ำ รวจความเสียหายของท่อนำ�้ ทอ่ น้ำ�ทิ้ง ทอ่ สว้ มกอ่ นใช้ 32 การเตรียมตวั และปฏิบตั ติ นเมือ่ เกดิ แผ่นดินไหว
เปดิ วทิ ยตุ ดิ ตามฟงั สถานการณแ์ ละค�ำ แนะน�ำ ฉกุ เฉนิ ห้ามใช้โทรศัพท์ นอกจากจ�ำ เปน็ จริงๆ “ปอ้ งกนั ภยั เชิงรุก บรรเทาทกุ ขเ์ ม่อื เกิดภัย ฟน้ื ฟแู ละกภู้ ัย คอื หวั ใจ กรม ปภ.” 33
หา้ มเขา้ ไปในเขตพนื้ ทท่ี มี่ คี วามเสย่ี งหรอื มอี าคารพงั อย่าสรา้ งขา่ วลอื เพอ่ื ให้เกดิ การตืน่ ตระหนก 34 การเตรยี มตัวและปฏบิ ัตติ นเม่อื เกิดแผน่ ดินไหว
หากประสบเหตุ ตดิ ตอ่ ขอรบั ความชว่ ยเหลือได้ท่ี สายด่วนนิรภัย 1784 และ ในเขตต่างจงั หวดั ตดิ ตอ่ ที่ สำ�นกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ทุกจงั หวัด หมายเลขโทรศพั ท์สำ�คญั แจง้ เหตุดว่ นเหตรุ ้าย 191 ศนู ย์เตอื นภยั พบิ ตั ิแห่งชาติ 192 ศูนย์ปฏบิ ัติการธรณพี ิบตั ภิ ัย 0-2621-9701 ถึง 5 “ป้องกันภัยเชงิ รุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกดิ ภัย ฟ้ืนฟูและกภู้ ัย คือหวั ใจ กรม ปภ.” 35
“ปอ้ งกนั ภยั เชงิ รกุ บรรเทาทุกขเ์ มอื่ เกดิ ภยั ฟน้ื ฟูและกู้ภัย คือหวั ใจ กรม ปภ.” กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย โทร. 0-2637-3458-61 โทรสาร 0-2243-6622 www.disaster.go.th สายด่วนนิรภัย 1784
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: