ตรวจสอบความพรอ มบทที่ 13 การจดั การนำ้ สขุ าภบิ าล และสุขอนามยั หนา้ ทแี่ ละความรบั ผิดชอบ เจ้าหน้าท่แี ละอาสาสมคั รในศูนย์ได้รบั การอบรมเก่ยี วกบั การใหค้ วามคุม้ ครอง บุคคลทม่ี คี วามตอ้ งการพเิ ศษ และลงลายมอื ชอ่ื ในระเบยี บขอ้ บงั คบั ทก่ี ำหนดไว้ มหี น่วยงานภาครฐั ซง่ึ ใหบ้ รกิ ารดา้ นสขุ าภบิ าลในศนู ยอ์ ยา่ งพอเพยี ง และมกี าร มอบหมายอำนาจผดู้ แู ลในสว่ นน้ี ผใู้ หบ้ รกิ ารดา้ นสขุ าภบิ าลมคี วามรคู้ วามเชย่ี วชาญ ไดร้ บั การฝึกอบอรมมาอยา่ งดี และมวี สั ดอุ ุปกรณ์ทม่ี คี ณุ ภาพ กลุม่ ประสานงานดา้ นสขุ าภบิ าลและเจา้ หน้าทส่ี ขุ าภบิ าลสว่ นทอ้ งถน่ิ มคี วามเขา้ ใจ ในหน้าทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั กบั ทมี งานบรหิ ารจดั การศนู ย์ มกี ารระบุขอบเขตของการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งชดั เจน กลุม่ ผพู้ กั พงิ ในศนู ยพ์ กั พงิ รบั ทราบอยา่ งทวั่ ถงึ วา่ จะมใี คร ทำอะไร ทไ่ี หน และ อยา่ งไร หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งร่วมกนั กำหนดและยอมรบั ในมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านดา้ น สขุ าภบิ าลในศนู ยพ์ กั พงิ กลุ่มบรกิ ารดา้ นสุขาภบิ าลและสาธารณูปโภคพน้ื ฐานใชม้ าตรฐานระดบั ประเทศ ในการทำงานโดยมกี ารควบคมุ และรกั ษามาตรฐานตวั ชว้ี ดั คณุ ภาพรวมถงึ แนวทาง การดำเนินงานอยา่ งต่อเน่ือง มกี ารควบคมุ ดแู ลระบบงานดา้ นสขุ าภบิ าล มกี ารใชแ้ แผนงานและขอ้ มลู รว่ มกนั ทงั้ ขอ้ มลู ดา้ นบรกิ ารและดา้ นสง่ิ ทข่ี าดเหลอื ผพู้ กั พงิ ในศนู ยพ์ กั พงิ โดยเฉพาะผหู้ ญงิ และเดก็ มสี ว่ นรว่ มในการปฏบิ ตั งิ านดา้ น สขุ าภบิ าล ตงั้ แต่การวางแผน การดำเนินการ การปรบั ปรงุ ตกแต่งศนู ยพ์ กั พงิ (ในกรณที จ่ี ำเป็น) การกำกบั ดแู ล การประสานงาน ไปจนถงึ การบำรงุ ดแู ลรกั ษา ความสะอาด ใหบ้ รกิ ารดา้ นสขุ าภบิ าลอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม และสง่ เสรมิ ใหผ้ พู้ กั พงิ เขา้ มามบี ทบาท ในคณะทำงานดา้ นสขุ าภบิ าล นำภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ มาประยกุ ตใ์ ช้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในดา้ นการบรหิ ารจดั การนำ้ คณะบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว เจา้ หน้าทแ่ี ละอาสาสมคั รของกลมุ่ ใหบ้ รกิ าร ดา้ นสขุ าภบิ าล เคารพและปฏบิ ตั ติ ามวฒั นธรรมของกลุม่ ผพู้ กั พงิ
การจัดการน้ำ รบั ทราบและสามารถระบุตำแหน่งของแหลง่ น้ำทน่ี ำมาใช้(ทงั้ ภายในและภายนอก ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว) และมกี ารประเมนิ หาแหลง่ น้ำสำรอง ในกรณที จ่ี ำเป็น พจิ ารณาและรบั ทราบถงึ ระดบั น้ำบาดาล ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวมแี หล่งน้ำเพอ่ื อุปโภคและบรโิ ภคอยา่ งเพยี งพอตามมาตรฐาน ระดบั ประเทศและระดบั สากล บรเิ วณแหลง่ น้ำเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย สะอาดและปลอดภยั มกี ารควบคมุ ดแู ลคณุ ภาพน้ำอยา่ งสมำ่ เสมอ คำนึงถงึ ระบบระบายน้ำรอบหอ้ งสขุ า และพน้ื ทซ่ี กั ลา้ งในศนู ยพ์ กั พงิ มกี ารประเมนิ ถงึ ความตอ้ งการใชน้ ้ำทงั้ ในระยะสนั้ และระยะยาว และมกี ารจดั การ น้ำใหเ้ พยี งพอต่อความตอ้ งการ มกี ารตรวจสอบประเมนิ ความเสย่ี งของการปนเป้ือนในน้ำและแหลง่ น้ำ มกี ารบำบดั คณุ ภาพน้ำในกรณที จ่ี ำเป็น ผพู้ กั พงิ มอี ุปกรณ์กกั เกบ็ น้ำ เชน่ ภาชนะกกั เกบ็ น้ำ ถงั สำรองน้ำ ตามความ เหมาะสม มกี ารทำขอ้ ตกลงกบั ชุมชนขา้ งเคยี งในกรณีทต่ี อ้ งใชแ้ หล่งน้ำสาธารณะนอกศูนย์ พกั พงิ หากมกี ารจดั สรรปนั สว่ นน้ำใช้ ผพู้ กั พงิ ไดร้ บั แจง้ ถงึ เหตุผลทต่ี อ้ งใชแ้ นวทางเลอื ก ดว้ ยวธิ กี ารทโ่ี ปรง่ ใสและทวั่ ถงึ (ศกึ ษาแนวทาง ‘‘4R’’ ในบทท่ี 14 ของ ชดุ แนวทาง บรหิ ารจดั การทอ่ี ยอู่ าศยั ชวั่ คราว) กลุ่มคนทต่ี อ้ งการความช่วยเหลอื พเิ ศษและบุคคลในกลุ่มเสย่ี งควรไดส้ ทิ ธใิ นการ เขา้ ถงึ แหลง่ น้ำก่อน ในกรณที น่ี ้ำขาดแคลน ระบบสุขาภบิ าลและหอ้ งนำ้ มหี อ้ งสขุ าและพน้ื ทซ่ี กั ลา้ งทส่ี ะอาด พอเพยี งและเหมาะสมกบั ประเพณที อ้ งถน่ิ สงิ่ อำนวยความสะดวกดา้ นสขุ าภบิ าลตงั้ อยใู่ นสถานทท่ี ป่ี ลอดภยั ตามมาตรฐาน หากเป็นไปได้ ใหผ้ หู้ ญงิ มสี ว่ นรว่ มในการออกแบบและวางตำแหน่งระบบสขุ าภบิ าล บรกิ ารขนั้ พน้ื ฐานทางสขุ าภบิ าลมคี วามสะดวก งา่ ยตอ่ การใชแ้ ละดแู ลรกั ษาสำหรบั ผพู้ กั พงิ มกี ารพจิ ารณาถงึ ความสะดวก ความสะอาด ความปลอดภยั ความเป็นสว่ นตวั และ ความเหมาะสมทางวฒั นธรรมในการจดั ตงั้ สง่ิ ระบบสขุ าภบิ าล
ระบบสุขาภิบาลและห้องน้ำ รบั ทราบถงึ พฤตกิ รรมการขบั ถ่ายของคนในทอ้ งถนิ่ และหามาตรการรองรบั ดา้ น ความสะอาดและปลอดภยั มกี ารทำความสะอาดถงั เกรอะหรอื บอ่ บำบดั น้ำเสยี และมกี ารรกั ษาความสะอาด โครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นสขุ าภบิ าล มอี า่ งลา้ งมอื ไวบ้ รกิ ารในหอ้ งสขุ า การระบายนำ้ และการดแู ลรกั ษา รกั ษาความสะอาดในพน้ื ทศ่ี นู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวโดยรวม มกี ารจดั ตงั้ ระบบการระบายน้ำเสยี และการจดั การน้ำทเ่ี หมาะสม และตรวจสอบวา่ พน้ื ทศ่ี นู ยพ์ กั พงิ ไมไ่ ดต้ งั้ อยตู่ รงทน่ี ้ำขงั หรอื เสย่ี งกบั น้ำทว่ ม ระบบการระบายน้ำเสียได้รบั การดูแลอย่างสม่ำเสมอจากหน่วยงานภาครฐั อาสาสมคั ร กลุม่ ผพู้ กั พงิ และคณะทำงานดา้ นสขุ าภบิ าล มกี ารดแู ลเอาใจใสร่ ะบบการระบายน้ำเสยี บรเิ วณรอบหอ้ งสขุ า หอ้ งอาบน้ำและ พน้ื ทซ่ี กั ลา้ ง คณะทำงานด้านสุขาภบิ าลและกลุ่มผู้พกั พงิ มสี ่วนร่วมช่วยกนั ดูแลรกั ษาความ สะอาด โดยกำหนดหน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบอยา่ งชดั เจน การกำจดั ขยะมลู ฝอย และการจดั การศพผู้เสียชวี ติ ในศูนย์ พจิ ารณาและทราบถงึ วธิ กี ำจดั ขยะทป่ี ฏบิ ตั กิ นั ในทอ้ งถน่ิ สำรวจและประเมณิ ประเภทของขยะมลู ฝอย (เชน่ ขยะจากครวั เรอื น ขยะจากการ พาณชิ ย์ และขยะทางการแพทย)์ มกี ารจดั ตงั้ ดแู ลควบคมุ และประเมณิ ผลระบบการกำจดั ขยะทป่ี ลอดภยั มกี ารจดั ตารางเวลากำหนดการเกบ็ ขยะโดยหารอื กบั หน่วยงานภาครฐั และผพู้ กั พงิ สถานทเ่ี กบ็ ขยะ หรอื วางถงั ขยะอยใู่ นทท่ี เ่ี หมาะสม ตามมาตรฐานและตวั ชว้ี ดั ของ ประเทศหรอื สากล ขยะทางการแพทยถ์ ูกนำออกจากพน้ื ทแ่ี ละเผาในเตาเผาภายใตก้ ารควบคุมของ เจา้ หน้าท่ี เกบ็ รวบรวมขยะทน่ี ำกลบั มาใชไ้ ดอ้ กี เพอ่ื นำไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์
การกำจดั ขยะมูลฝอย และการจัดการศพผู้เสยี ชีวติ ในศูนย์ หน่วยงานภาครฐั และทมี งานบรหิ ารจดั การศูนยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวตดิ ตามอตั ราการ เสยี ชวี ติ ในศนู ย์ ผพู้ กั พงิ รายงานการเสยี ชวี ติ ใหห้ น่วยงานสว่ นทอ้ งถน่ิ /หน่วยงานภาครฐั และทมี งาน บรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวทราบ รายงานให้หน่วยงานท่เี ก่ยี วขอ้ งทราบกรณีมผี ูพ้ กั พงิ ท่เี สยี ชวี ติ ด้วยโรคไขร้ าก สาดใหญ่และอหวิ าตกโรค และใหเ้ จา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ ยา้ ยรา่ งผชู้ วี ติ ดว้ ยโรค ดงั กลา่ วออกจากพน้ื ทโ่ี ดยดว่ น การส่งเสริมสุขอนามัย และควบคุมพาหะนำโรค รบั ทราบถงึ โรคระบาดและโรคตดิ ต่อในพน้ื ท่ี พรอ้ มทงั้ หาแนวทางป้องกนั ตาม ลำดบั ความเสย่ี ง รบั ทราบถงึ ปญั หาดา้ นสขุ อนามยั เรง่ ดว่ นและหาแนวทางแกไ้ ข มยี ทุ ธศาสตรก์ ารสง่ เสรมิ และใหค้ วามรดู้ า้ นสขุ อนามยั แกผ่ พู้ กั พงิ ในศนู ย์ ใชก้ ารส่อื สารและขอ้ มูลทช่ี ดั เจนและเขา้ ใจง่ายในการส่งเสรมิ สุขอนามยั ในศูนย์ พกั พงิ ผพู้ กั พงิ มคี วามเขา้ ใจวา่ สขุ อนามยั ทไ่ี มด่ อี าจเป็นสาเหตุทม่ี าของโรคตดิ ต่อ กลมุ่ ผหู้ ญงิ และเดก็ มสี ว่ นรว่ มหลกั ในการสง่ เสรมิ สขุ อนามยั มแี นวทางทส่ี รา้ งสรรคใ์ นการนำเสนอเพอ่ื สง่ เสรมิ สขุ อนามยั เชน่ การแสดงละคร ภาพวาดและการต์ นู เพอ่ื สอ่ื สารใหเ้ ดก็ และคนทอ่ี า่ นหนงั สอื ไมอ่ อก ในกรณที ม่ี กี ารใชส้ ารเคมเี พอ่ื ฆา่ เชอ้ื โรค ควรเกบ็ รกั ษาและใชส้ ารเคมดี งั กลา่ ว อยา่ งปลอดภยั โดยเจา้ หน้าทแ่ี ละอาสาสมคั รทใ่ี ชส้ ารเคมดี งั กลา่ วไดร้ บั การฝึกวธิ ี ใชอ้ ยา่ งถถ่ี ว้ น
ตรวจสอบความพรอมบทท่ี 14 การเขา ถงึ บริการดานสขุ ภาพ การเขา้ ถึงบริการด้านสุขภาพ การรักษาสุขภาพ และความรดู้ ้านสุขภาพ ทมี บรหิ ารจดั การศูนย์พกั พงิ ชวั่ คราวตรวจสอบการดำเนินงานของหน่วยงาน บรกิ ารดา้ นสขุ ภาพภายในศนู ยใ์ หเ้ ป็นไปตามบนั ทกึ ขอ้ ตกลง (MoU) ทท่ี ำรว่ มกบั หน่วยงานสาธารณสขุ สว่ นทอ้ งถนิ่ ซง่ึ กำหนดบทบาทและหน้าทใ่ี นการใหบ้ รกิ าร ดา้ นสขุ ภาพ การดำเนินการเมอ่ื อกจากศนู ยพ์ งั พงิ ชวั่ คราว และขอบเขตการให้ ความชว่ ยเหลอื โดยอาศยั ทรพั ยากรทม่ี อี ยู่ ประสานงานกบั หน่วยงานภาครฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง(เชน่ สภากาชาดและองคก์ รอสิ ระอน่ื ๆ) มกี ารประชุมและแบ่งปนั ขอ้ มูลกบั หน่วยงานสาธารณสุขส่วนท้องถ่ินเก่ียวกบั บรกิ ารดา้ นสขุ ภาพในศนู ย์ การสำรวจและประเมินสขุ ภาพ เรง่ สำรวจและประเมนิ สขุ ภาพของกลุม่ ผพู้ กั พงิ ภายใน 1-3 วนั แรกทม่ี กี ารยา้ ยเขา้ มาพกั พงิ ในศนู ย์ การตรวจสขุ ภาพดงั กลา่ วควรดำเนินการโดยเจา้ หน้าทท่ี ม่ี คี วาม รแู้ ละประสบการณ์ และไมไ่ ดเ้ กย่ี วขอ้ งกบั การเมอื งหรอื ขอ้ พพิ าทอน่ื ๆ ใชผ้ ลของการประเมนิ สขุ ภาพเรง่ ดว่ นเป็นขอ้ มลู ในการสรา้ งแนวทางรบั มอื ปญั หา ดา้ นสขุ ภาพ สำรวจการใหบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพทม่ี อี ยรู่ อบศนู ย์ เชน่ การใหบ้ รกิ ารชนิดใด และ สถานทท่ี ใ่ี หบ้ รกิ าร ทม่ี อี ยา่ งสมำ่ เสมอ มกี ารประเมนิ สุขภาพทเ่ี จาะลกึ และละเอยี ดหลงั จากการประเมนิ ครงั้ แรกภายใน สามสปั ดาหเ์ พอ่ื กำหนดแผนการใหบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพ และควรมกี ารประเมนิ ผล หลงั จากนนั้ เป็นระยะ โครงสรา้ งของบรกิ ารสาธารณสุข โครงสรา้ งของบรกิ ารสาธารณสขุ ภายในศนู ยพ์ กั พงิ ออกแบบมาเพอ่ื ใหบ้ รกิ ารดา้ น สขุ ภาพทกุ ระดบั แกผ่ พู้ กั พงิ กำหนดระบบการสง่ ตวั ผปู้ ว่ ยรว่ มกบั โรงพยาบาลท่ี จะทำการรกั ษาต่อ เจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ ปฏบิ ตั ติ ามนโยบายโดยมกี ารรกั ษา วนิ ิจฉยั โรคตามอาการ และสงั่ จา่ ยยาใหส้ อดคลอ้ งกบั แนวทางสาธารณสขุ สว่ นทอ้ งถน่ิ หากเป็นไปได้ ควรทำใหเ้ ทยี บเทา่ มาตรฐานสากล มมี าตรฐานในการจา้ งงาน จดั ใหม้ กี ารการฝึกอบรม และมเี จา้ หน้าทค่ี วบคมุ ดแู ล ทงั้ คนทำงานทม่ี าจากทอ้ งถน่ิ และเจา้ หน้าทท่ี ม่ี าจากตา่ งประเทศ (คมู่ อื การจา่ ยเงนิ เดอื นและคา่ ตอบแทน) รวมถงึ เจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ
โครงสรา้ งของบริการสาธารณสุข มเี ครอ่ื งมอื สำหรบั การฝึกความพรอ้ มรวมทงั้ ในกระบวนการฝึกฝนควรมเี จา้ หน้าท่ี คอยดแู ลและใหค้ ำปรกึ ษา ใหก้ ารสนับสนุนเร่อื งวสั ดุอุปกรณ์และการขนส่งเพ่อื อำนวยความสะดวกในการ บรกิ ารสขุ ภาพในศนู ยพ์ กั พงิ หากขาดแคลนทรพั ยากร ควรมกี ารขอความชว่ ย เหลอื จากหน่วยงานภาครฐั ระบบฐานข้อมลู ดา้ นสขุ ภาพ จดั ตงั้ ระบบฐานขอ้ มลู ดา้ นสขุ ภาพรว่ มกบั เจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ ภายในศนู ยพ์ กั พงิ สนบั สนุนใหห้ น่วยงานดา้ นสาธารณสขุ มกี ารรายงานเป็นประจำ ระบุความเสย่ี ง ต่อการเกดิ โรคระบาด และใหก้ ารสนบั สนุนการแจง้ เตอื นระดบั การแพรร่ ะบาด ของโรค การควบคุมโรคตดิ ต่อและโรคระบาด กำหนดหน่วยงานภาครฐั เพอ่ื ประสานงานรบั มอื การแพรร่ ะบาดของโรค แผนการตงั้ รบั กบั การแพรร่ ะบาดของโรคจะเรมิ่ ขน้ึ เมอ่ื ไดร้ บั การยนื ยนั ผลจากหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารถงึ โรคทร่ี ะบาด เผยแพรแ่ ละปฏบิ ตั ติ ามแผนรบั มอื สถานการณ์ฉุกเฉิ น ทงั้ น้ีแผนฉุกเฉนิ ควรมกี ารสำรองอุปกรณ์และวางแผนการใชท้ รพั ยากรเพอ่ื รั บมอื กบั โรคระบาด มกี ารพฒั นามาตรฐานและวธิ กี ารรกั ษาโรคตดิ ต่อรา้ ยแรง (โรคทอ้ งรว่ ง โรคตดิ เชอ้ื ในระบบทางเดนิ หายใจ โรคหดั และโรคมาเลเรยี ) และมกี ารเผยแพรแ่ ผนรบั มอื โรคตดิ ต่อทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ในศนู ยพ์ กั พงิ ในภาวะฉุกเฉนิ ทงั้ น้ีการรกั ษาพย าบาลควรรกั ษาจากหลกั ฐานทพ่ี บ การฝึกอบรมของหน่วยงานทท่ี ำงานดา้ นสาธารณสขุ ภายในศนู ยต์ อ้ งปฏบิ ตั ติ ามแ นวทางในการวนิ ิจฉยั และการรกั ษาโรคตดิ ต่อ มบี รกิ ารทางการแพทยทค่ี รอบคลมุ ผพู้ กั พงิ ทป่ี ว่ ยดว้ ยโรคเอดสใ์ นภาวะฉุกเฉนิ ซ่ึ งรวมถงึ การใหก้ ารดแู ลรกั ษาและรณรงคใ์ หข้ อ้ มลู เพอ่ื ป้องกนั การแพรร่ ะบาดของ โรคเอดส์ สขุ อนามยั เจริญพนั ธ์ุ มกี ารกำหนดหน่วยงานภาครฐั หรอื หน่วยประสานงาน เพอ่ื ดแู ลสขุ อนามยั เจรญิ พนั ธใุ์ น ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว มชี ดุ ดแู ลสขุ อนามยั เจรญิ พนั ธพุ์ น้ื ฐานใหเ้ จา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ (ขน้ึ อยกู่ บั ระยะของการ ตงั้ ครรภ)์ มกี ารควบคมุ ดแู ลบรกิ ารดา้ นสขุ อนามยั เจรญิ พนั ธุ์
สุขอนามัยเจริญพันธ์ุ เตรยี มพรอ้ ม “เครอ่ื งมอื ทำคลอดทป่ี ราศจากเชอ้ื โรค” และมเี จา้ หน้าทผ่ี ดงุ ครรภท์ ม่ี คี วาม รปู้ ระจำศนู ยอ์ นามยั มรี ะบบการสง่ ตวั ผปู้ ว่ ยในกรณเี กดิ เหตุภาวะวกิ ฤตระหวา่ งคลอด ป้องกนั และหาแนวทางการรบั มอื กบั ผลกระทบท่เี กดิ จากปญั หาความรุนแรงทางเพศ โดยเฉพาะความพรอ้ มดา้ นความช่วยเหลอื ทางการแพทยส์ ำหรบั ผทู้ โ่ี ดนล่วงละเมดิ ทาง เพศ เผยแพรข่ อ้ มลู ความชว่ ยเหลอื ดงั กลา่ วใหก้ ลุม่ ผพู้ กั พงิ ควรรบั ทราบ สุขภาพจิตและความช่วยเหลอื ทางจติ สังคม (MHPSS) มีการให้ความช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตและจิตสงั คมโดยเน้นกิจกรรมทางจิตสงั คม มบี รกิ ารทางการแพทยส์ ำหรบั กลมุ่ ผพู้ กั พงิ ทม่ี อี าการความผดิ ปกตทิ างจติ การใหค้ วามรู้ดา้ นสขุ ภาพ หน่วยงานด้านสาธารณสุขมสี ่วนช่วยในการประเมนิ ปญั หาด้านสุขภาพและช้กี ลุ่มท่มี ี ปญั หาทางสขุ ภาพ เพอ่ื ดำเนินการแกป้ ญั หาโดยการใหค้ วามรดู้ า้ นสขุ ภาพ มชี อ่ งทางสอ่ื สารและขอ้ มลู เกย่ี วกบั สขุ ภาพทเ่ี น้นกลุม่ เป้าหมาย ตอ้ งมกี ารตรวจสอบ วางแผนควบคมุ ดแู ลและประเมนิ ผลการใหค้ วามรดู้ า้ นสขุ ภาพใน ระดบั ชาติ ปัญหาด้านสุขภาพในกรณกี ารปิดศนู ยพ์ ักพงิ ชวั่ คราว มกี ารเปิดใหบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพขนั้ พน้ื ฐานทงั้ ภายใน (ในลกั ษณะของคลนิ ิกเคลอ่ื นท)่ี หรอื รอบๆ ศนู ยพ์ กั พงิ จนกวา่ ผพู้ กั พงิ จะเดนิ ทางออกจากศนู ยพ์ กั พงิ จนหมด มกี ารวางแผนลดระดบั การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางดา้ นสขุ ภาพโดยคำนงึ ถงึ ความสอดคลอ้ ง ของจำนวนผพู้ กั พงิ ทค่ี งเหลอื กบั ความตอ้ งการใชบ้ รกิ ารทางดา้ นสขุ ภาพ มกี ารประสานงานและแลกเปลย่ี นขอ้ มูลกบั เจา้ หน้าทส่ี าธารณสุขเก่ยี วกบั การกลบั คนื ถนิ่ ทอ่ี ยอู่ าศยั ของผพู้ กั พงิ และมกี ารรณรงคใ์ หผ้ พู้ กั พงิ ทราบถงึ การบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพท่ี สามารถเขา้ ถงึ ไดใ้ นถน่ิ ทอ่ี ยอู่ าศยั เดมิ มกี จิ กรรมการตรวจสขุ ภาพและการใหข้ อ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ งเพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจกบั ผพู้ กั พงิ ถงึ เหตุผลของการตรวจสขุ ภาพ
รายการตรวจสอบความพรอ มบทท่ี 15 การศกึ ษา โอกาสและโครงสรา้ งทางการศึกษา โอกาสทางการศกึ ษาในระดบั ประถม มธั ยม และการศกึ ษานอกโรงเรยี นของเดก็ ขอ้ มลู พน้ื ฐานดา้ นการศกึ ษาทค่ี วรจะม:ี • จำนวนสถานศกึ ษาทม่ี อี ยู่ (ระดบั อนุบาล ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา) • จำนวนสถานศกึ ษาทไ่ี ดร้ บั ความสนบั สนนุ จากรฐั บาล หรอื องคก์ รพฒั นาเอกชน (NGO) และสถานศกึ ษาทางศาสนา • อายแุ ละเพศของเดก็ วยั เรยี นแบง่ ตามประเภทและระดบั ชนั้ ศกึ ษา(ระดบั อนบุ าล ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา) • จำนวนนกั เรยี นในแต่ละโรงเรยี น แยกตามจำนวนหญงิ ชาย มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสถานศึกษาท่ีผู้พกั พิงเข้าเรียน (เดก็ และเยาวชน) อยา่ งสมำ่ เสมอ หามาตรการวางแผนปรบั ปรงุ คณุ ภาพทางการศกึ ษา มกี ารจดั การเรยี นการสอนทส่ี อดคลอ้ งกบั ประสบการณแ์ ละความตอ้ งการของผพู้ กั พงิ จดั การเรยี นสอนโดยใชภ้ าษาทผ่ี เู้ รยี นถนดั และใชห้ ลกั สตู รการศกึ ษาประจำประเทศ สดั สว่ นจำนวนครตู ่อจำนวนนกั เรยี นในโรงเรยี นสอดคลอ้ งกบั มาตราฐานในระดบั ประเทศ สถานศกึ ษาและอาคารเรยี นตงั้ อยู่ในที่ที่ปลอดภยั และสร้างได้ตรงตามกฎหมาย อาคารของประเทศ สถานศกึ ษามหี อ้ งน้ำและพน้ื ทล่ี า้ งมอื ทถ่ี กู สขุ ลกั ษณะ วางแผนและประเมินผล จงั หวดั มแี ผนการใหก้ ารศกึ ษาแกเ่ ดก็ และเยาวชนทจ่ี ำตอ้ งอพยพโยกยา้ ยทอ่ี ยอู่ าศยั จงั หวดั มรี ะบบประเมนิ การเรยี นการสอนเพอ่ื วดั ระดบั การเรยี นรขู้ องเดก็ และเยาวชน ทจ่ี ำตอ้ งอพยพโยกยา้ ยทอ่ี ยอู่ าศยั ประกาศนียบัตร มกี ารใหเ้ อกสารรบั รองผลการศกึ ษาของเดก็ และเยาวชน การแสดงความคดิ เหน็ ของเดก็ และสวสั ดิภาพ เดก็ และเยาวชนมโี อกาสในการแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั ระบบการศกึ ษาให้ หน่วยงานของจงั หวดั และประเทศรบั ฟงั
การแสดงความคิดเหน็ ของเด็กและสวสั ดิภาพ มกี ารประเมนิ ผลขอ้ มลู โดยแยกเพศและอายขุ องเดก็ และเยาวชนในประเดน็ ตา่ งๆดงั น้ี • ความใฝฝ่ นั ของเดก็ ในอนาคต • กจิ กรรมหลงั เลกิ เรยี น • กจิ กรรมยามวา่ งทช่ี อบ • สง่ิ ทช่ี อบเกย่ี วกบั โรงเรยี น • เหตุผลทข่ี าดเรยี นในบางครงั้ • คณุ สมบตั ขิ องครทู ด่ี คี อื อะไร • หากเป็นไปได้ อยากเปลย่ี นอะไรในโรงเรยี น มวี ธิ กี ารรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี นโดยไมร่ ะบุชอ่ื และมขี นั้ ตอนการตดิ ตามผลหลงั ยน่ื เรอ่ื ง รอ้ งเรยี นของจงั หวดั /ประเทศ มกี ารดแู ลความปลอดภยั ของเดก็ ระหวา่ งเดนิ ทางไป-กลบั และขณะอยทู่ โ่ี รงเรยี น หลกั สตู รการศกึ ษาทม่ี งุ่ หวงั จะพฒั นาเดก็ อยา่ งบรู ณาการทงั้ ดา้ นสตปิ ญั ญาอารมณ์ สงั คม และดา้ นกายภาพ ครูและคณะกรรมการ มกี ารเสนอใหค้ รเู ขา้ รว่ มการฝึกอบรม ครูไดร้ บั การอบรมดา้ นจติ สงั คมซ่งึ อาจมผี ลต่อการศกึ ษาของเดก็ และเยาวชนท่ี จำตอ้ งอพยพโยกยา้ ยทอ่ี ยอู่ าศยั มกี ารประเมนิ และกำหนดคา่ ตอบแทนแกค่ รผู สู้ อน มกี ารจดั ตงั้ และสนบั สนุนคณะทำงานดา้ นการศกึ ษาของศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว มกี ารกำหนดและยอมรบั ระเบยี บจรรยาบรรณของครหู รอื ผสู้ อนในสถานทศ่ี กึ ษา ชวั่ คราวของศนู ยโ์ ดยหน่วยงานทม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งทงั้ ในระดบั จงั หวดั และประเทศ การลงทะเบยี นเขา้ เรยี น ประเมนิ สดั สว่ นของเดก็ ในศนู ยพ์ กั พงิ ทไ่ี ดเ้ ขา้ รบั การศกึ ษาโดยแยกตามอายแุ ละเพศ รบั ทราบและประเมนิ สาเหตุทเ่ี ดก็ และเยาวชนหยดุ เรยี นหรอื ไมเ่ ขา้ รบั การศกึ ษา หน่วยงานภาครฐั ในระดบั จงั หวดั และระดบั ประเทศมกี ารสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ เขา้ รบั การ ศกึ ษาเพม่ิ มากขน้ึ การมีส่วนรว่ มของชุมชน ผปู้ กครองและสมาชกิ ในชมุ ชนศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาหลกั สตู ร หรอื เป็นสมาชกิ ของคณะทำงานดา้ นการศกึ ษาของศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
ตรวจสอบความพรอ มบทท่ี 16 การสงเสริมอาชพี การสง่ เสริมอาชีพ ในแผนเผชญิ ภยั การเลอื กสถานทต่ี งั้ ของศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวควรคำนึงถงึ โอกาส ดา้ นการสง่ เสรมิ อาชพี และการเขา้ ถงึ ตลาดในพน้ื ท่ี มกี ารสำรวจและประเมนิ บรบิ ททางสภาพเศรษฐกจิ และสงั คม สภาพความมนั่ คงทาง ดา้ นอาหารของกลมุ่ ผพู้ กั พงิ และกจิ กรรมการพฒั นาอาชพี (ในอดตี และปจั จบุ นั ) ทำการสำรวจและประเมณิ ผลโดยมสี ว่ นรว่ มของกลุม่ ผหู้ ญงิ และตวั แทนของกลุม่ ผู้ ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื พเิ ศษ ระบุลำดบั ความสำคญั ของการคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ พฒั นาอาชพี ผจู้ ดั การศูนยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวผลกั ดนั ใหม้ กี ารหาแนวทางสง่ เสรมิ การพฒั นาอาชพี ทย่ี งั่ ยนื การมสี ่วนร่วมของกลุ่มผูพ้ กั พงิ และชุมชนตงั้ รบั เป็นหลกั สำคญั ในการวางแผน การดำเนินงาน การควบคมุ ดแู ล และการประเมนิ ผลการเสรมิ สรา้ งอาชพี การเขา้ ถงึ ตลาดสามารถทำไดโ้ ดยงา่ ยและปลอดภยั เชน่ ถนนเขา้ ตลาดมไี ฟฟ้า แสงสวา่ ง มกี ารแต่งตงั้ คณะทำงานตลาดประจำศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว คณะทำงานสนบั สนุนสง่ เสรมิ การเขา้ ถงึ ทรพั ยากรทจ่ี ำเป็นตอ่ การพฒั นาอาชพี ของ ผพู้ กั พงิ มกี ารประเมนิ ถงึ ปญั หาดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มพรอ้ มหาแนวทางแกไ้ ขและจดั การปญั หา การขาดแคลนทรพั ยากรโดยคำนึงถงึ ประโยชน์ของทงั้ ชุมชนขา้ งเคยี งและผูอ้ ยู่ อาศยั ในศนู ยพ์ กั พงิ โครงการส่งเสรมิ อาชพี เน้นการเพม่ิ ทกั ษะซ่ึงเป็นท่ตี ้องการของตลาดแรงงาน โดยครอบคลุมชมุ ชนขา้ งเคยี ง กลุม่ แมบ่ า้ น และกลมุ่ คนทต่ี อ้ งการความชว่ ย เหลอื พเิ ศษ หากบรบิ ทและระยะเวลาการดำเนินการของศูนยพ์ กั พงิ เอ้อื ต่อการส่งเสมิ อาชพี ควรจดั ใหม้ กี ารโครงการ งานแลกเงนิ หรอื งานแลกอาหาร โดยดำเนินการดว้ ยวธิ ี ทย่ี ตุ ธิ รรม โปรง่ ใส และเหมาะกบั วถิ วี ฒั นธรรมของผพู้ กั พงิ และชมุ ชนขา้ งเคยี ง มกี ารจดั ตงั้ ระบการแลกเปลย่ี นซอ้ื ขายสนิ คา้ ทเ่ี ป็นธรรมระหว่างกลุ่มผพู้ กั พงิ และ ชมุ ชนในทอ้ งถนิ่ มกี ารพจิ าณาถงึ โครงการฝึกอบรมและสรา้ งเสรมิ รายไดต้ ามบรบิ ท วฒั นธรรม ความตอ้ งการ ความถนดั และความพรอ้ มของทรพั ยากร (บุคคล เศรษฐกจิ และธรรมชาต)ิ
การสง่ เสริมอาชีพ ผหู้ ญงิ และกลมุ่ ผตู้ อ้ งการความชว่ ยเหลอื พเิ ศษไดร้ บั การสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ใหม้ สี ว่ นรว่ ม มกี ารใชร้ ะบบกลมุ่ ออมทรพั ยใ์ นกรณที เ่ี หมาะสมและมคี วามตอ้ งการ มกี ารระบุกลุม่ คนกลุม่ ทม่ี คี วามเสย่ี งสงู กลา่ วคอื บุคคลทต่ี อ้ งพง่ึ พาผอู้ น่ื ในการ ดำเนินชวี ติ ประจำวนั และไมม่ สี ทิ ธกิ ยู้ มื เงนิ จากกลุม่ ออมทรพั ย์ กลุม่ ผพู้ กั พงิ ในศนู ยพ์ กั พงิ มบี ทบาทสำคญั ในการพฒั นาโครงการสง่ เสรมิ อาชพี ใน ศนู ยพ์ กั พงิ และไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื ดา้ นการดแู ลบุตรหลาน ระหวา่ งการทำงาน
ตรวจสอบความพรอมบทท่ี 17 การปด ศูนยพกั พิงช่วั คราว การปดิ ศูนย์พักพงิ ชั่วคราว มกี ารวางแผนการลดขนาดการออกจากพน้ื ท่ีและการปิดศนู ยพ์ กั พงิ นบั ตงั้ แต่การ จดั ตงั้ ศนู ยพ์ กั พงิ มกี ารประเมนิ ตรวจสอบวา่ การกลบั ถน่ิ ทอ่ี ยอู่ าศยั ของผพู้ กั พงิ เป็นการกระทำโดย สมคั รใจ จดั ใหม้ คี วามรว่ มมอื และประสานงานระหวา่ งหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง พฒั นาและปฏบิ ตั ติ ามแผนรณรงคเ์ ผยแพรข่ อ้ มลู เพอ่ื ใหผ้ พู้ กั พงิ ไดร้ บั ขอ้ มลู ขา่ วสาร เกย่ี วกบั ขนั้ ตอนการโยกยา้ ยออกจากพน้ื ทแ่ี ละการปิดศนู ยพ์ กั พงิ ทถ่ี กู ตอ้ ง ชดั เจน และทนั สถานการณ์ บุคคลทอ่ี ยใู่ นกลุ่มทม่ี คี วามเสย่ี งสงู ไดร้ บั ความคุม้ ครองและความช่วยเหลอื ตลอด ระยะเวลาดำเนินการปิดศนู ยพ์ กั พงิ มกี ารพฒั นาโครงการเพอ่ื ใหค้ วามรู้ และ โครงการสง่ เสรมิ การพฒั นาระยะยาว เพอ่ื ใหเ้ ออ้ื ต่อการปรบั ตวั ของผพู้ กั พงิ เมอ่ื กลบั ถน่ิ ทอ่ี ยอู่ าศยั กำหนดขนั้ ตอนการสง่ ต่อเอกสาร วา่ ใหก้ บั ผพู้ กั พงิ ก่อนการยา้ ยออก สง่ ต่อใหก้ บั ฝา่ ยปกครองในพน้ื ท่ี องคก์ รชมุ ชน หรอื ควรถกู ทำลาย มกี ารจดั การขนั้ ตอนการถอนรายชอ่ื ผพู้ กั พงิ ทเ่ี ดนิ ทางกลบั ถน่ิ ทอ่ี ยอู่ าศยั ออกจาก ฐานขอ้ มลู มกี ารควบคุมดแู ลวา่ ขนั้ ตอนของการกลบั ถนิ่ ทอ่ี ยอู่ าศยั เป็นไปอยา่ งปลอดภยั และ มศี กั ดศิ ์ รี ผู้พกั พงิ ท่ยี งั คงพกั อยู่ในศูนย์พกั พงิ ได้รบั ความคุ้มครองและความช่วยเหลอื ท่ี เหมาะสมตามแผนงานโครงการระดบั ประเทศ ส่งมอบคนื ทรพั ย์สนิ และสาธารณูปโภคของศูนย์พกั พงิ ชวั่ คราวให้แก่เจ้าของท่ี การจดั การทรพั ยส์ นิ อน่ื ๆ ใหเ้ ป็นไปตามนโยบายของหน่วยงานภาครฐั ส่งมอบการบำรุงรกั ษาสาธารณูปโภคสงิ่ อำนวยความสะดวกของอาคารให้กบั หน่วยงานหรอื บุคคลทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย หอ้ งสขุ า หลุมขยะ และอุปกรณ์เครอ่ื งมอื ซกั ลา้ งไดร้ บั การจดั เกบ็ หรอื รอ้ื ถอนอยา่ ง ปลอดภยั มกี ารปรบั ปรงุ หรอื ยกเลกิ สญั ญาและขอ้ ตกลงต่างๆ อยา่ งเหมาะสม มวี างแผนและพฒั นาการแกไ้ ขปญั หาดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม มกี ารใหข้ อ้ มลู และความชว่ ยเหลอื แกผ่ พู้ กั พงิ เพอ่ื รบั มอื กบั ความไมแ่ น่นอนโดยให้ คำแนะนำและตอบขอ้ สงสยั ของผพู้ กั พงิ เกย่ี วกบั อนาคตชวี ติ ความเป็นอยู่
Search