Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทารกแรกเกิดมีภาวะแทรกซ้อน sn4

ทารกแรกเกิดมีภาวะแทรกซ้อน sn4

Published by piyarat, 2018-03-28 23:37:03

Description: ทารกแรกเกิดมีภาวะแทรกซ้อน sn4

Search

Read the Text Version

การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกดิ ทมี่ ภี าวะ เสี่ยงและปัญหาสุขภาพ โดย อาจารย์ ปิ ยะรัตน์ แสงบารุง ภาควชิ าการพยาบาลมารดาและทารก

วตั ถุประสงค์1. สามารถอธิบาย พยาธิสภาพ ของภาวะแทรกซ้อน ระบบทางเดินหายใจ ทารกแรกเกดิ ได้ถูกต้อง2. สามารถอธิบาย พยาธิสภาพ ของภาวะตดิ เชื้อในทารกแรกเกดิ ได้ถูกต้อง3. สามารถอธิบาย พยาธิสภาพ ของภาวะตวั เหลืองของทารกแรกเกดิ ได้ถูกต้อง4. สามารถวางแผนการพยาบาลทารกแรกเกดิ ที่มีภาวะแทรกซ้อนระบบทางเดิน หายใจ ภาวะตดิ เชื้อ ภาวะตวั เหลืองได้ถูกต้อง

กล่มุ อาการหายใจลาบาก(Respiratory Distress Syndrome : RDS)คอื การทที่ ารกมอี าการหายใจเรว็ กวา่ 60 ครง้ั /นาที เขยี ว หนา้ อกบ๋มุ จมกู บาน ขณะหายใจออกมีเสียงคราง พบได้บอ่ ยในทารกเกดิ ก่อนกาหนด

กลมุ่ อาการหายใจลาบาก (Respiratory Distress Syndrome : RDS)สาเหตุ ขาดสารลดแรงตงึ ผวิ ในปอด (surfactant)สารน้ีจะเร่มิ สร้างเมอ่ื อายุครรภ์ประมาณ 24 สปั ดาห์และเพยี งพอเมือ่ อายุครรภ์ 35 สัปดาห์*ทารกที่เกิดกอ่ นกาหนด ถา้ มีชวี ติ อย่ไู ด้ 3 วนั หลงั เกดิสารน้จี ะสรา้ งขน้ึ มาถงึ ระดบั เท่าทารกเกิดครบกาหนด*

กลมุ่ อาการหายใจลาบาก (Respiratory Distress Syndrome : RDS) พยาธิสภาพ ขาดสารลดแรงตึงผวิ หายใจออกถงุ ลมจะแฟบ lung compliance ลดลง ตอ้ งใช้แรงในการหายใจเข้าเพมิ่ ขึ้น ไมส่ มดลุ ระหวา่ ง ventilation : perfusion มีภาวะ hypoxemia และ hypercapneaในรายทรี่ ุนแรงอาจมกี ารไหลเวียนเลือดแบบ right –to left shunt

กล่มุ อาการหายใจลาบาก (Respiratory Distress Syndrome : RDS)พยาธิสภาพ ทาใหค้ วามรนุ แรงของโรคมมี ากข้นึ ร่างกายมภี าวะเปน็ กรด ทาให้หลอดเลือดหดตวั การสร้างสารลดแรงตึงผิวน้อยลง ผนังของถงุ ลมและเซลล์เยือ่ บุหลอดเลือดฝอยทอ่ี ย่รู อบถุงลมถกู ทาลาย มีโปรตีน fibrin และเมด็ เลอื ดขาว ซึมออกจากหลอดเลือดฝอย แลว้ เข้าไปฉาบอยใู่ นผนงั ถุงลม เรยี กวา่ hyaline membrane

กลมุ่ อาการหายใจลาบาก (Respiratory Distress Syndrome : RDS)อาการอาการแสดง1. อาการหายใจลาบาก (respiratory distress) -หายใจเรว็ กว่า60 คร้ัง/นาที -sternal and intercostal retraction -see saw respiration -expiratory grunting2. ฟงั เสยี งปอดไดย้ ินเสียงผิดปกติ เชน่ fine crepitation เสยี งลมเข้าปอดน้อย3. อาการเขยี ว เมอ่ื หายใจในอากาศปกติ พบได้บ่อยในรายที่มอี าการรนุ แรงและมีภาวะเลอื ดลดั วงจร

กลมุ่ อาการหายใจลาบาก (Respiratory Distress Syndrome : RDS)การวินจิ ฉัยประวตั กิ ารคลอดกอ่ นกาหนดและปจั จัยส่งเสริม เช่น มารดาเป็น เบาหวาน เลอื ดออกก่อนคลอด ผา่ ตดั คลอดทางหน้าท้อง และ ทารกทมี่ ี ภาวะขาดออกซเิ จนปรกิ าเนิด อาการและอาการแสดง

กลุม่ อาการหายใจลาบาก(Respiratory Distress Syndrome : RDS)การถ่ายภาพรงั สที รวงอก ground glass appearance air bronchogram

กล่มุ อาการหายใจลาบากการรักษา (Respiratory Distress Syndrome : RDS) 1. สารลดแรงตงึ ผวิ (surfactant replacement) 2. ใหอ้ อกซิเจน โดยรักษาระดบั ออกซเิ จนในเลอื ด (Pao2) ใหอ้ ยู่ระหวา่ ง 50-70 mmHg ระดับคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นเลือด( PaCO2) 40-50 mmHg และ pH.ของเลือดอยูร่ ะหว่าง 7.25-7.30 โดยให้แบบ CPAP หรอื PEEP เป็นการเพิ่มความดันในถุงลมปอดทาใหป้ อดไม่แฟบ ในรายทรี่ นุ แรงอาจ ตอ้ งใช้เคร่อื งชว่ ยหายใจ 3. การใหส้ ารน้า อเิ ลคโตรไลท์ และควบคุมภาวะกรดด่าง ใน 3 วนั แรกท่มี ี อาการรนุ แรงควรงดน้าและอาหาร 4. การรกั ษาแบบประคับประคอง ได้แก่ การรกั ษาอณุ หภูมิกายเพ่ือลดการใช้ ออกซิเจน การให้เลือดเพือ่ ให้ ฮมี าโตครติ เกิน 40-50% เพ่ือใช้การนา O2

มี การรกั ษา

ภาวะหายใจลาบากช่ัวขณะในทารกแรกเกดิTransient Tachypnea of the Newborn: TTNB หมายถึง ภาวะหายใจหอบช่ัวระยะหนึ่งในทารกแรก เกดิ ซ่ึงมกั มอี าการหายใจเร็วกว่า 60 คร้ัง/นาที และอาการ จะดีขึ้นเองมักพบในทารกคลอดครบกาหนด หรือใกล้ กาหนด

พยาธิสภาพ เช่ือวา่ เกิดจากในช่องปอดของทารกมีสารคดั หลงั่ มากทาให้เกิดภาวะหายใจหอบ เน่ืองจากในขณะใกลค้ ลอดกลไกทางธรรมชาติเริ่มมีการดูดซึมของเหลวในเยอื่ หุม้ ปอด และการถูกบีบรัดช่องอกขณะที่คลอดผา่ นช่องทางคลอดทาให้ของเหลวในช่องอกระบายออก แต่ในกรณีเด็กผ่าตดั คลอดมกัขาดกลไกน้ีทาให้มีของเหลวคา้ งในปอดมาก เมื่อหายใจคร้ังแรกทาให้มีอาการหอบ

อาการ1. มีอาการหายใจเร็วกว่า 60 คร้ัง/นาทถี ้ารุนแรงมากอาจหายใจเร็ว 100 – 120 คร้ัง/นาที2. หายใจเร็วไม่มอี าการหายใจขดั หรือพบภาวการณ์หายใจถูกกด3. อาจพบอาการตัวเขยี วเลก็ น้อย4. อาจพบภาวะนา้ ตาลตา่ คาร์บอนไดออกไซด์สูง ภาวะความเป็ นกรด ในร่างกาย5. อาการหอบดขี ึน้ ใน 2- 5 วนั

การรักษา เนน้ การรักษาตามอาการ เช่น ใหอ้ อกซิเจนอยา่ งเพยี งพอ สงั เกต อาการเขียว ดูแลความสะอาด สารน้าสารอาหาร

การสูดสาลกั ขีเ้ ทา(Meconiun Aspiration Syndrome:MAS) หมายถึง กลุ่มอาการหายใจลาบากเนื่องจากทารกสาลกั นา้ คร่าทมี่ ขี ีเ้ ทาปนเข้าไปในระบบทางเดนิ หายใจ อาจเกดิ ขึน้ ในขณะต้งั ครรภ์ ขณะคลอด หรือทนั ทหี ลงั คลอด

พยาธิสภาพ เม่ือทารกสาลกั น้าคร่าที่มีขีเ้ ทาเข้าไปในปอดพบว่า ถ้าเป็ นขีเ้ ทาขนาดใหญ่จะเกิดการดุดก้ันหลอดลมใหญ่ แต่ถ้าเป็ นขีเ้ ทามี่มีขนาดเล็กจะลงไปอุดก้ันท่ีหลอดลมขนาดเล็กและถุงลม(Ball-valvemechanism) ทาให้บริเวณท่ีอยู่ต่ากว่าการอุดกันมีลมขงั อยู่และถุงลมโป่ งพอง ทาให้เกดิ ถุงลมรั่ว แตกในปอด(Pneumothorax)ได้ส่งผลให้การแลกเปลี่ยนก๊ าซในปอดไม่ ดีเกิดภาวะกรดในร่ างกายคาร์บอนไดออกไซด์ค่ัง ความดันในช่องปอดเพ่ิมขึน้ อาจทาให้เลือดจากหัวใจห้องขวาไหลลดั ไปหัวใจห้องซ้ายได้

อาการ หลงั เกดิ ใน 2-3 ชั่วโมง มีอาการหายใจหอบ อาจมีอาการ เขยี วร่วมด้วยฟังปอดได้ยนิ เสียงกรอบแกรบ เสียงหายใจ ออกยาวแบ่งความรุนแรงได้ 3 ระดบั1. รุนแรงน้อย หายใจเร็วมกั อาการดีขึน้ ใน24-72 ชม.2. รุนแรงปานกลาง หายใจเร็วมาก มีการดึงร้ังของช่องซี่โครง ความ รุนแรงประมาณ 24 ชม.หลงั เกดิ3. รุนแรงมาก อาจมีภาวะหายใจล้มเหลวทนั ทห่ี รือใน 2-3 ชม.หลงั เกดิ

การรักษา1. ให้ออกซิเจนและประเมินค่าO2 sat ไม่น้อยกว่า 95 %2. ดูเตรียมใส่ tube กรณอี าการรุนแรงและเครื่องช่วย หายใจ3. ให้ยาปฏิชีวนะ

โรคปอดเรือ้ รังในทารกแรกเกิด (Bronchopulmonary Dysplasia : BPD) โรคปอดเร้ือรังท่ีพบในทารกแรกเกิดก่อนกาหนดท่ีป่ วยดว้ ยโรค RDS ซ่ึงไดร้ ับการรักษาดว้ ยเคร่ืองช่วยหายใจ และออกซิเจนท่ีมี ความเขม้ ขน้ สูงในสัปดาห์แรกๆ หลงั ทารกเกิดและใชเ้ ป็นเวลานานมกั พบในทารกอายคุ รรภ์ และน้าหนกั ตวั นอ้ ย

โรคปอดเรือ้ รังในทารกแรกเกิด (Bronchopulmonary Dysplasia : BPD)สาเหตุ1.สภาวะของทารกเกิดก่อนกาหนด ซง่ึ ปอดเจรญิ เติบโตยงัไมส่ มบรู ณ์ ขาดสารลดแรงตึงผิว2. เนื้อปอดได้รับบาดเจ็บ (lung injury) เนอื่ งจากการใช้เคร่ืองช่วยหายใจ ทาให้ปอดแข็งไมย่ ดื หย่นุ3.พษิ ของออกซิเจน (oxygen toxicity) ซง่ึ ขน้ึ อยู่กบั ความเข้มข้นและระยะเวลา

โรคปอดเร้ือรังในทารกแรกเกดิ (Bronchopulmonary Dysplasia : BPD)พยาธสิ ภาพBPD มีภาวะบวมน้าและมกี ารสร้างเนื้อเยือ่ พงั ผืดของหลอดเลือดทป่ี อดเพ่มิ ขน้ึอย่างผดิ ปกติ basement membrane หนาขน้ึ ทาใหก้ ารขยายตวั ของปอดลดลงสว่ นหลอดลม จะเกดิ การเนา่ ตายของเน้ือเยอ่ื หลอดลมฝอย มี mucosalhyperplasia และมีการเปล่ียนแปลงท่ผี ิดปกติของเซลล์เนือ้ เยอื่ ของหลอดลม ทาให้ขนาดโพรงของหลอดลมลดลง มีสารคัดหล่งั มากขน้ึ กล้ามเน้อื เรียบรอบหลอดลมหนาตัวข้นึ เกิดหดเกรง็ งา่ ย ทาให้ความตา้ นทานของทางเดินหายใจเพ่มิ ขน้ึกลา้ มเน้ือเรียบทผ่ี นงั ของหลอดเลือดท่ปี อด หนาตวั ข้ึน ทาให้เส้นผ่าศนู ย์กลางของหลอดเลือดเลก็ ลง ส่งผลใหค้ วามดันในปอดเพม่ิ ข้ึน (pulmonary hypertension)ถ้ามอี าการรนุ แรงจะสง่ ผลให้หวั ใจวายได้

พยาธิสภาพ

โรคปอดเรอ้ื รงั ในทารกแรกเกดิ (Bronchopulmonary Dysplasia : BPD)อาการอาการแสดง หายใจเร็ว 60-80 ครง้ั /นาที หน้าอกบ๋มุ หายใจลาบาก หายใจแบบ หายใจแบบเลือ่ ยไม้ โยกขึ้นโยกลง (see saw respiration) จากความสามารถในการขยายตัวของปอด ลดลง มภี าวะพรอ่ งออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซดค์ ้างในเลือด ฟงั ปอดไดย้ นิ เสียง crepitation มีเสมหะมากในหลอดลม

การวนิ จิ ฉยั อาการสาคัญทบี่ ่งบอกว่ามีภาวะ BPD คือ ยงั ตอ้ งการออกซิเจนตอ่ ไปอย่างตอ่ เนื่องและไมส่ ามารถเลิกใช้เครอ่ื งชว่ ยหายใจได้ โดยการให้ออกซิเจนเปน็ เวลานานไมน่ ้อยกวา่ 30 วนั ภาพรงั สขี องปอดแสดงลักษณะของ BPD ชัดเจน ทารกที่ปว่ ยเปน็ BPD จะตอ้ งมสี าเหตุการเจบ็ ป่วยทท่ี าให้ต้องการช่วยหายใจและออกซเิ จน

โรคปอดเรื้อรงั ในทารกแรกเกิด (Bronchopulmonary Dysplasia : BPD)การรักษาเปา้ หมายของการรกั ษาประกอบดว้ ย 1.ป้องกันไม่ให้เกดิ ความเสียหายแกป่ อดมาก และเร่งให้มีการซอ่ มแซมพยาธิสภาพของปอด 2. ใหก้ ารแลกเปล่ยี นกา๊ ซในปอดดขี ้ึน 3.สง่ เสรมิ โภชนาการและการเติบโตของผ้ปู ่วย

BPD การรกั ษา  การดแู ลรกั ษาทารกควรเปน็ ทมี สหสาขาวิชาชีพ เนื่องจาก ทารกมปี ัญหาซบั ซอ้ นและตอ้ งการการตดิ ตามระยะยาว 1. การให้สารอาหารสว่ นมากทารก BPD ตอ้ งการพลังงาน อย่างน้อย 120-140 กิโลแคลอรี/กิโลกรมั / วัน การเพม่ิ แคลอรจี ะไม่เพ่ิมน้าเพอ่ื ปอ้ งกันน้าเกิน 2. การใหอ้ อกซเิ จน การรกั ษาระดบั ออกซิเจนในเลือดให้ อย่ใู นเกณฑ์ปกติ ไมส่ ูงหรอื ต่า ใช้เคร่ืองช่วยหายใจอยา่ ง ระมดั ระวังเพือ่ ไม่ทาให้อาการของ BPD รุนแรงขึน้ 3. การให้ยา การให้ยาขบั ปสั สาวะ ยาขยายหลอดลม

การพยาบาล1. ดูแลประเมนิ อาการหายใจผดิ ปกติ อาการหอบ เขยี ว2. ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา3. จดั ส่ิงแวดล้อมให้เหมาะกบั การพกั ผ่อน ลดส่ิงกระตุ้น4. ดูแลให้ได้รับสารนา้ สารอาหารอย่างเพยี งพอ5. ให้การพยาบาลเพ่ือป้องกนั การตดิ เชื้อ6. ดูแลความสุขสบายทวั่ ไป7. ลดความวติ กกงั วลของบิดามารดาทารก

โรคจอประสาทตาผดิ ปกติในทารกเกดิ ก่อนกาหนด (Retinopathy of prematurity : ROP) คอื ภาวะความผดิ ปกตขิ องเสน้ เลือดจอประสาท ตา ทพี่ บในทารกเกิดกอ่ นกาหนดและมีนา้ หนักตัว แรกคลอดนอ้ ย สาเหตุของ ROP สัมพนั ธ์กบั ภาวะ immature retina และระยะเวลาของการได้รับออกซิเจน

ROP พยาธสิ ภาพ จอประสาทตาประกอบดว้ ย ขวั้ ประสาทตา (optic disc) จุดรบั ภาพ (macula) และเส้นเลือดจอประสาทตา (retina arteries & veins) โดยเสน้ เลอื ด จะเร่ิมสร้างเมื่ออายุ ครรภ์ 16 สัปดาห์และเสรจ็ สมบรู ณ์ประมาณ 40 สัปดาห์

ROP พยาธสิ ภาพ ทารกเกิดก่อนกาหนด ได้รับออกซเิ จน ที่มขี นาดสงู ขณะท่หี ลอดเลือดเจริญเติบโตไม่เตม็ ท่ี จะทาใหห้ ลอดเลอื ดหด ตวั มกี ารหยุดการเจรญิ เติบโตของเสน้ เลอื ดท่ีไปเลี้ยง retina บริเวณทีห่ ลอดเลือดตีบจะเกิดภาวะ hypoxia มกี ารงอกของ หลอดเลือดผดิ ปกติ (neovascularization) หลอดเลือดที่ สร้างใหม่น้ีจะเขา้ ไปอยใู่ นวุ้นตาและดงึ จอประสาทตาลอกใน ท่สี ดุ สูญเสียการมองเห็น

ROP การวินจิ ฉยั ระยะเวลาการดาเนินของโรค 1. ตาแหนง่ ของโรค (location of disease)

ROP การวนิ จิ ฉยั ระยะเวลาการดาเนนิ ของโรค 2. ขอบเขต (Extend) ขอบเขตคิดเปน็ clock hour เทียบตาม หนา้ ปดั นาฬกิ า (1 clock hour เท่ากบั 30 องศา)

ROP การวินิจฉัย ระยะเวลาการดาเนินของโรค 2. ความรุนแรงของโรค (staging) Stage 1 เห็นเส้นแบ่งระหวา่ งจอประสาทตาทม่ี เี สน้ เลอื ดไปเลย้ี ง และจอประสาทตาทีข่ าดเลือด

ROP การวนิ จิ ฉัย ระยะเวลาการดาเนินของโรค 2. ความรุนแรงของโรค (staging)Stage 2 เสน้ เลอื ดผดิ ปกตงิ อกทะลชุ ้ันจอประสาทตาเข้าไปในวุ้นตา

ROP การวินจิ ฉัย ระยะเวลาการดาเนนิ ของโรค 2. ความรุนแรงของโรค (staging) Stage 3 จอประสาทตาลอกบางส่วน

ROP การวนิ จิ ฉยั ระยะเวลาการดาเนนิ ของโรค 2. ความรนุ แรงของโรค (staging) Stage 4A จอประสาทตาลอก ลอกไม่ถงึ ศูนยก์ ลางจอประสาทตา Stage 4B ลอกถึงศนู ยก์ ลางจอประสาทตา

ROP การวินิจฉัย ระยะเวลาการดาเนนิ ของโรค 2. ความรนุ แรงของโรค (staging) Stage 5 จอประสาทตาลอกท้งั หมด

ROP การตดิ ตามผลการตรวจ  เวลาที่ควรเร่ิมตรวจจอประสาทตา คร้งั แรกเมอ่ื ทารกมอี ายุ หลงั คลอด (chronologic age) 4-6 สัปดาห์หรอื อายุครรภบ์ วก อายหุ ลังคลอด (postconceptional age) 31-33 สัปดาห์โดย การติดตามผลของการตรวจครัง้ แรกทุก 1-4 สปั ดาห์ โดยจะ พิจารณาตามลักษณะของจอประสาทตาทพี่ บ  ยาขยายมา่ นตาในทารกควรใช้ 2% Tropicamide รว่ มกบั 2.5% Phenylephrine หยอดยาห่างกนั อย่างนอ้ ย 5 นาที หยอด สามชดุ ห่างกนั ประมาณ 15นาที ระมดั ระวังการใช้ Phenylephrine เนื่องจากอาจทาใหค้ วามดนั โลหิตสูง

ROP การรักษา  พิจารณาทาการรักษาก่อนจะมีจอประสามตาลอก ผปู้ กครองควรไดร้ ับ ทราบขอ้ มูลการดาเนินของโรค แนวทางการรักษา คอื 1. การจเ้ี ย็น (Crytotherapy) เปน็ การทาลายจอประสาทตา สว่ นทข่ี าดเลือดมีผลใหส้ ารกระตุ้นการงอกของเส้นเลือดลดลง 2. การยิงเลเซอร์ ( laser photocoagulation) ใช้หลกั การ เช่นเดียวกบั การจเี้ ย็น ปจั จุบนั เป็นทน่ี ยิ มและได้ผลดีกว่า 3.การผา่ ตัด  ในผ้ปู ่วยทที่ าการักษาROP จนหายแล้ว (regressed) ยงั มปี ญั หาทาง ดวงตาท่ีพบบ่อยกวา่ คนปกติท่ีสาคัญไดแ้ ก่ -Myopia ภาวะสายตาส้ัน -Glaucoma ต้อหนิ ต้องเฝา้ ระวังภาวะนี้ -Retinal detachment จอประสาทตาลอก

เสี่ยงตอ่ การเกิดภาวะROP ได้ง่าย เนอ่ื งจากพฒั นาการของเส้นเลือดทไี่ ปเลยี้ งท่ีretina ยังไมด่ ี และได้รบั ออกซิเจนมากเกนิการพยาบาล 1. ดูแลใหท้ ารกได้รบั ออกซิเจนเท่าทจ่ี าเปน็ 2. ควรใช้ Pulse oximeter ติดตาม O2 saturation ตลอดเวลา ใหท้ ารกมีระดบั O2 saturation อยรู่ ะหวา่ ง 88-95% หรอื ตามแผนการ รักษาของแพทย์ 3. ดแู ลให้ทารกไดร้ บั วิตามนิ อตี ามแผนการรกั ษาโดยเชอื่ ว่าเป็น สารตา้ นอนมุ ูลอสิ ระช่วยปอ้ งกนั การเกิด ROP ในทารกเกดิ ก่อนกาหนด 4. เตรยี มทารกให้ได้รบั การตรวจตาจากจกั ษแุ พทย์ 5. ดแู ลใหท้ ารกไดร้ ับการรกั ษาจากจกั ษุแพทย์ตามแผนการรกั ษา

การอกั เสบเนา่ ตายของลาไส้ (NecrotizingEnterocolitis : NEC)

NEC ความหมาย การอกั เสบและเน่าตายของระบบทางเดินอาหาร อยา่ งเฉยี บพลนั เป็นภาวะฉกุ เฉนิ ที่ พบได้บอ่ ย มคี วามรนุ แรง และเป็นสาเหตุการตายของทารกแรก เกิดเป็นจานวนมาก

NEC อบุ ัตกิ ารณ์ พบไดต้ ั้งแตร่ ้อยละ 3-28 แปรผกผนั กบั น้าหนัก แรกเกดิ กบั อายุครรภ์ จึงพบมากในทารกเกิดก่อน กาหนด โดยเฉพาะในทารกทีน่ ้าหนักน้อยกวา่ 1,500 กรมั มีเพียงร้อยละ 5-10 ที่พบในทารกเกิด ครบกาหนด

NEC สาเหตุ 1. ทารกเกดิ ก่อนกาหนด มีการทางานของระบบลาไส้ยังไม่สมบูรณ์ ทั้ง ด้านการยอ่ ย การดดู ซึมและภูมติ า้ นทาน 2. ลาไส้ขาดเลือดและขาดออกซเิ จน ในภาวะที่ทารกขาดออกซเิ จน เลี้ยงจะถกู ดึงไปเล้ยี งอวัยวะทส่ี าคัญ ปัจจบุ นั เช่อื วา่ การขาดเลือดของ ลาไสม้ าจากผลของทอกซิน จากเช้ือแบคทีเรยี ท่ีกระตุน้ การหล่ังสารทท่ี า ให้ลาไสห้ ดตวั ส่งผลให้ขาดออกซเิ จนและลาไสเ้ นา่ ตามมา 3. การได้รบั อาหารทางลาไส้ การได้รับนมในปรมิ าณทมี่ ากและเร็ว เกินไปหรือมีความเข้มขน้ สูง อาจทาให้เกิดภาวะลาไส้เนา่ ตายได้ เนือ่ งจากมกี ารย่อยคารโ์ บไฮเดรทไม่หมด

NEC พยาธสิ ภาพ เมอื่ ลาไส้เนา่ ตายจากการขาดเลือดมาเลี้ยง เชื้อเหลา่ นจี้ ะ แทรกทะลผุ ่านผนังลาไส้และสร้างก๊าซแทรกซมึ ในผนังลาไส้ ทาให้ ลาไส้เนา่ ตายมากข้นึ และเชื้ออาจเข้าสู่กระแสเลือดได้ ถา้ เป็นเช้ือท่ี รนุ แรงจะมีการสร้างทอกซนิ ทสี่ ลายเซลล์ ไปทาลายเซลล์ของลาไส้ โดยตรง ภาวะขาดออกซิเจน จะมกี ารหล่งั สารไซโตไค (cytokine) และสารท่ีมีฤทธิ์ตอ่ หลอดเลือด ทาให้เกดิ การตบี ตัวของหลอดเลือด ทีไ่ ปเลย้ี งผนังลาไส้ เกดิ การเนา่ ตายของผนงั ลาไสไ้ ด้

NEC พยาธสิ ภาพ

NEC พยาธสิ ภาพ

NEC อาการอาการแสดง  มที ัง้ อาการท่วั ไปและอาการจาเพาะของทางเดนิ อาหาร อาจเริ่มมีอาการเพยี งเล็กน้อย เช่น ทอ้ งอดื อาเจยี น อาเจยี น มี นมค้างในกระเพาะ  หรอื อาจเริม่ ขึ้นและมกี ารเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเรว็ คลา้ ย ตดิ เช้ือในกระแสเลือด เชน่ ซมึ อุณหภูมิไม่คงท่ี อาเจยี น น้าตาลในเลือดต่า อาเจยี นมีสีนา้ ดีปนถ่ายอุจจาระเปน็ เลอื ด ความดนั โลหติ ต่า อาจชอ็ กและเสียชีวิต ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว

NEC อาการอาการแสดง ข ้นั ท่ี 1 สงสัยวา่ เป็น NEC ช ดั เจน (suspected NEC) อาการทั่วไป เช่น อณุ หภมู ิการไม่คงที่ ซมึ หยดุ หายใจ อาการทางระบบ GI เช่น ไมค่ ่อยดดู นม มีคา้ ง ในกระเพาะอาหาร อาเจยี น ทอ้ งอืด ตรวจอุจจาระพบoccult blood ภาพถา่ ยรงั สี ช่องทอ้ ง พบลาไสพ้ อง (bowel dilate) ข นั้ ที่ 2 เปน็ NEC (Definite NEC) อาการทว่ั ไป เหมือนขัน้ ท่ี 1 แต่ทอ้ งอืดมาก อาการทางระบบGI ไมไ่ ด้ยนิ เสียง bowel sound ทารกเจบ็ เมอื่ มีการกดท้อง X Ray พบลาไส้พอง (bowel dilate) ชดั เจน พบก๊าซอยู่ในผนังลาไส้ (pneumatosis intestinals) ข นั้ ที่ 3 เป็น NECรนุ แรง (Advance NEC) อาการท่วั ไป เหมือนขัน้ ท่ี 2 มผี นงั หนา้ ทอ้ งบวม แดง และนูน มีน้าในชอ่ งท้อง ชพี จรเลวลง มอี าการแสดงของ ภาวะช็อค พบภาวะ respiratory และmetabolic acidosis มีอาการแสดงของลาไส้ ทะลุ ทอ้ งกดเจ็บมากและอืด X Ray พบมลี มในช่องทอ้ ง (pneumoperitonium


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook