Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ 4 ประการ : หนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก

ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ 4 ประการ : หนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก

Description: เป็นหลักธรรมในพุทธศาสนา คือ ประโยชน์ในปัจจุบัน 4 อย่าง บ้างเรียกว่า หัวใจเศรษฐี "อุ อา กะ สะ" อาจเรียกสั้น ๆ ว่า ทิฏฐธัมมิกัตถะ.

Search

Read the Text Version

นำ�ํ เงนิ มาฝากครับ ยินดีรบั ใชค้ รบั สมยั นผ้ี ้ทู ่ฉี ลาด รักษาทรพั ย์ มักไม่เก็บเงนิ ไว้ในบ้าน เพราะเห็นวา่ เปน็ ภัย และไมม่ ีประโยชน์ เขานำ�ไปฝาก ไวใ้ นธนาคาร ที่เราเรียกวา่ แบงก์ ธนาคารของรฐั บาลสยามเรากม็ ี เรยี กวา่ คลงั ออมสนิ ๑๘ ลงุ เอง ก็เอาไปฝากไว้ที่น่ัน เพราะเห็นว่าม่ันคงดีและไว้ใจได้ โจรผู้ร้ายมัน รวู้ า่ เราไมม่ เี งนิ ทองอยู่ มนั กไ็ มม่ าปลน้ เรา มนั จะไปปลน้ คลงั ออมสนิ เพอ่ื เอาทรพั ย์ มนั กไ็ มก่ ลา้ ถงึ ไฟจะไหมเ้ หยา้ เรอื น ทรพั ยท์ เ่ี ราฝากไว้ กจ็ ะไมเ่ ป็นอนั ตราย เราไม่ตอ้ งกลวั ถูกโกงอยา่ งธนาคารอน่ื ๆ ดว้ ย เพราะตวั รฐั บาลเองเปน็ ผรู้ บั ประกนั มใิ ชเ่ ราไปฝากไวเ้ ปลา่ ๆ เมอ่ื ไร ยังได้ดอกเบ้ยี มเี งนิ เพิม่ ข้นึ ทกุ ๆ ปี นเ่ี รียกวา่ เรารจู้ กั ทำ�ให้ทรพั ย์ เผล็ดผลงอกงามข้ึน ทั้งยังได้เป็นประโยชน์แก่ประเทศในทางอ้อม อีกด้วย คือ ธนาคารหรือคลังออมสิน เขาให้ดอกเบี้ยแก่ผู้ฝากแต่ เล็กน้อย แล้วเอาเงินท่ีคนฝากน้ันไปให้พ่อค้า และชาวนากู้ทำ�ทุน ค้าขาย หรือก่อสร้างสิ่งต่าง ๆ จึงเป็นการที่ได้ช่วยทำ�ให้บ้านเมือง ของเราเจริญข้ึน ดกี ว่าเกบ็ เงินนอนนงิ่ อย่ใู นก�ำ ป่นั เฉย ๆ ๑๘ ธนาคารออมสนิ 49

“เจา้ ไดฟ้ งั การรกั ษาทรพั ยแ์ ลว้ บางทจี ะคดิ วา่ ไมส่ มู้ ปี ระโยชน์ นกั เพราะเจ้ายงั เปน็ เด็กอยู่ มักถอื เสยี ว่ายงั ไมม่ ีทรพั ยท์ ่ตี ้องรกั ษา คิดเชน่ นี้ผิดทีเดียว เด็ก ๆ ต้องรกั ษาทรัพย์ นั่นมนั ยางลบ หลายอยา่ งเหมอื นกัน ของเรานะ เครอื่ งนุ่งหม่ และเครอื่ งเล่าเรียน ท่ีเจา้ ใช้อยูท่ กุ ๆ วนั น้ี เจา้ จะถือวา่ เป็นของใคร ถงึ เจา้ จะรู้ว่าลุงออกเงินซือ้ มา เจ้ากค็ งว่าไม่ใชข่ องลงุ เป็นของเจา้ อยูเ่ สมอ ใครจะไปหยิบจับเล่น เจา้ เป็นต้องเอ็ดตะโรลั่นวา่ “อย่าเลน่ ของฉนั ” เด็กทุก ๆ คนต้องพูดอย่างน้ีไม่ใช่หรือ เมื่อได้อ้างว่าเป็น ของ ๆ ตัวแล้ว จะว่าไม่มีทรัพย์ที่ต้องรักษาอย่างไรได้ มากมาย ก่ายกองไป การรักษาทรัพย์ท่ีลุงอธิบายไว้ จึงคงจะเป็นประโยชน์ อย่างย่ิง เจ้าจะได้จำ�ไว้เป็นหลักรักษาเคร่ืองนุ่งห่มและเครื่อง เลา่ เรยี นของเจา้ ตอ่ ไป กอ่ น ๆ เจา้ เคยไปเลน่ หกคะเมนตลี งั กาคลกุ ฝนุ่ 50

จนเส้ือผ้าเปื้อนเปรอะ เคยถอดกางเกงโยนทิ้ง และหมักหมมไว้ จนเหม็นสาบ เคยปล่อยให้หมึกหกรดหนังสือ สมุด จนสกปรก น่าเกลียด เคยเอาไม้บรรทัดไปฟันกันกับเพ่ือนต่างดาบจนย่นยู่ เคยถอดตวั ปากกาไปเสยี บกระดาษ แลว้ ปกั เลน่ กนั ตามฝา ตง้ั แตน่ ้ี ต่อไป เจา้ คงเลิกหมด เพราะร้วู ่าการเล่นเช่นนน้ั ทำ�ให้ของเสีย เม่ือ เสียแล้วจะไปเอาที่ไหนใช้ ต้องว่ิงไปขอสตางค์ผู้ปกครองมาใช้ใหม่ ทรัพยข์ องทา่ นทหี่ ามาไดด้ ้วยความลำ�บากก็ตอ้ งหมดไป คนอ่ืนเขา จะวา่ เราเปน็ เดก็ ลา้ งเดก็ ผลาญ เดก็ ชะนดิ นไ้ี มด่ ี ใคร ๆ เขากเ็ กลยี ด ไม่อยากคบเพราะกลัวจะไปล้างผลาญเขา เราต้องชว่ ยคณุ ลุง เวลาเช้า ๆ ดแู ลตน้ ไมพ้ วกน้ี เจ้าเคยลงมารดน้�ำ ตน้ ไม้ ดว้ ยการรดน�้ํำ ทกุ วนั บางคราวกพ็ รวนดนิ บ�ำ รุงรักษาให้ต้นไม้ของลุง งอกงามเจรญิ ขึน้ ไมใ่ ห้เหย่ี วแหง้ ตายลง นี่ก็ไดช้ อ่ื วา่ เจ้าชว่ ยลงุ รกั ษาทรัพยโ์ ดยตรง สว่ นทางออ้ ม ทเ่ี จา้ จะชว่ ยไดก้ ค็ อื รจู้ กั เกบ็ รจู้ กั ถนอม รจู้ กั ซอ่ มแซม รจู้ กั เสยี ดายของทเ่ี จา้ ใช้ ไมป่ ลอ่ ยใหเ้ สยี ไปงา่ ย ๆ ลงุ กจ็ ะได้ 51

ไมต่ อ้ งจา่ ยเงนิ ซอ้ื ของนน้ั ๆ ใหแ้ กเ่ จา้ บอ่ ย ๆ ทรพั ยก์ ไ็ มห่ มดเปลอื ง เดก็ ๆ ทกุ คนควรจะหดั ชว่ ยผปู้ กครองรกั ษาทรพั ยท์ ท่ี า่ นไดม้ าไมใ่ ห้ เป็นอันตรายไป ท้ังทางตรงและทางอ้อมเช่นน้ี หัดเสียแต่เล็ก ๆ เติบโตข้นึ จะได้มีนิสสัย๑๙ติดตัว สามารถรักษาทรัพย์ของตนเองได้ โดยถูกต้อง เมื่อเรารู้จักรักษาทรัพย์ได้แล้ว สิ่งท่ีควรจะกระทำ�อีก อยา่ งหนง่ึ กค็ อื คดิ ถงึ การงานทเ่ี รากระท�ำ อยู่ จะเปน็ การคา้ ขายหรอื การช่าง การรับราชการใด ๆ ก็ตาม คดิ ว่าการงานนัน้ ๆ นน่ั แหละ เป็นส่ิงที่ทำ�ให้เราได้ทรัพย์มาเก็บรักษาและจ่ายใช้ เราควรจะต้อง ระวังรักษาการงานน้ันไม่ให้เส่ือมลง มีแต่จะให้เจริญย่ิง ๆ ขึ้นไป จะไดม้ ที รพั ย์มาใหเ้ ราท�ำ ประโยชนอ์ ย่เู สมอ ๆ เช่นเดยี วกนั กับเวลาเราเอาระหดั ไปถีบนำ�้ เข้าท้องร่องสวนของเรา เราต้องถบี อยเู่ สมอ มิใชห่ รือ จงึ จะไดน้ �ำ้ เขา้ มาเร่ือย ๆ ถา้ เราถบี ช้า ๆ นำ�้ ก็เขา้ นอ้ ย พอหยุดถีบ นำ�้ กไ็ มเ่ ขา้ มาเลย เช่นนเี้ ป็นตน้ ๑๙ นิสยั 52

เพราะฉะนนั้ การระวงั รกั ษาการงานของเราใหด้ �ำ เนนิ ไปดี ๆ เสมอ ไม่ให้ตกต่ำ�ได้ จึงเป็นของสำ�คัญมิใช่น้อย ท่ีจะทำ�ได้เช่นนั้น กต็ อ้ งอาศยั ความหมน่ั ตามทฏิ ฐธมั มข์ อ้ ๑ เปน็ หลกั ดงั ทล่ี งุ ไดอ้ ธบิ าย ให้ฟังเม่ือเช้าน้ี ทิฏฐธัมม์ท้ัง ๒ ข้อน้ีต้องพ่ึงพาอาศัยกันเสมอ คือ ฝ่ายหนึ่งหมั่นหาทรัพย์มา และอีกฝ่ายหน่ึงรักษาไว้ ถ้าแยกออก จากกนั เสยี กค็ งไมไ่ ด้ผลอะไร เช่น ขยันหาแต่ไมร่ ้จู ักวิธีรักษา ถ้าเราไมห่ มั่นทำ�งาน ก็คงจะเหมอื นการตักนํ้ำ� จะไดท้ รัพยม์ าจากไหน ใสช่ ะลอมทไ่ี ม่มีวันเต็ม ถ้าได้ทรพั ย์มา ไมร่ จู้ กั รักษาไว้ให้ดี ปล่อยให้เปน็ อนั ตราย ไปงา่ ย ๆ กป็ ่วยการ หาไวแ้ ทบล้มแทบตาย มายอ่ ยยบั เสยี โดย ไมเ่ ปน็ ประโยชน์อนั ใด คล้ายกบั ตกั น�ำ้ ใส่ชะลอม เหนอื่ ยแรงเปลา่ ๆ ในการเล่าเรียนก็เช่นเดียวกัน เจ้าหมั่นไปโรงเรียนไปฟังครู สอนด้วยความตั้งใจ ฟงั แล้วกต็ อ้ งจ�ำ เอาไว้ บางคนปล่อยใหค้ วามรู้ 53

เข้าทางหูขวาแล้วออกทางหูซ้าย เช่นนี้ก็ไม่มีประโยชน์ ต้องรักษา ความรู้นั้นไว้ คือจำ�ให้ได้ ไม่มากก็น้อย เวลากลับบ้านลุงก็คอย ตกั เตือนใหห้ มัน่ อีก คอื หมน่ั เอาความรู้ทจ่ี ำ�ไว้นน้ั จดไว้ๆ มาคิดดใู ห้เข้าใจแจม่ แจง้ จะได้ไมล่ ืม เวลาสงสยั ก็ถามผู้รู้ เขาบอกให้แลว้ ก็ตอ้ งจดขอ้ ความน้ันในสมดุ เพราะถา้ ทงิ้ ไว้นาน ๆ เขา้ กอ็ าจลมื ไปอีก การจดความรู้ไวน้ ่ีแหละ เหมอื นการรักษาทรพั ย์ท่ีได้มา ไม่ใหเ้ ปน็ อันตรายไป ทีล่ ุงเตอื นใหเ้ จา้ หม่นั คิดหม่ันถาม และจดเอาไว้นี้ ไม่ใชเ่ อา มาทำ�แต่ทางบ้านเท่านั้น ถึงเวลาท่ีเรียนในโรงเรียนก็ต้องทำ�เช่นนี้ เหมือนกัน จึงจะครบตามสุภาษิตท่ีท่านกล่าวไว้ ๔ อย่าง คือ ฟัง คดิ ถาม จด เราเอามาปฏบิ ตั ทิ างบา้ นอกี กเ็ พอ่ื ใหค้ วามรแู้ นน่ แฟน้ ดีย่ิงขึ้นน่ันเอง ลุงเห็นว่าความหม่ันและการรักษาเกี่ยวเนื่องกัน เช่นน้ีแหละ ลุงจึงต้องรีบมาอธิบายให้เจ้าฟังเสียในเย็นวันน้ี เพ่ือ 54

ให้ติดต่อกับที่ฟังไว้ตอนเช้า เจ้าจะได้นำ�หลักธรรมท่ีประเสริฐท้ัง ๒ ขอ้ นไ้ี ปปฏบิ ตั คิ กู่ นั ไป จงึ จะเกดิ ผลบรบิ รู ณด์ ี วนั หลงั ลงุ จะอธบิ าย ทิฏฐธมั ม์ข้อ ๓ ใหเ้ จา้ ฟังตอ่ ไป” คดิ ถาม ฟงั จด บทคาถาทีท่ ำํ�ให้ คนเป็นบัณฑิตครบั 55

คำ� ถาม ประ จ�ำ บท ๑. การรักษา ภาษาบาลี เรยี กวา่ อะไร ? ๒. ๓. ทรพั ย์หาไดย้ าก เมื่อได้ รักษาทรพั ยอ์ ย่างไร มาแลว้ ทำ�ไมจะเอาไปใช้ ทรัพย์จึงจะไมเ่ ปน็ เสยี หมดเล่า ? อนั ตราย ? ๔. ๕. เดก็ ๆ ควรชว่ ย ความหมนั่ ผ้ปู กครองรกั ษาทรพั ย์ เก่ียวขอ้ งกบั การรักษาหรอื ไม่ ? อย่างไร ? 56

ทฏิ ฐธมั ม์ การคบเพอ่ื น ทีเ่ ปน็ คนดี ขอ้ ๓ ไดเ้ ลยหลาน ผมอยากฟังทิฏฐธัมม์ ดแี ลว้ ท่ีสนใจธรรมะ ต่อครบั คุณลุง เย็นวันรุ่งข้นึ เด็กชายละเอยี ดเห็นลุงนงั่ เล่นวา่ ง ๆ อยู่ จงึ คอ่ ย ๆ คลานเขา้ ไปหา หลวงเจรญิ เหลียวมาเหน็ ก็รวู้ า่ หลานจะมา ฟงั ธรรมขอ้ ๓ ตอ่ จงึ แสร้งถามวา่ “มธี ุระอะไรล่ะหลาน” เดก็ ชาย ละเอียดตอบว่า “ผมอยากฟงั ทิฏฐธมั ม์ต่อขอรบั ” ลุงจึงเริ่มอธิบายให้หลานฟังว่า “ทิฏฐธัมม์ข้อ ๓ คือ การ คบเพือ่ นท่เี ปน็ คนดี ไมค่ บคนชวั่ ภาษาบาลวี ่า กลั ยาณมติ ตตา 57

คนเราอยใู่ นโลก ทํำ�ไมเรารสู้ ึกเหงาเหลอื เกนิ แต่ผเู้ ดียวไมไ่ ด้ นับต้ังแตเ่ กดิ มา เราก็ตอ้ งอาศยั พอ่ แม่หรือผู้อื่น เชน่ ลุง ป้า อา ปู่ เลีย้ งดูมาก่อน จนเราเตบิ ใหญข่ น้ึ สามารถเคลอ่ื นไหว วง่ิ เดนิ ไปในทต่ี า่ ง ๆ ได้เอง เราจึงคอ่ ย ๆ พบปะรจู้ กั กับคนอน่ื มากข้นึ ทุกที ๆ ในชน้ั แรก ก็เป็นแต่เพียงเห็นเขาก่อน ต่อมาไปพบคนที่เราเคยเห็นนั้นอีก เราก็รู้จักและจำ�เขาได้ เกิดพูดจาไต่ถามอะไรกันเล็ก ๆ น้อย ๆ พอสนิทสนมเข้า ก็ไปมาหากันบ่อย ๆ เวลามีเร่อื งหรือธุระอะไรก็ เล่าสู่กันฟัง ขอความคิด ความเห็น ขอความช่วยเหลือ ให้ช่วย กระทำ�ส่ิงโน้นส่ิงน้ี ในท่ีสุดเม่ือต่างพอใจกันมากข้ึน ก็ร่วมมือกัน ทำ�ธรุ ะการงานต่าง ๆ ไปเทย่ี วดว้ ยกนั กนิ ดว้ ยกนั ไปดว้ ยกนั มาด้วยกนั เลอื ดสพุ รรณ ของเราน่เี อย... นอนด้วยกันคล้าย ๆ กับ เปน็ คน ๆ เดยี วกัน อาการที่ชว่ ยกนั ทำ�การงานและ กินนอนเท่ยี วเตร่ดว้ ยกนั นี้ เรยี กว่า การคบหาสมาคม 58

คนอ่ืน ๆ ท่ีเรา คบหาสมาคมนแี้ หละ มกั จะเป็นผทู้ ช่ี ักจงู นิสสยั ใจคอของเรา ใหเ้ ปล่ยี นแปลง จากสภาพหนง่ึ ไปอีกสภาพหนง่ึ ได้ ดงั มสี ุภาษติ วา่ “เขา้ ฝงู หงสก์ ็เปน็ หงส์ เขา้ ฝูงกากเ็ ปน็ กา” เจ้าจงจำ�สุภาษิตน้ไี ว้ให้ดี จะได้เป็นเครื่องเตือนใจ ให้เจ้า เลือกคบหาสมาคมกับคนดี ไม่คบคนชั่ว เพราะถ้าเราไปคบกับ คนดี เราก็มีหนทางที่จะเป็นคนดีได้ถ้าคบกับคนช่ัวก็เลยกลายเป็น คนชว่ั ไปดว้ ย ผู้ใหญ่บางคนห้ามลูกหลานของตนไม่ให้คบเพ่ือน แต่ท่าน ก็รู้ดีว่า เราอยู่แต่ลำ�พังผู้เดียวไม่ได้ เราต้องเกี่ยวข้องกับคนอ่ืน ๆ รอบข้าง แล้วทำ�ไมท่านจึงห้ามเสียเล่า ที่ท่านห้ามเช่นน้ันมิใช่ว่า ทา่ นตง้ั ใจจะกกั ขงั เราไว้ ใหเ้ ราอยแู่ ตผ่ เู้ ดยี วเมอ่ื ไร ทา่ นหวงั ดตี อ่ เรา ต่างหาก ท่านเล็งเห็นว่า เรายังเล็กอยู่ ยังไม่มีสติปัญญาท่ีจะรู้ว่า เพอ่ื นชะนดิ ไหนดี ชะนดิ ไหนไมด่ ี ควรคบหรอื ไมค่ วรคบ เพราะเพอ่ื น 59

ที่เราคบก็ลว้ นแต่เดก็ ๆ รนุ่ ราวคราวเดียวกัน ตา่ งคนตา่ งยังไม่รูจ้ กั ท่ีจะช่วยเหลอื ซึ่งกนั และกันเท่าไรนกั มีแตจ่ ะชกั ชวนกนั เลกิ เลน่ เถอะ วง่ิ เต้นหรือเล่น ไดเ้ วลาเรยี นแลว้ นะ อะไรต่ออะไร ตามความคะนอง ของเด็กเล็ก ๆ เพ่ือใหส้ นกุ เพลดิ เพลนิ ไปวันหนึง่ ๆ เทา่ นน้ั เอง และบางคราว ก็เพลินเล่นเกนิ ไป ถึงกบั ลมื นกึ ถงึ การเลา่ เรียนของตน มิหน�ำ ซำ�้ บางคราวยงั เลน่ ซนเปน็ การเกเรหยาบชา้ ตา่ ง ๆ อกี ถึงแม้เราจะไม่เป็นเช่นน้ัน จะไปได้เพ่ือนดี ๆ ท่ีรู้จักแนะนำ�ทำ� ประโยชน์ให้เราบ้าง ท่านก็ไม่เชื่อใจว่าเพื่อนคนน้ันจะมีสติปัญญา เฉลยี วฉลาดพอท่ีจะชักจงู เราไปสูท่ างทีช่ อบได้ 60

มาทางน้สี ิปลอดภัย แนใ่ จนะ ทา่ นคิดเสยี วา่ เดก็ สอนเดก็ ก็เหมือนกับ คนตาบอด จงู คนตาเสีย พากันไปตกบอ่ ตกเหวตายดว้ ยกนั ท้งั ค่นู ่ันเอง เพราะฉะนั้นท่านจึงห้ามเสียไม่ให้เราคบเพื่อน แต่ท่าน ไม่รู้ว่าท่านทำ�ให้เราโง่ ทำ�ให้เราไม่รู้จักการสมาคมและทำ�ให้เรา เห็นแก่ตัวเองเกินไป ครั้นถึงเวลาที่เราจำ�เป็นจะต้องทำ�การงาน อนั ใดอนั หนง่ึ ซง่ึ เกย่ี วขอ้ งกบั สมาคมเขา้ สิ เราท�ำ ไมไ่ ดเ้ พราะไมค่ นุ้ เคย หรือมีใจประหม่าสะทกสะท้านเก้อเขินต่าง ๆ ลุงอยากจะเห็นเจ้า องอาจในท่ามกลางที่ประชุมจึงไม่หวงห้าม เปิดโอกาสให้เจ้ารู้จัก การคบเพอ่ื นเสยี แตเ่ ดก็ ๆ แตเ่ จา้ กต็ อ้ งรจู้ กั วธิ คี บจงึ จะไดผ้ ลดี ลงุ จะ ไดแ้ นะนำ�ให้เจ้าฟังบ้างเล็กนอ้ ย จงต้ังใจจำ�ให้ดี เดก็ เลก็ ๆ มกั มวั เลน่ กบั เพอ่ื นฝงู เพลนิ เกนิ ไปจนไมไ่ ดน้ กึ วา่ เพอ่ื นของตวั บางคนจะเลน่ อะไร ท�ำ อะไร เปน็ ตอ้ งคอยคดิ เอาแตไ่ ด้ ฝา่ ยเดยี ว ไมค่ ดิ ถึงความเสยี หายของคนอื่น 61

อยา่ งที่เขาเรยี กว่า โทษทีนะ คนปอกลอก แขนเจ็บช่วยไม่ไดแ้ ลว้ บางคนดแี ต่ปาก พดู พลอ่ ย ๆ วา่ จะช่วยทำ� สง่ิ น้นั ส่ิงนใ้ี ห้ แล้วกเ็ หลว ไม่ทำ�จริง สกั คราวเดียว บางคนคอยแต่จะประจบ และทำ�ให้เราชอบเขา ยอมตาม เราเรอื่ ยไป ไมว่ า่ ดหี รอื ชวั่ ตอ่ หนา้ กส็ รรเสรญิ พอลบั หลงั กต็ ง้ั นนิ ทา บางคนชอบชักชวนเรา ลองเข้าไป ไปเล่นโยนหลมุ ทอยกอง ดูกนั ม้ยั พะนนั ๒๐เอาทรพั ยก์ นั ชกั ชวนใหเ้ รามวั เมา ในการเลน่ จนไม่เปน็ อันเล่าเรยี น บางทกี ช็ วนเราไปเทยี่ ว ดหู นัง หรือเทย่ี ว ทะเลาะววิ าทต่อยตีกบั คนอนื่ ๒๐ พนนั 62

เหลา่ นเ้ี ปน็ ตน้ เจา้ จงหมน่ั สงั เกตดใู หด้ ี ถา้ เหน็ ใครมลี กั ษณะ ดังที่ลุงกล่าวมานี้ เจ้าไมค่ วรคบ เพราะเปน็ คนช่ัว มแี ต่จะนำ�ให้เรา เปน็ นกั เลงพะนนั นกั เลงเหลา้ นกั เลงเจา้ ชู้ ตอ้ งเสยี ทรพั ยจ์ นสน้ิ ตวั แล้วคิดลวงเขาด้วยของปลอม หรือโกงเขาซง่ึ หนา้ และเปน็ นกั เลง หัวไม้ เท่ียวเกะกะระรานเขาเร่ือยไป จนต้องถูกตำ�รวจจับกุมไป ลงโทษตามกฎหมายของบ้านเมือง ขึ้นชื่อว่าคนช่ัวแล้ว อย่าได้ไป กลว้ั เกลอื กดว้ ยเปน็ อนั ขาด อยา่ คดิ วา่ คบมนั ไวม้ นั จะไดไ้ มม่ ารงั แก และช่วยคุ้มเกรงเราได้ด้วย แต่ผลท่ีได้ไม่เท่าเสีย ไหนเราจะต้อง เอาอกเอาใจไม่ให้มันขุ่นเคืองเราได้ ไหนใคร ๆ เขาจะเหมาว่าเรา เป็นคนชัว่ ทำ�ใหเ้ สยี ชอ่ื เสียง หรือถกู ใสร่ ้ายต่าง ๆ อย่างค�ำ โบราณ วา่ คบกบั เราดกี ว่า “คบพาล มีเรือ่ งสนกุ ใหท้ �ํำ เยอะแยะ พาลพาไปหาผดิ คบบณั ฑติ บณั ฑิตพาไปหาผล” คนท่อี ยากได้ ความสุขความเจรญิ จงึ ไม่ควรคบคนชว่ั ต้องเลือกคบแตค่ นทด่ี ี ดังลงุ จะจำ�แนกใหเ้ จ้าเหน็ เป็นพวก ๆ ดงั น้ี 63

มิตรจำ�พวกท่ี ๑ เป็นผู้อุปการะเก้ือหนุนเรา คอยป้องกัน ตัวเราและทรัพย์ของเราไม่ให้เป็นอันตราย และช่วยเหลือเราใน เวลาเราได้รับภัยพิบัติ มติ รจำ�พวกที่ ๒ ไม่ต้องกลัว เปน็ ผู้รว่ มสขุ ร่วมทุกข์ เราจะคุม้ ครองนายเอง ยอมล�ำ บากยากเยน็ ด้วยกัน มีความลบั กป็ รกึ ษาหารือกนั แต่กไ็ มไ่ ปขยายความลบั นั้น ให้ใคร ๆ รู้ เวลาเกดิ ภยั อันตรายขนึ้ ก็ไม่หนไี ปคนเดียว ยอมตายแทนเพื่อนได้ มิตรจำ�พวกที่ ๓ เป็นผู้คอยแนะนำ�ประโยชน์ให้ เวลาเห็น เราท�ำ ความชว่ั กห็ า้ มปราม แนะน�ำ ใหห้ มน่ั ท�ำ ความดี ชท้ี างสวรรคใ์ ห้ และเล่าเรือ่ งแปลก ๆ แลกวิชาความรูใ้ ห้แกเ่ รา มิตรจำ�พวกที่ ๔ เป็นผู้มีความรักใคร่ไม่ยอมให้ใครติเตียน เราได้ แตถ่ า้ ใครชมเรา เขากส็ นบั สนนุ รบั รอง พลอยมคี วามสขุ ความ ทุกข์ตามเราด้วย มติ ร ๔ จำ�พวกน้แี หละ เป็นมิตรสหายทดี่ ีน่าคบคา้ สมาคม เพราะเม่ือคบไว้แลว้ เรากย็ อ่ มไดร้ ับผลประโยชนด์ ังน้ี 64

๑. เม่ือเวลาเราเลินเล่อเผลอพล้ัง เขาก็คอยตักเตือนให้ เรารอบคอบไม่หละหลวมอีก หรือมีใครจะมาทำ�ร้ายรังแก เขาก็ ชว่ ยป้องกนั ไม่ให้เราเป็นอันตรายได้ ๒. บางคราวเราหลงลมื สง่ิ ของไว้ เปน็ ตน้ วา่ หนงั สอื เสอ้ื ผา้ เพ่อื นไปพบเหน็ เข้าร้วู ่าเป็นของเรา กจ็ ะไดเ้ กบ็ รักษาไวม้ ิให้หายสูญ เราก็ได้ของนัน้ กลับคืน ๓. เมื่อเรามีความลำ�บากอะไรข้ึน ก็ได้ไปปรึกษาหารือ ขอความช่วยเหลือจากเพื่อน เพ่ือนก็คงช่วยเหลือเราเต็มท่ี นับว่า ไดพ้ ง่ึ พาอาศยั เขา ๔. แม้เราจะยากจนลง เพอ่ื นก็คงไม่ละท้งิ หรอื ดถู ูก ๕. เพื่อนย่อมแสดงความเคารพนับถือวงศ์ตระกูลของเรา และท�ำ ตัวสนิทสนมกลมเกลียวกับวงศ์ญาติของเราดว้ ย รวมความว่ามิตรท่ีดีเป็นกำ�ลังช่วยเหลือเกื้อหนุนให้เรา มีความสามารถ ท�ำ กิจการต่าง ๆ ไดด้ ีกวา่ ที่เราท�ำ อยแู่ ตล่ �ำ พงั ทํำ�ไม เปรยี บเหมอื นดา้ ยเสน้ เดยี ว มนั ไม่ขาดนะ ไมเ่ หนยี วเท่าไรนัก ดึงปุดเดียวกข็ าด แตเ่ มอื่ ฟัน่ เข้า เปน็ เกลยี วแลว้ ก็ย่ิงเพิม่ กำ�ลังเหนยี ว ดงึ ขาดไดย้ ากขน้ึ 65

ด้วยเหตุเหล่าน้ีเอง จึงเป็นหน้าท่ีของคนทุกคนที่จะต้อง แสวงหากัลยาณมิตร คือมิตรดีไว้ แล้วคอยระวังรักษานำ้�ใจของ มติ รสหายนั้น ให้รักใคร่คบกนั ไดย้ ืดยาว ตามวิธีตอ่ ไปนค้ี ือ ๑. ไม่ทำ�ตนเปน็ คนตระหน่เี หนียวแน่น คอยเฉล่ียแบ่งปัน ส่ิงของของตนให้เพื่อนฝูงในยามเขาขาดเหลือ โดยมิต้องรอให้เขา ขอร้องกอ่ นเลย ๒. ใช้ถ้อยคำ�ที่อ่อนหวานไพเราะ ทักทายปราสัย๒๑กัน ไม่พูดจาหยาบคายขึ้นมึงขึ้นกูหรือด่าทอกันเล่น อย่าถือว่ารักใคร่ ชอบพอกนั แลว้ จะพดู อยา่ งไรกพ็ ดู ไปตามใจชอบ สภุ าษติ ทา่ นกลา่ ว ไว้วา่ “รักยาวให้บ่นั ขอบใจมาก นายนี่เปน็ เพอื่ นท่ีดีจรงิ ๆ ไมข่ นาดน้ันหรอก รักส้ันใหต้ อ่ ” จงตริตรองดูใหด้ ี ถ้าเราอยากจะคบกนั นาน กจ็ งตดั ความสนทิ ชิดชอบ เช่นใชค้ �ำ หยาบน้เี สีย เพราะขืนใช้กนั อย่เู รอ่ื ย ๆ กค็ งมเี วลาท่ีจะหมองใจ และเกดิ แตกรา้ วกันข้นึ ได้ ๒๑ ปราศรัย 66

๓. ต่างคนต่างต้องพยายามบำ�เพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ แก่กันและกันทั้งสองฝ่าย จะทำ�อะไรต้องคิดหน้าคิดหลัง ระวัง ไม่ใหเ้ พือ่ นเสียหายได้ เพราะเหน็ แตไ่ ด้ของตัวฝา่ ยเดียว ๔. ท�ำ ตวั เสมอตน้ เสมอปลาย เคยสนิทชดิ ชอบกนั อยา่ งไร ก็ให้เป็นไปอย่างน้ัน ไม่ใช่เห็นเขาตกตำ่�หรือเราได้ดีข้ึน แล้วถือตัว และดูหมนิ่ เขาตา่ ง ๆ นา ๆ๒๒ เจ้าได้ฟังลุงอธิบายทิฏฐธัมม์ข้อ ๓ มาแล้ว คงมีความรู้ใน ทางคบเพ่ือนบา้ ง อยา่ ไปลืมเสียหมด จงจำ�ไว้วา่ แมเ้ ราจะเปน็ เด็ก เล็ก ๆ อยู่ในโรงเรียน แต่ถ้ารู้จักคบคนดีมีประโยชน์ เป็นมิตร สนิทสนมกันแล้ว ก็อาจท่ีจะช่วยเหลือกันได้ดี ไม่มีใครดูหม่ิน หรอื เยาะหยามได้ ดุจพริกเม็ดเล็กทเ่ี ผ็ดยิง่ ฉะน้ันเทียว” ๒๒ ต่างๆ นานา 67

ค�ำ ถาม ประ จ�ำ บท ๑. อาการอย่างไร ที่เรยี กว่าคบเพอ่ื น ? ๒. ๓. การมีเพอ่ื นที่ดี ท�ำ ไมจงึ ใหห้ ม่นั นกึ ถึงสุภาษติ ท่ีวา่ “เขา้ ฝงู หงสก์ ็เปน็ หงส์ ภาษาบาลี เรยี กวา่ อะไร ? เข้าฝูงกาก็เปน็ กา” ? ๔. ๕. เราควรคบมิตรทีม่ ี การคบเพ่ือนทดี่ ี ลักษณะอยา่ งไร ? มีประโยชน์ อยา่ งไรบ้าง ? 68

ขอ้ ๔ทฏิ ฐธมั ม์ การเลย้ี งชวี ติ ตามก�ำ ลงั ทรพั ย์ ทห่ี าได้ วันน้ลี งุ จะอธบิ ายเรือ่ ง ทิฏฐธมั ม์ขอ้ ๔ ตอ่ วันต่อมา หลวงเจริญเรียกหลานเข้าไปนั่งใกล้แล้วกล่าวว่า “เมอ่ื คราวทล่ี งุ อธบิ ายทฏิ ฐธมั มข์ อ้ ๒ ทว่ี า่ ดว้ ยเรอ่ื งการรกั ษาทรพั ย์ ให้เจ้าฟังนั้น ลุงได้กล่าวถึงการจ่ายใช้ และได้เตือนให้เจ้าจำ�ไว้เป็น ขั้นแรกว่า ต้องจ่ายใช้ให้พอสมควร วันน้ีลุงจะได้อธิบายให้เจ้าฟัง โดยละเอียด ท่ีว่าต้องจ่ายให้สมควรนั้น คือให้คิดดูว่าเราหาทรัพย์ มาไดก้ ม่ี ากนอ้ ย ควรจะใชจ้ า่ ยเลย้ี งชวี ติ สกั เทา่ ไรจงึ จะเหมาะ อยา่ ให้ ฟูมฟายจ่ายใช้อย่างสุรุ่ยสุร่าย แต่ก็ไม่ใช่เหนียวแน่นเกินไปจน 69

ฝืดเคือง ไม่ได้รับความสุข การรู้จักใช้จ่ายเล้ียงชีวิตให้เหมาะกับ กำ�ลังทรัพย์น้ีแหละคือทิฏฐธัมม์ข้อ ๔ เรียกตามภาษาบาลีว่า สมชีวิตา (สะมะชีวิตา) เจ้าควรจะทำ�ความเข้าใจให้ดีเสียก่อนว่า การเล้ียงชีวิตฟูมฟายนั้นเป็นอย่างไร ถ้าลุงจะให้เจ้าตอบ เจ้าก็คง ตอบวา่ การเลย้ี งชวี ติ ฟมู ฟาย คอื การจา่ ยทรพั ยเ์ กนิ กวา่ ทห่ี ามาได้ ความจรงิ มใิ ชแ่ ตเ่ ทา่ นน้ั ถงึ ไมจ่ า่ ยเกนิ กวา่ ทห่ี าได้ จะจา่ ยใหเ้ สมอตวั หรือน้อยกว่าก็ตาม แต่ถ้าเกินต้องการไป ก็เรียกว่าฟูมฟายท้ังส้ิน เชน่ สมมตุ ๒๓วา่ เราเปน็ เศรษฐี มรี ายไดม้ ากมาย จะไปซอ้ื ทองค�ำ มา ทำ�เป็นรองเท้าใส่ รายได้ก็คงเหลือใช้ แต่ก็ต้องเรียกว่าฟูมฟาย เพราะสุรยุ่ สุร่ายไปจนเกินเหตุ หรือเชน่ คนเดนิ ทาง มาพบตน้ ล�ำ ไย ก�ำ ลังมผี ลเต็มตน้ นกึ อยากกนิ จึงตดั ต้นหรือฟนั ก่ิงลงมา เก็บกินแต่เล็กนอ้ ย แล้วก็ทิง้ ผลไมท้ ่เี หลอื นัน้ ใหเ้ สียไปเปล่า ๆ น่กี ็เรียกวา่ เกนิ ต้องการ จดั วา่ ฟมู ฟายเชน่ เดียวกนั ๒๓ สมมุติ 70

คนท่ีจ่ายทรัพย์ไปน้อยกว่าท่ีหามาได้ ก็ยังพอทำ�เนา ส่วน คนท่ีหามาได้เท่าไร ก็จับจ่ายใช้สอยไปจนหมดสิ้นน้ัน ย่ิงร้ายใหญ่ ถงึ เขาจะมคี วามสขุ ในการทไ่ี ดจ้ า่ ยใชท้ รพั ยน์ น้ั กจ็ รงิ แตห่ ามคี วามสขุ ตลอดไม่ เพราะจะเป็นอย่างคำ�โบราณว่า “หาเช้ากินค่ำ�” ถ้าเช้า วันใดไปหาไม่ได้ คำ�่ วนั นัน้ ก็ต้องอด เมอ่ื ไมม่ เี งินไวส้ ำ�รองเผอ่ื เช่นนี้ แล้ว จะได้ความสุขความเย็นใจที่ไหนเล่า เราไม่ควรเป็นคนคิดสั้น คือนกึ ถงึ แต่ปจั จุบันเทา่ นน้ั ควรคดิ ไปถงึ เวลาภายหนา้ บ้างว่า อาจ มเี หตตุ ่าง ๆ เกดิ ข้นึ โดยไมร่ ู้ตัว เช่น ป่วย เจบ็ หรอื ได้รับอันตราย โดยปัจจบุ นั ทันด่วน อุ่นใจทไี่ ด้เกบ็ หอมรอมริบไว้ หรือเวลาเราแกต่ วั ลง เม่ือยงั หนุม่ ทำ�มาหากนิ ต่อไปไมไ่ ดแ้ ลว้ เราจะไปเอาทรัพยท์ ีไ่ หนมาใช้ มิหน�ำ ซ้ำ�เวลาตายลงไป ยังเอาทกุ ขม์ าโยน ให้ลูกหลานของตนอกี จงึ จ�ำ เป็นต้องเตรียมตน เผ่ือไวส้ ำ�หรับเวลาเช่นนัน้ บา้ ง คอื ไม่ใช้ทรัพย์จนหมดสนิ้ ต้องเกบ็ ไวบ้ ้างเสมอ ๆ 71

แต่บางคนก็เตรียมตัวเผ่ือไว้จนเกินไป ประพฤติเบียดกรอ ทนอดทนอยาก เชน่ เฮ้อ..! กลืนยากเยน็ กินข้าวกบั เกลอื ด้วยม่งุ วา่ จะจ่ายทรพั ยแ์ ตเ่ ล็กนอ้ ย ทรพั ยจ์ ะได้เหลอื อย่มู าก เอาไว้เผื่อวันหนา้ แต่กวา่ จะกลืนข้าวลงไปในคอ ให้พออิ่มทอ้ ง แสนทจี่ ะลำ�บาก การท�ำ เชน่ นก้ี ไ็ มม่ ปี ระโยชน์ เพราะทรพั ยเ์ ปน็ เครอ่ื งบ�ำ รงุ ตน ให้ได้ความสุขสำ�ราญ ถ้าไม่ทำ�ประโยชน์เช่นน้ันแล้ว ก็เท่ากับไม่มี ทรัพย์อยู่เลย มัวปล่อยให้ชีวิตฝืดเคืองอยู่เร่ือย ๆ แล้วจะไปรับ ความสุขเม่ือไรกนั บางทเี ลยตายเสียก่อนก็มี เจ้าจงดูตวั อยา่ ง ในเวลาเราเลน่ ซอ เลย้ี งชวี ติ กเ็ หมือนสีซอ ถ้าเราขนึ้ สายสูงเกนิ ไป ต้องให้พอเหมาะพอดี สายนน้ั ก็มักขาด ถ้าเราผ่อนมันลงมาหย่อนยาน ก็ย่อมไม่มเี สียงดงั จ�ำ เปน็ ต้องขน้ึ สายแตก่ ลาง ๆ ไมต่ งึ นักหรอื หย่อนนัก จึงจะมีเสยี งดงั ไพเราะ 72

การเลย้ี งชวี ติ ของคนเรา ก็เช่นเดียวกัน ควรให้เป็นไปตาม สายกลาง คือไม่ให้ฝืดเคืองหรือฟูมฟายนัก รู้จักกำ�ลังทรัพย์ท่ีหา มาได้ ไมใ่ ชจ้ า่ ยบรโิ ภคจนเกนิ ไป อยากกนิ ถา้ หาไดน้ อ้ ย แต่เงินไมพ่ ออดใจไว้กอ่ น กก็ ระเหมด็ กระแหมเ่ ลย้ี งตน อดของฟมู ฟายตา่ ง ๆ เสยี ถา้ หาไดม้ ากกค็ ่อย ๆ เขยิบการเลยี้ งชพี ขน้ึ มา พอให้ไดร้ ับความสุขสำ�ราญ ตามกำ�ลงั ของทรัพย์นั้น แต่ควรแบ่งเก็บไว้เป็นทุนสำ�รองตามส่วน เผ่อื มีเหตุการณ์ ฉุกเฉินข้ึน เช่นเจ็บไข้ได้ยากจะได้ใช้จ่าย ไม่อดตาย ทำ�ได้เช่นน้ี กย็ อ่ มมคี วามสขุ ตลอดไป ส�ำ หรบั ตวั เจา้ ผเู้ ปน็ เดก็ ในเวลาน้ี กค็ งไมเ่ ดอื ดรอ้ นอะไรนกั เพราะการจา่ ยทรพั ยเ์ ลย้ี งชวี ติ มไิ ดต้ กเปน็ ธรุ ะหนา้ ทข่ี องเจา้ โดยตรง ลุงเป็นผู้รับผิดชอบแทบทั้งส้ิน แต่ก็มีเวลาท่ีเจ้าจะต้องจ่ายทรัพย์ ใช้เอง เช่นเวลาไปโรงเรียน ลุงให้สตางค์เจ้าไปซ้ืออาหารกลางวัน และซอ้ื เครื่องเรยี นเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ เวลาน้นั แหละเจา้ จะตอ้ งร้จู กั วา่ สิ่งไรเป็นของจำ�เป็น ไม่จำ�เป็น สิ่งที่ไม่จำ�เป็นก็ควรละเสีย ใช้จ่าย แต่พอควร ถ้าเหลือก็เก็บหอมรอมริบไว้ทีละน้อย ๆ แม้แต่จะเก็บ 73

ได้วันละ ๒ สตางค์ก็ยังดี เดือนหนึ่งรวมเป็น ๖๐ สตางค์ ปีหนึ่ง อย่างน้อยก็ตั้ง ๖ บาท กว่าเจ้าจะเล่าเรียนสำ�เร็จ ก็มีเงินติดตัว ไมใ่ ช่น้อยเจยี ว ปลวกขนดนิ มาท�ํำ รงั จงดูปลวกเป็นตัวอย่าง จนกลายเปน็ จอมปลวก ฉนั ใด มันคอ่ ย ๆ ขนดนิ ข้นึ มา ทลี ะน้อย ๆ นานเข้าก็ยงั เปน็ จอมปลวกใหญ่ เปน็ ท่ีอยขู่ องมันได้อยา่ งสบาย เจ้าจะยอมอายขายหน้า ปลวกเหลา่ นน้ั เจียวหรอื นึกให้ดี เด็ก ๆ ควรจะเริ่มหัดเก็บสตางค์ไว้เสียแต่เล็ก ๆ จะได้เคยชิน และไม่รู้สึกลำ�บากในการท่ีจะเก็บทรัพย์เมื่อโตขึ้น อยา่ มัวนกึ ทะนงเสยี ว่า ทรพั ย์สมบตั ิของบดิ ามารดา เงินที่เราเกบ็ สะสม ไวท้ ลี ะนอ้ ย ก็มมี ากขึ้น ฉนั นั้น มมี ากมายแลว้ เราไมต่ ้องแสวงหาอีก ถึงทา่ นจะมีให้เรา ก็นับวา่ เป็นกำ�ไรสว่ นหนง่ึ ส่วนเราก็ตอ้ งพยายาม กระเหม็ดกระแหมท่ รัพย์ไว้เป็นตน้ ทนุ ดว้ ยก�ำ ลังของเราเอง จะไดส้ มทบทวีมากย่งิ ข้ึน 74

แตไ่ มใ่ ชล่ งุ สอนใหไ้ ปนง่ั ทนอดทนหวิ จนแสบทอ้ ง ไมย่ อมซอ้ื สมดุ ปากกา หรอื อาหารอะไรกนิ เลย การเรยี นจะเปน็ ผลดอี ยา่ งไรได้ จงจำ�คำ�สุภาษิตสอนหญิงที่กล่าวว่า “มีสลึงพึงประจบให้ครบบาท อยา่ ให้ขาดส่งิ ของตอ้ งประสงค์ แม้นมีนอ้ ยใช้น้อยคอ่ ยบรรจง อย่า จ่ายลงให้มากจะยากนาน” สุภาษิตนี้ ไม่ใช่สอนแต่ผู้หญิงเท่านั้น สอนคนทั่ว ๆ ไป เด็ก ๆ ก็ต้องจดจำ�ไปทำ�ตามด้วยเหมือนกัน จึงจะมีความสขุ -ความเจริญ ตง้ั ตัวไดใ้ นภายภาคหน้า เดก็ ชายละเอยี ดเปน็ เดก็ ดี จดจ�ำ เรอ่ื งทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถประโยชน์ ท่ีลุงอธิบายและตักเตือนไว้ได้ทุกประการ มิใช่แต่เท่านั้น เด็กชาย ละเอยี ดยงั น�ำ ไปปฏบิ ตั ติ ามอกี ดว้ ย หมนั่ ทำ�การศึกษา ทัง้ ทางโรงเรยี นและทางบา้ น คดิ ไมล่ มื สภุ าษติ ๔ ขอ้ คอื ฟัง คดิ ถาม และจดนี้เลย ฟัง ถาม เวลาสอบซ้อม สอบไล่ ก็ได้ทด่ี ี ๆ เสมอ มีชื่อเสยี งโดง่ ดัง เปน็ ท่ีรกั ใครเ่ อน็ ดู จด ของครูทงั้ หลาย ไมต่ ้องถูกดุ ถกู เฆยี่ น 75

เพ่ือนฝงู กช็ มเชยและนบั ถือ นายเป็น เพราะเดก็ ชายละเอยี ด คนดีจรงิ ๆ รจู้ ักเอาใจคน รู้จกั เอ้อื เฟอ้ื เกื้อหนนุ มติ ร ไม่คดิ เอารดั เอาเปรยี บใคร เวลาจะทำ�การใด ๆ ก็องอาจไม่สะทกสะท้าน แต่กไ็ ม่แสดงความเย่อหยงิ่ อวดดี หรอื ดูหม่นิ ใคร ดว้ ยเจยี มตวั วา่ เปน็ ลกู ก�ำ พรา้ เคารพนบั ถอื ลงุ ผเู้ ลย้ี งดตู นมา เหมอื นกบั บดิ ามารดาของตวั เอง เชอ่ื ฟงั ค�ำ สง่ั สอนของทา่ น ไมฝ่ า่ ฝนื ข้อห้าม กิจธุระใด ๆ ที่ตัวจะช่วยทำ�ได้ เด็กชายละเอียดเป็นยินดี รบี ไปท�ำ โดยไมต่ อ้ งใหท้ า่ นออกปากใชเ้ ลย จงึ ท�ำ ใหล้ งุ เมตตาปราณ๒ี ๔ ย่งิ ขน้ึ คร้ันท่านแก่ลงก็ได้มอบทรัพย์ทั้งหมดให้ เพราะเห็นว่า เด็กชายละเอยี ดรจู้ กั กระเหมด็ กระแหมแ่ ตเ่ ลก็ ๆ ร้จู กั รกั ษาสงิ่ ของ เครอ่ื งใชไ้ วไ้ มใ่ หเ้ ปน็ อนั ตรายแลว้ กค็ งปกปกั รกั ษาทรพั ยส์ นิ เงนิ ทอง ท่ีมอบใหน้ ้นั ได้ ๒๔ เมตตาปรานี 76

ที่เรามวี นั นี้ได้ เด็กชายละเอยี ด เพราะพระคุณของคุณลุงแท้ๆ นกึ ถงึ บุญคุณของลงุ อยู่เสมอทุกเยน็ เชา้ ตง้ั หน้าทำ�มาหาเลีย้ งชีวิต ตามคำ�สงั่ สอนท่ีลุงให้ไว้ ปกครองบา้ นช่องได้เรยี บรอ้ ย และมคี วามสขุ ความเจรญิ ร�ำ่ รวยทรพั ย์ มีคนนบั หน้าถอื ตา ตลอดกาลนาน เด็กท่ีอ่านเร่ืองนี้ จงเอาเยี่ยงอย่างเด็กชายละเอียด จดจำ� และทำ�ตามทิฏฐธัมม์ ๔ ข้อน้ี จึงจะได้รับผลประโยชน์เห็นทันตา เช่นเดยี วกัน 77

คำ� ถาม ประ จำ� บท ๑. การเลย้ี งชวี ติ ฟูมฟายน้นั เปน็ อยา่ งไร ? ๒. ๓. ทำ�อย่างไรจึงจะ ทำ�ไมจงึ ให้พยายาม เรยี กว่าเลี้ยงชวี ิต กระเหม็ดกระแหม่ ทรัพยไ์ ว้แต่เล็ก ๆ ? ให้เหมาะ ? ๔. ผู้ท่ีทำ�ตามทิฏฐธัม- มิกัตถประโยชน์จะได้ ผลอย่างไรบา้ ง ? 78

ภาคผนวก ทฏิ ฐธัม๔มปกิ รัตะถกปารระโยชน์ หนงั สือสอนพระพทุ ธศาสนาแก่เดก็ นายจบั๊ อึง๊ ประทีป ได้รับพระราชทานรางวลั ช้นั ที่ ๑ ในการประกวดประจำ�พทุ ธศักราช ๒๔๗๖ มีพระราชนพิ นธค์ ำ�นำ� พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้พมิ พพ์ ระราชทาน เนื่องในงานพระราชพธิ วี ิศาขบชู า พุทธศกั ราช ๒๔๗๖



ค�ำ น�ำ เมื่อเร็ว ๆ น้ีมีเด็กคน ๑ มาตั้งปัญหาถามข้าพเจ้าว่า “ศาสนาน้ันมีทำ�ไมกัน และการที่เราเช่ือศาสนาน้ัน ให้ประโยชน์ อย่างไร ?” คำ�ถามน้ีทำ�ให้ข้าพเจ้านิ่งไปครู่ใหญ่ ไม่ใช่เพราะว่า ไม่รู้ว่าจะตอบว่าอย่างไร เพราะท่ีจริงปัญหานี้มีผู้ถามและมีผู้ตอบ มามากมายแล้ว และที่ตอบยืดยาวจนเป็นสมุดหนังสือเล่มใหญ่ก็มี ที่ข้าพเจ้าน่ิงไปก็เพราะอยากจะหาคำ�ตอบที่สั้นท่ีสุดและเข้าใจง่าย ที่สุด ข้าพเจ้าขอถือโอกาสเอาคำ�ตอบน้ันลงไว้ในคำ�นำ�นี้ ไม่ใช่ เพราะขา้ พเจา้ เหน็ วา่ เปน็ ค�ำ ตอบทด่ี ที สี่ ดุ และตรงกบั ความจรงิ ทส่ี ดุ หามไิ ด้ แตโ่ ดยหวงั วา่ เผอ่ื จะเปน็ ประโยชนแ์ กผ่ อู้ น่ื ทถ่ี กู ถามปญั หาน้ี หรือท่ีถามปัญหาน้ีแก่ตัวเองอยู่และยังหาคำ�ตอบไม่ได้ นอกจากน้ี คำ�ตอบนี้เองเป็นทางแสดงความมุ่งหมายของข้าพเจ้าให้ชัดว่า เหตุไรข้าพเจ้าจึงได้ให้มีการประกวดหนังสือสอนพระพุทธศาสนา แก่เด็กข้ึน คำ�ตอบของข้าพเจ้าน้ัน ดังนี้ :- “ศาสนามีขึ้นในโลก เพราะคนเราต้องประสบความทุกข์ และการมีศาสนาน้ันเป็น เคร่ืองระงับความทุกข์ และเคร่ืองเศร้าหมองได้ดีกว่าอย่างอื่น” คำ�ตอบของข้าพเจ้าเพียงเท่าน้ีย่อมไม่หมดสิ้นกระแสความที่จะ ตอบได้ แต่ข้าพเจ้าเห็นว่ากินใจความที่สำ�คัญและตรงกับหลักของ พระพทุ ธศาสนา

หนังสือท่ีได้รับรางวัลคราวน้ีก็เป็นส่วน ๑ ของคำ�ตอบ ปัญหาท่ีกล่าวมาข้างต้น และเป็นการขยายความในคำ�ตอบของ ข้าพเจ้าให้แจ่มแจง้ ขนึ้ อยสู่ ว่ น ๑ ด้วย ในปนี ีข้ ้าพเจ้าไดเ้ ลือกให้รางวัลท่ี ๑ แก่นายจ๊ับ อง๊ึ ประทปี และความเหน็ ของขา้ พเจา้ กเ็ ผอญิ สอดคลอ้ งตอ้ งกนั กบั มตสิ ว่ นมาก ของกรรมการราชบัณฑิตยสภาด้วย จึงเป็นอันว่าไม่มีปัญหาเลยว่า ส�ำ นวนน้ี ควรไดร้ บั รางวลั ท่ี ๑ การท่ีข้าพเจ้าเลือกให้รางวัลท่ี ๑ แก่สำ�นวนของนายจั๊บ อ๊งึ ประทีป น้ัน โดยเหตุผลดังตอ่ ไปนี้ :- ๑. มบี ทน�ำ กลา่ วถงึ “กรรม” โดยทว่ั ๆ ไป ซง่ึ เปน็ การเหมาะ กับเร่ืองอย่างยิ่ง และตรงกับความเห็นของข้าพเจ้าว่า สำ�หรับ การสอนเด็ก เราควรสอนในเร่ือง “กรรม” ให้มาก, จนมีความ เชื่อม่ันจริง เพราะจะทำ�ให้เป็นคนดี และเป็นทางระงับความทุกข์ ด้วย ๒. ใจความทแ่ี ตง่ ดมี าก ยกตวั อยา่ งทเ่ี หมาะและเขา้ ใจงา่ ย อธบิ ายแจม่ แจง้ ไพเราะ เมอ่ื ขา้ พเจา้ ไดอ้ า่ นแลว้ ท�ำ ใหบ้ งั เกดิ ธรรมปตี ิ หวังว่าจะมีผลอยา่ งเดยี วกนั สำ�หรับผูอ้ น่ื ๓. ส�ำ นวนทเ่ี ขยี นอา่ นงา่ ยส�ำ หรบั เดก็ และไมท่ �ำ ใหเ้ บอ่ื หนา่ ย ง่วงเหงา ข้าพเจ้าขอชมความพยายามของผู้แต่ง และอนุโมทนาใน กุศลเจตนาของเขา ขอกุศลกรรมอันน้ีจงเป็นประโยชน์แก่ผู้แต่งให้ เห็นทนั ตา และตลอดไปจนในภพหนา้ ด้วย

ข้าพเจ้าหวังว่าหนังสือเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ความเชื่อใน “กรรม” นั้นมกั จะมีผกู้ ลา่ วอยบู่ า้ ง วา่ เปน็ ความเชอ่ื ทท่ี �ำ ใหผ้ เู้ ชอ่ื เชน่ นน้ั “รามอื ราเทา้ ” ไมท่ �ำ อะไรเลย มัวแต่หวังในบุญในกรรมอย่างที่เรียกว่า “ปล่อยไปตามบุญตาม กรรม” บุคคลท่ีเชื่อในกรรมเช่นน้ีก็เห็นจะมีบ้าง แต่เป็นทางเชื่อที่ ไมต่ รงกับพระบรมพุทโธวาทเลย เปน็ ความเชอ่ื อย่างท่ฝี ร่ังเรยี กวา่ “Fatalistic” ที่จริง “กรรม” น้ันแปลว่า “ทำ�” ผู้ท่ีเช่ือในกรรม จริง ๆ ต้องพยายามทำ�ความดีให้มากที่สุด และละเว้นการทำ�ชั่ว เพราะต้องเช่ือว่า “ทำ�ดีได้ดี ทำ�ชั่วได้ชั่ว” จึงจะได้ชื่อว่ามีความ เขา้ ใจดใี นค�ำ สอนของพระพทุ ธเจา้ และมคี วามเชอ่ื อนั ถกู ตอ้ งแทจ้ รงิ ความเชอ่ื ในกรรมอยา่ งมน่ั คง ยอ่ มเปน็ ทางทจ่ี ะน�ำ ใหพ้ ทุ ธศาสนกิ ชน ประพฤติดงี าม และนอกจากน้นั ข้าพเจา้ เหน็ ว่าเป็นทางระงับทกุ ข์ ดว้ ย ถา้ หากความดที ี่เราได้กระทำ�ไว้จะยังมเิ หน็ ผลทนั ตา กจ็ งหวัง เถิดว่าจะต้องเป็นผลดีแก่เราวัน ๑ เป็นแน่แท้ ถ้าหากบางคร้ัง เราเห็นคนทำ�ดีได้ช่ัว คนทำ�ชั่วได้ดี ก็จงนึกเสียเถิดว่า มิวันใดก็ วัน ๑ เขาจะหนีผลกรรมของเขาหาพ้นไม่ มิควรจะเอามาเปน็ เหตุ ท่ีจะท้อถอยต่อการบำ�เพ็ญกุศลกรรมแต่อย่างใดเลย จงเชื่อมั่น ในผลของกรรมแล้วและบำ�เพ็ญกรณียกิจของตนให้สมกับท่ีเป็น พทุ ธมามกะอันแท้จริงเถดิ ถ้าคนเราไมม่ ีความเช่อื ในความยตุ ธิ รรม อันใดอันหน่ึงท่ีสูงกว่าความยุติธรรมของคนต่อคนกันเองแล้ว คนที่ประพฤติดีเห็นจะมีน้อยเต็มที และจะเป็นท่ีน่าเห่ียวแห้งใจ อยา่ งยิง่

ข้าพเจ้าหวังว่าหนงั สอื น้ี จะเป็นประโยชน์แก่ผอู้ ่านทุกคน ขอจงมคี วามสุขทว่ั กันเทอญ สวนไกลกังวล หวั หิน วันท่ี ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๖

(ส�ำ เนา) ท่ี ๑/๓๗ ราชบัณฑติ ยสภา วันท่ี ๒๕ เมษายน พทุ ธศักราช ๒๔๗๖ ขอเดชะฝา่ ละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้าขอพระราชทานกราบบังคมทูลรายงาน การประกวดแต่งหนงั สอื สอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก ส�ำ หรบั พมิ พ์ พระราชทานในงานพระราชพิธีวิศาขบูชา พ.ศ. ๒๔๗๖ ดังต่อไปน้ี หนังสือประกวดวิศาขบูชาปีนี้ ได้กำ�หนดทิฏฐธัมมิกัตถ- ประโยชน์ ๔ ประการเป็นหวั ขอ้ มีผ้แู ต่งส่งเข้ามา ๖๘ ราย เป็น พระภกิ ษุ ๓๒ ราย สามเณร ๘ ราย คฤหสั ถ์ชาย ๒๕ ราย หญิง ๓ ราย ราชบณั ฑติ ยสภาไดต้ ง้ั หมอ่ มเจา้ รชั ฎาภเิ ศก โสณกลุ หวั หนา้ จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั พระพนิ จิ วรรณการ และหลวงเทพดรณุ า- นศุ ษิ ฎ์ เปน็ กรรมการตรวจชน้ั แรก กรรมการ ๓ นาย เลอื กส�ำ นวนทด่ี ี เสนอกรรมการราชบณั ฑติ ยสภา ๖ ส�ำ นวน กรรมการราชบณั ฑติ ยสภา ได้ประชมุ กนั เม่อื วนั ที่ ๒๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๖ ตดั สิน ตามความเห็นส่วนมากใหเ้ ลอื กขน้ึ ทูลเกลา้ ฯ ถวาย ๓ สำ�นวน คอื ส�ำ นวนท่ี ๒๔, ๔๕ และ ๕๙ แต่งดสี มควรรับพระราชทาน รางวลั แลว้ จงึ ใหเ้ ปดิ ชอ่ื ผแู้ ตง่ ปรากฏวา่ ๐๐๐๐๐๐ ส�ำ นวนท่ี ๕๙

นายจบ๊ั อง๊ึ ประทปี ครโู รงเรยี นมธั ยมหอวงั จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั เปน็ ผแู้ ตง่ ๐๐๐๐๐๐ ไดค้ ะแนนมากกวา่ อกี ๒ ส�ำ นวน ขา้ พระพทุ ธเจา้ ขอพระราชทานทลู เกลา้ ฯ ถวายหนังสือทัง้ ๓ สำ�นวนนัน้ กับบัญชี คะแนนมาพรอ้ มกบั รายงานฉะบบั น้ี แลว้ แตจ่ ะทรงพระราชด�ำ รเิ ลอื ก สำ�นวนไหนใหไ้ ด้รับพระราชทานรางวลั ที่ ๑ เมอ่ื ทรงเลอื กแล้วอีก ๒ ส�ำ นวนกอ็ ยู่ในเกณฑ์รางวัลที่ ๒ ตามประกาศการประกวดแต่ง หนังสือแสดงพทุ ธศาสนาสำ�หรับสอนเด็ก ซ่งึ มคี วามว่า “ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ราชบัณฑิตยสภาเป็น พนักงานตรวจตัดสินตามวิธีซึ่งเห็นสมควร แล้วคัดที่ดีที่สุดขึ้น ทลู เกลา้ ฯ ถวาย ๓ ราย พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั โปรดรายไหน ยง่ิ กวา่ เพอ่ื น จะทรงเลอื กพมิ พเ์ ปน็ หนงั สอื พระราชทานในวนั วศิ าขบชู า และจะทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานรางวัลท่ี ๑ ราคา ๒๐๐ บาทแกผ่ แู้ ตง่ อกี ๒ รายทร่ี องลงมานน้ั จะพระราชทานรางวลั ที่ ๒ ราคา ๑๐๐ บาท” ดังนี้ ควรมิควรแล้วแตจ่ ะทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ขา้ พระพุทธเจ้า พิทยาลงกรณ์ นายกราชบัณฑิตยสภา ขอเดชะ

นายจ๊บั อึ๊งประทปี

ทฏิ ฐธัมมิกัตถประโยชน์ ๔ ประการ หนงั สอื สอนพระพุทธศาสนาแกเ่ ด็ก ISBN : 978-616-7975-05-4 แตง่ โดย นายจับ๊ อึ๊งประทปี ได้รับพระราชทานรางวัล ชั้นท่ี ๑ ในการประกวดหนงั สอื สอนพระพทุ ธศาสนาแกเ่ ด็กประจำ�ปี พ.ศ. ๒๔๗๖ พิมพ์ครง้ั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๔๗๖ พมิ พ์ครง้ั ที่ ๒ (ปรบั ปรุง) พ.ศ. ๒๕๕๘ จำ�นวน ๓,๐๐๐ เล่ม จดั พิมพโ์ ดย สำ�นักงานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี สวนจติ รลดา พระราชวงั ดสุ ิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๓ โทรศัพท์ ๐ ๒๒๘๒ ๖๕๑๑ โทรสาร ๐ ๒๒๘๑ ๓๙๒๓ ออกแบบปก/รปู เล่ม/และภาพประกอบโดย ไพยนต์ กาสี เสาวณยี ์ เท่ียงตรง และ อนันต์ กิตตกิ นกกลุ พิมพท์ ่ี หจก. แอลซีพี ฐติ ิพรการพิมพ์ ๑๐๕/๖๖-๖๗ ถนนประชาอทุ ิศ ซอย ๔๕ แขวงบางมด เขตทุง่ ครุ กรุงเทพฯ ๑๐๑๔๐