บทท่ี ๔ ขอ้ เสนอใหป้ ระเพณรี ับบัว เปน็ มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรมของชาติ/มนษุ ยชาติ ๔.๑ เหตผุ ล ประเพณีรับบัวเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมายาวนานของชาวบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จากหลักฐานน่าจะเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๒ หรือกว่า ๑๘๐ ปีที่ผ่านมา (พระราชพงศาวดาร, ๒๓๗๐) ในสมัยก่อนนั้น ประชาชนท่ีอยู่ในแถบบางพลีมีอยู่สามพวก คือ คนไทยเจ้าของพื้นที่กับคน ลาว และคนมอญหรือท่ีเรียกว่ารามัญ แต่ละกลุ่มจะมีหัวหน้าควบคุมดูแล ต่อมาคนทั้งสามกลุ่มได้ ปรึกษากัน แล้วร่วมแรงร่วมใจกันหักร้างถางพงแยกออกไปคนละทิศคนละทาง เพ่ือเพ่ิมพ้ืนที่ เพาะปลูกให้กลุ่มของตน ปรากฏว่าพวกมอญท่ีแยกไปทางลาดกระบังเพาะปลูกแล้วไม่ได้ผล นกหนู รบกวน จึงเตรียมตัวอพยพกลับปากลัดถ่ินเดิม (ปัจจุบันคืออาเภอพระประแดง) โดยเริ่มอพยพในวัน ข้ึน ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ก่อนออกพรรษาหน่ึงวนั จงึ ได้เก็บดอกบัวจากบางพลีท่ีมีอยู่จานวนมากไปด้วย มากมาย โดยบอกกล่าวกับคนไทยที่คุ้นเคยกันว่าจะนาไปบูชาพระคาถาพัน (เทศมหาชาติ) ท่ีปาก ลัด ทั้งยังชักชวนว่าในปีต่อไป พอวันข้ึน ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ขอให้คนไทยเก็บดอกบัวรวบรวมไว้ที่วัด หลวงพ่อโตด้วย พวกตนจะมารับ พอถึงกาหนดก่อนวันนัดหมาย คนไทยก็เก็บรวบรวมดอกบัวไว้ท่ี บางพลีใหญ่ พวกมอญก็มารับดอกบัวตามที่ตกลงกันไว้ เวลาท่ีพวกมอญมารับดอกบัวนั้น จะมากัน ด้วยเรือขนาดใหญ่จุคนได้ถึง ๕๐–๖๐ คน มีการร้องราทาเพลง การละเล่นต่าง ๆ มาร่วมกันอย่าง สนุกสนาน พวกท่ีคอยรับก็พลอยเล่นสนุกสนานไปด้วย ทั้งยังได้เตรียมอาหารคาวหวานไว้เล้ียงดูกัน ด้วย เม่ืออ่ิมหนาสาราญดีแล้ว พวกมอญนี้จึงนาดอกบัวไปบูชาหลวงพ่อโตส่วนหน่ึง อีกส่วนหน่ึงนา กลับไปบชู าพระคาถาพนั ทว่ี ัดของตนในวันออกพรรษา จากความรว่ มแรงรว่ มใจกันทาบุญและเล้ียงดู เล่นสนุกสนานร่วมกันทุกปีนี้เอง จึงมีผู้สันนิษฐานว่าคงจะก่อให้เกิดความคุ้นเคยอันส่งผลให้การรับ- ส่งบวั ที่เคยรับส่งกันแบบยกมือพนมอธิษฐานแล้วจึงส่งให้มือต่อมือ เปล่ียนรูปแบบไปบ้างอย่างที่เห็น ในปจั จบุ นั (สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ, ๒๕๓๘) ประเพณีรับบัวจึงมีความสาคัญในด้านความเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษของชาว บางพลีได้มอบไว้ให้ลูกหลานของตน มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์อันแสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ ชุมชนและความหลากหลายทางวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ แสดงให้เห็นถึงแบบอย่างของภูมิปัญญา บรรพบรุ ุษท่ไี ด้รว่ มกนั สร้างอัตลกั ษณช์ ุมชนบนพ้นื ฐานของความเป็นกัลยาณมิตร เอ้ืออาทรช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน ทั้งอาชีพการงานและความเป็นอยู่ ตลอดจนความเช่ือในเรื่องบุญกุศลทั้งภพน้ีและภพ หน้า เป็นวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถ่ิน เอาไมตรีจิต สร้างกิจกรรมให้ได้มีการระลึกถึงกัน ให้ได้มี โอกาสไดร้ ว่ มทาบุญกศุ ลร่วมกัน มีความสนุกสนาน และช่วยเหลือเอื้ออาทรกันเป็นประจาทุกปีสืบต่อ กันมาอยา่ งยาวนาน เปน็ กิจกรรมท่ีทวีความงอกงามขึ้นทางดา้ นจติ ใจทย่ี ึดถือรว่ มกันในสงั คม
-๔๗- ลักษณะของประเพณีและกิจกรรมประกอบต่าง ๆ ได้ผันแปรไปตามยุคสมัย มีการอ้างปูม ตานานแตกต่างกันอย่างหลากหลาย มีหลักฐานอ้างอิงบ้าง ไม่มีบ้าง แต่งเติมเสริมแต่งบ้าง และกาลัง จะไม่เห็นเค้ามูลอุดมการณ์ดั้งเดิม การสืบทอดประเพณีรับบัวขาดการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่าง แทจ้ รงิ ทาให้สายใยวฒั นธรรมชุมชนเริ่มขาดหายไป จาเป็นอย่างย่ิงท่ีต้องมีการส่งเสริมสนับสนุนการ กระตุ้นจิตสานึกการมีส่วนร่วมของบุคคล กลุ่มบุคคลและชุมชนในการสืบทอด และปกป้องคุ้มครอง มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมให้สืบทอดต่อไปอย่างไม่ขาดสายและสร้างความยั่งยืน เพ่ือสืบสาน พัฒนาและสืบทอดอนุรักษ์ท้ังประวัติและคติวิธีการ ไว้เป็นมรดกวัฒนธรรมท้องถ่ิน ชุมชน และ ประเทศชาติ และยาวนานไปจนกระท่ังถึงความเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของโลกสืบต่อไป อีกทั้งรูปแบบของประเพณีรับบัวแบบดั้งเดิมได้เปล่ียนแปลงไปจากเดิมที่ชาวมอญพายเรือจากคลอง สาโรงมารับดอกบัวท่ีบางพลีได้หายไป เน่ืองจากเส้นทางคมนาคมทางน้ามีการปิดประตูกั้นน้า การ สัญจรทางคลองสาโรงถูกตัดขาดจากกนั และเปลี่ยนรปู แบบมาเป็นการแห่องค์จาลองหลวงพ่อโตทาง น้าจากวดั บางพลีใหญ่ในถึงสาโรง และจากวัดบางพลีใหญ่ในถึงบางบ่อ แต่เดิมชาวบ้านที่อาศัยอยู่ริม คลองสาโรงจะจัดโต๊ะหมู่บูชาที่ท่าน้า เพ่ือรอรับขบวนเรือแห่องค์จาลองหลวงพ่อโต และจุดธูปเทียน บูชาที่โต๊ะหมู่บูชาที่ท่าน้าหน้าบ้านเมื่อขบวนเรือแห่องค์หลวงพ่อโตจาลองแห่ผ่าน (ชูศรี สัตยานนท์, ๒๕๕๕) แต่ปัจจุบันวิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป ไม่มีการจัดต้ังโต๊ะหมู่บูชา อีกท้ังยังพบว่าคนรุ่นหลังจะมี การนมสั การองค์หลวงพ่อโตจาลองทแี่ ห่มาทางเรืออย่างไมส่ ุภาพ ๔.๒ แนวทางการสง่ เสริมให้ประเพณีรบั บัวเป็นมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรมของ ชาติ/มนษุ ยช์ าติ ประเพณีรับบัวเป็นประเพณีท่ีสืบทอดกันมายาวนานของชาวบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มีความสาคัญในดา้ นความเป็นมรดกทางวัฒนธรรมท่ีบรรพบุรุษของชาวบางพลีได้มอบไว้ให้ลูกหลาน ของตน มคี วามสาคัญทางประวัตศิ าสตรอ์ นั แสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ชุมชนและความหลากหลายทาง วัฒนธรรมและชาติพันธุ์ แสดงให้เห็นถึงแบบอย่างของภูมิปัญญาบรรพบุรุษที่ได้ร่วมกันสร้างอัต ลักษณ์ชุมชนบนพ้ืนฐานของความเป็นกัลยาณมิตร เอ้ืออาทรช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ท้ังอาชีพการ งานและความเป็นอยู่ ตลอดจนความเช่ือในเรื่องบุญกุศลทั้งภพนี้และภพหน้า เป็นวัฒนธรรมภูมิ ปัญญาท้องถิ่น เอาไมตรีจิต สร้างกิจกรรมให้ได้มีการระลึกถึงกัน ให้ได้มีโอกาสได้ร่วมทาบุญกุศล ร่วมกัน มคี วามสนุกสนาน และช่วยเหลือเอื้ออาทรกันเป็นประจาทกุ ปีสบื ต่อกนั มาอย่างยาวนาน เป็น กิจกรรมท่ีทวีความงอกงามข้ึนทางด้านจิตใจที่ยึดถือร่วมกันในสังคมลักษณะของประเพณีและ กิจกรรมประกอบต่าง ๆ ได้ผันแปรไปตามยุคสมัย มีการอ้างปูมตานานแตกต่างกันอย่างหลากหลาย มีหลักฐานอ้างอิงบ้าง ไม่มีบ้าง แต่งเติมเสริมแต่งบ้าง และกาลังจะไม่เห็นเค้ามูลอุดมการณ์ด้ังเดิม การสืบทอดประเพณีรับบัวขาดการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างแท้จริง ทาให้สายใยวัฒนธรรมชุมชน เร่ิมขาดหายไป จาเป็นอย่างยิ่งท่ีต้องมีการส่งเสริมสนับสนุนการกระตุ้นจิตสานึกการมีส่วนร่วมของ บุคคล กลุ่มบคุ คลและชมุ ชนในการสบื ทอด และปกปอ้ งค้มุ ครองมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมให้สืบ ทอดต่อไปอย่างไม่ขาดสายและสร้างความย่ังยืน เพ่ือสืบสานพัฒนาและสืบทอดอนุรักษ์ท้ังประวัติ
-๔๘- และคติวิธีการ ไว้เป็นมรดกวัฒนธรรมท้องถิ่น ชุมชน และประเทศชาติ และยาวนานไปจนกระท่ังถึง ความเปน็ มรดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรมของโลกสบื ต่อไป
บทที่ ๕ พิกัดทางภูมิศาสตร์ สภาพทวั่ ไปของอาเภอบางพลใี นปจั จุบัน พื้นที่อำเภอบำงพลี เป็นท่ีรำบลุ่มดินอุดมสมบูรณ์เหมำะแก่กำรทำเกษตร ทำนำข้ำว นำปลำ และทำสวน มีลำคลองสำโรงเป็นคลองสำคัญ ซ่ึงแยกมำจำกแม่น้ำเจ้ำพระยำและมีคลองซอยต่ำงๆ ประมำณ ๑๐๐ คลอง ปัจจุบันเนื่องจำกกำรขยำยตัวของเมือง ทำให้สภำพพ้ืนที่อำเภอบำงพลี เปลย่ี นไปจำกท้องนำกลำยเป็นอำคำรพำณิชย์ บำ้ นจดั สรร และโรงงำนอตุ สำหกรรม ๑. ทต่ี ง้ั อำเภอบำงพลีตั้งอยู่ทำงทิศเหนือ ริมคลองสำโรง หมู่ที่ ๘ ตำบลบำงพลีใหญ่ ห่ำงจำกตัว จงั หวดั สมุทรปรำกำร ๑๘ กิโลเมตร มเี น้ือท่ีประมำณ ๒๑๐.๒๙ ตำรำงกโิ ลเมตร ๒. อาณาเขตตดิ ตอ่ ดังนี้ ทศิ เหนอื ติดต่อเขตพระโขนง และเขตลำดกระบัง กรงุ เทพมหำนคร ทศิ ใต้ ติดต่อเขตอำเภอเมือง จงั หวดั สมทุ รปรำกำร ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ เขตอำเภอบำงเสำธง ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่ออำเภอเมืองสมุทรปรำกำร และเขตพระโขนง กรงุ เทพมหำนคร ๓. การแบ่งเขตการปกครอง อำเภอบำงพลแี บง่ พื้นที่ปกครองออกเป็น ๙ ตำบล ๘๙ หมู่บ้ำน ๑ เทศบำล คอื เทศบำลตำบลบำงพลี ๑. ตำบลบำงพลใี หญ่ มี ๒๓ หมูบ่ ้ำน ๒. ตำบลรำชำเทวะ มี ๑๘ หม่บู ำ้ น ๓. ตำบลบำงแกว้ มี ๑๖ หม่บู ้ำน ๔. ตำบลบำงปลำ มี ๑๕ หมบู่ ้ำน ๕. ตำบลบำงโฉลง มี ๑๑ หมู่บ้ำน ๖. ตำบลหนองปรือ มี ๓ หม่บู ้ำน ๗. เทศบำลตำบลบำงพลี มี ๘ ชุมชน
-๕๐- ภาพที่ ๑ แสดงเขตเทศบำลตำบลบำงพลแี ละอำเภอบำงพลโี ดยสงั เขป แหล่งที่มา อำเภอบำงพลี ๔. เขตพ้ืนที่ปกครองส่วนท้องถ่ิน (๑) เทศบำลตำบลบำงพลี มีเนือ้ ท่ี ๓ ตำรำงกโิ ลเมตร ตำรำงกโิ ลเมตร (๒) องค์กำรบรหิ ำรสว่ นตำบลบำงพลใี หญ่ มีเนื้อที่ ๓๙.๓๖ ตำรำงกิโลเมตร ตำรำงกโิ ลเมตร (๓) องค์กำรบริหำรส่วนตำบลบำงแก้ว มีเนื้อที่ ๒๔.๖๙ ตำรำงกิโลเมตร ตำรำงกโิ ลเมตร (๔) องค์กำรบริหำรส่วนตำบลบำงปลำ มเี น้อื ที่ ๕๓.๓๘ ตำรำงกิโลเมตร (๕) องค์กำรบรหิ ำรสว่ นตำบลรำชำเทวะ มเี นอื้ ท่ี ๓๑.๐๐ (๖) องค์กำรบริหำรส่วนตำบลบำงโฉลง มีเนอ้ื ที่ ๓๓.๕๐ (๗) องค์กำรบรหิ ำรส่วนตำบลหนองปรอื มีเน้ือที่ ๒๓.๖๔
เอกสารอ้างองิ กรมศลิ ปากร. ๒๓๗๐. พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลที่ ๓. ฉบบั พระยาทพิ ากรวงศ์ หนา้ ๓๖๒-๓๖๓ : ปีชวดสัมฤทธิศกคือ ปีชวด จศ.๑๑๙๐ ตรงกบั พ.ศ. ๒๓๗๐ (รชั กาลที่ ๓ เสวยราชได้ ๕ ปี) กรมศลิ ปากร. ๒๕๐๔. ประวตั เิ มอื งนครเข่อื นขันธ์ และประเพณีเก่ยี วกบั ชีวิต ในพระราช พงศาวดาร. รัชกาลท่ี ๓ เลม่ ๑ หน้า จดั พิมพแ์ จกในงานพระราชทานเพลิงศพ นายพัน ตารวจเอกหลวงไวยวิชติ (ประสงค์ โกมลกนก). ๙๔ โรงพมิ พค์ ุรสุ ภา. นายกาจรสถิรกลุ ผู้ พิมพผ์ ู้โฆษณา ๕ ธันวาคม ๒๕๐๔ (หน้า ๑๓, ๑๘๑) กรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม. ๒๕๕๔. มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ. ประจาปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๔.(เอกสารพมิ พแ์ จกในงานสยามไทยมงุ มรดกวัฒนธรรม ระหว่างวันที่ ๒-๔ กันยายน ๒๕๕๔). กรมสง่ เสริมวฒั นธรรม. ๒๕๕๕. มรดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรมของชาติ. พธิ ปี ระกาศข้ึน ทะเบยี นมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาติ ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๕๕. วนั ศุกรท์ ่ี ๑๔ ธนั วาคม ๒๕๕๕ ณ หอประชุมเลก็ ศนู ย์วัฒนธรรมแหง่ ประเทศไทย. กรมสง่ เสริมวัฒนธรรม. กระทรวงวัฒนธรรม. กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. ๒๕๕๕. อนสุ ัญญาว่าดว้ ยการสงวนรักษามรดกทางวฒั นธรรมทจ่ี บั ตอ้ ง ไม่ได้. (เอกสารแปล).กระทรวงวัฒนธรรม, ๒๕๕๕. ขนบธรรมเนียมประเพณที ้องถิน่ : งาน ประเพณีรบั บวั .ค้นจาก http://webhost.m- ulture.go.th/province/samutprakan/PDF/110325.pdf. เม่ือ วนั ท่ี ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕. กรมสง่ เสริมวฒั นธรรม. ๒๕๕๕. ๙ สง่ิ ควรรู้กับ “มรดกภูมปิ ญั ญาทาวฒั นธรรม” วารสาร วัฒนธรรม. สานักนวัตกรรมทางวัฒนธรรม กรมส่งเสรมิ วัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม หน้า ๖๘-๖๙ กระทรวงวัฒนธรรม. ๒๕๕๕. งานประเพณีรับบัว. คน้ จาก http://webhost.m-culture.go.th/province/samutprakan เมื่อวันที่ ๖ มถิ ุนายน ๒๕๕๕ กลมุ่ คลงั ข้อมูลมรดกภมู ิปญั ญา. ๒๕๕๔. คมู่ ือการจดั ทาข้อเสนอโครงการในการรวบรวมและ จัดเก็บขอ้ มลู มรดกภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม. โดย กลมุ่ คลังขอ้ มูลมรดกภมู ปิ ัญญา. สถาบัน วัฒนธรรมศึกษา (สานักมรดกภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม) กรมสง่ เสริมวฒั นธรรม กระทรวง วัฒนธรรม. คกึ ฤทธ์ิ ปราโมช. ๒๕๔๘. ธรรมคดี. บริษทั นานมบี ุ๊คส์ จากัด. กรงุ เทพมหานคร. เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์. พระราชพงศาวดาร รัชกาลที่ ๓ เล่ม ๑ (หนา้ ๘๙-๙๓). โรงพมิ พ์คุรสุ ภา นายกาจร สถิรกลุ ผพู้ ิมพ์ผู้โฆษณา ๔ ธันวาคม ๒๕๐๔ จฬุ าลักษณ์ สีดาคุณ. ๒๕๔๗. ประเพณไี ทย คน้ จาก http://personal.swu.ac.th/students/hm471010130/web/index.htm อา้ งอิงใน www.prapayneethai.com เมือ่ วันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๕.
-๗๕- พระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารีมหาเถระ ร.บ.). ไมป่ รากฏปที ี่ตีพิมพ์. พุทธประวตั ทิ ศั นศกึ ษา กรมการศาสนา. กระทรวงฒนธรรม. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์. พระโสภณพัฒนากร. ๒๕๕๔. ยิง่ พิศ ยิ่งเจริญ. วัดบางพลใี หญ่ใน จดั พมิ พเ์ น่ืองในโอกาสพระราช พธิ ีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระบาทสมเด็จพระ เจา้ อยหู่ ัว ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานตั้งสมณศกั ดิ์ให้พระครูวบิ ูลธรรมานุกจิ (จรัล สิริ ธมโม) เปน็ พระราชาคณะชัน้ สามญั ในราชทนิ นามที่ พระโสภณพัฒนากร พทุ ธทาสภกิ ขุ. ภาพพุทธประวัติจากหนิ สลกั ยคุ ก่อนมพี ระพทุ ธรปู . จัดพิมพโ์ ดย กองทุนวฒุ ธิ รรม ร้านหนงั สือธรรม ๗๐ ถ.พษิ ณุโลก ส่ีเสาเทเวศร์ เขตดสุ ติ กทม.๑๐๓๐๐ (หน้า ๔๑๗) ชาญวิทย์ เกษตรศริ ิ และกัณฐิกา ศรีอุดม. ม.ป.ป. ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม. มลู นิธโิ ตโยตา้ ประเทศ ไทย จัดพิมพ์ ๘๗/๒ ชัน้ ๔๒ ซีอารซ์ ี ทาวเวอร์ถนนวทิ ยุ แขวงลุมพนิ ี เขตปทุมวนั กทม. ๑๐๓๓๐ โทร.๐๒-๓๔๐๕-๒๐๖๘ (หนา้ ๒๐๔) ชาย โพธิสิตา. ๒๕๔๗. ศาสตร์และศลิ ป์แหง่ การวจิ ัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: อมรนิ ทรพ์ ร้ินต้ิง แอนด์พับลิชชิง่ จากดั (มหาชน). ชศู รี สตั ยานนท์. ๒๕๕๓. เลา่ เรอ่ื งเมอื งบางพลี เล่ม ๒. สภาวฒั นธรรมอาเภอบางพลี. จังหวัด สมุทรปราการ. พงศ์พัฒน์การพมิ พ์. ชศู รี สัตยานนท์. ๒๕๕๔. หนงั สอื หลกั สตู รท้องถ่ิน “เลา่ เรือ่ งเมืองบางพล”ี โรงเรยี น สนั ต์เสริม วทิ ย์ อาเภอบางพลี จังหวดั สมทุ รปราการ ผูจ้ ดั พมิ พ์. พงศ์พัฒนก์ ารพมิ พ์. ธวชั ปุณโณทก. ๒๕๔๙. เมอื งศรีมโหสถ: สงั คมชาวพุทธและพราหมณ์. วารสารท่รี ะลึกในพิธเี ปดิ หอศิลปและวฒั นธรรมภาคตะวนั ออก. มหาวทิ ยาลยั บรู พา. (หนา้ ๓๓- ๔๒) ธวัช ปุณโณทก. ๒๕๔๙. ชาวบา้ นชาวเมืองภาคตะวันออก. วารสารทีร่ ะลกึ ในพธิ เี ปิดหอศิลปและ วฒั นธรรมภาคตะวนั ออก. มหาวทิ ยาลยั บูรพา. (หนา้ ๔๔-๖๓) ธนิก เลศิ ชาญฤทธ์. ๒๕๕๔. การจดั การทรัพยากรวฒั นธรรม. ศนู ยม์ านุษยวิทยาสิรนิ ธร(องค์การ มหาชน) นริ าศภเู ขาทอง. ๒๔๙๑. ทร่ี ะลกึ วนั เกดิ นายประยรู พิศนาค. เมื่อวนั ที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๔๙๑. พมิ พ์ทเี่ ขษมบรรณกจิ ๒๓๒-๒๓๔ กรงุ เทพฯ นธิ ิ เอีย่ วศรีวงศ์. ๒๕๕๓. กรงุ แตก, พระเจา้ ตากฯและประวัตศิ าสตร์ไทย. สานักพิมพ์มตชิ น จากดั (มหาชน) กรงุ เทพมหานคร. มรดกโลก มรดกรว่ ม : การนาเสนอ คณุ ค่า และการจัดการ. 2010. Proceedings ICOMOS Thailand International Conference 2009-2010 “World Heritage-Shared Heritage : Nomination, Values and Management” October 15-17, 2010, Songkhla, Thailand. ปรศิ นา พงษ์ทัดศริ ิกุล. ๒๕๕๔. ค่มู อื การจดั ทาข้อเสนอโครงการในการรวบรวมและ จดั เกบ็ ขอ้ มูลมรดกภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม. โดย กลุ่มคลงั ข้อมลู มรดกภูมิปญั ญา. สถาบนั วัฒนธรรมศึกษา (สานักมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม) กรมส่งเสริมวฒั นธรรม กระทรวง วัฒนธรรม.
-๗๖- ประชา จนั ทรสมโภช. ๒๕๕๕. ประวตั คิ ลองสาโรง. วดั บางพลใี หญ่กลาง โรงเรยี นนวมินราชูทิศ เตรียมอดุ มพัฒนาการ อาเภอบางบ่อ จังหวดั สมทุ รปราการ. คน้ จาก www.thaigoodwiew.com/library2006. เม่อื วันที่ ๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๕. ประยรู พศิ นาคะ. ๒๔๙๑. รวมบทกวสี ุนทรภู่. หนงั สอื เก่าที่ระลกึ วันเกดิ เม่ือ ๑๐ กรกฎาคม ๒๔๙๑ พมิ พ์ท่เี ขษมบรรณกจิ ๒๒๓-๔ นครเขษม กรุงเทพมหานคร. ประเพณีรบั บวั . ๒๕๕๕. ค้นจาก nal.swu.ac.th/students/hm471010130/web/page17.htm เมือ่ วนั ท่ี ๑ มถิ นุ ายน ๒๕๕๕. ปภสั รา เรืองรมั ย์. ๒๕๕๕. วัฒนธรรมภาคกลาง. ค้นจาก www.lerners.in.th/blog/papatsara1905/460775 เม่ือวนั ท่ี ๑ มิถุนายน ๒๕๕๕. พระครวู ฒุ ิธรรมสุนทร (พฒุ แย้มสบาย) เจา้ คณะอาเภอบางพลแี ละเจา้ อาวาสวดั บางพลใี หญใ่ น บนั ทึก หนงั สือเฉลิมพระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว เรอื่ ง วฒั นธรรม พฒั นาการทางประวัตศิ าสตร์ เอกลกั ษณ์และภูมปิ ัญญา จงั หวัดสมุทรปราการ. พิมพ์ครง้ั ที่ ๑ พ.ศ.๒๕๔๒ พระราชวรมุนี (ประยทุ ธ์ ปยตุ โฺ ต). ๒๕๒๙. พทุ ธธรรม. ฉบบั ปรับปรงุ และขยายความ มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . บริษทั ด่านสุทธาการพิมพ์ จากดั พระราชนพิ นธส์ มเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ. พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาล ที่ ๒ เล่ม ๒ (หน้า๑๗๒) พิมพ์ทีโ่ รงพมิ พค์ รุ สุ ภา นายกาธร สถิรกลุ ผูพ้ มิ พ์ผู้โฆษณา ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๐๙ วดั บางพลีใหญใ่ น, ๒๕๕๕. ประเพณีรบั บัว. คน้ จาก www.watbangpleeyainai.org เมอื่ วนั ที่ ๖ มิถนุ ายน ๒๕๕๕ วดั บางพลีใหญใ่ น. ๒๕๕๕. ประวัตหิ ลวงพอ่ โตและประวตั ิวดั บางพลใี หญใ่ น. เอกสารเผยแพร่ เพ่อื ประชาสัมพนั ธ์งานสมโภช/ประเพณีของวัดบางพลีใหญ่ใน ประจาปี ๒๕๕๕. ศานติ ภกั ดคี า. ๒๕๕๔. เขมรใช้ ไทยยืม. สานกั พิมพ์อมรนิ ทร์. กรุงเทพมหานคร. ศุภรตั น์ เลิศพาณชิ ย์กุล. หาอยหู่ ากนิ เพอ่ื ค้าเพื่อขาย เศรษฐกิจไทย รตั นโกสนิ ทร์ ตอนตน้ (หนา้ ๓๒) สานกั พิมพ์มติชน ๑๒ ถนนเทศบาลนฤมา ประชานิเวศน์ ๑ เขตจตจุ กั ร กรุงเทพ ๑๐๙๐๐. ศูนยศ์ ิลปวฒั นธรรม. ๒๕๕๔. ประเพณีรบั บัว. จุลสารศิลปะและวฒั นธรรม. วทิ ยาลัยเซาธอ์ สี ท์ บางกอก. ฉบบั พเิ ศษ สมชาย ชูประดิษฐ์ และอารีย์ เพชรหวน. ๒๕๕๔. เรอื่ งเลา่ ชาวบางพลี ใช้ไมตรีสรา้ งวฒั นธรรมรบั บัว-โยนบวั บูชาพระ. วารสารวิชาการเซาธอ์ ีสท์บางกอก. ปีท่ี ๘ ฉบบั ท่ี ๑๒ (ฉบับพิเศษ) มกราคม-ธนั วาคม สมชาย ชูประดษิ ฐ์และอาพล นววงศเ์ สถียร. ๒๕๕๖. รบั บัวบางพลี : วัฒนธรรมสมานไมตรีและ สนั ติสุข. บทความตีพิมพเ์ ผยแพร่ในจุลสารวฒั นธรรมเซาธอ์ ีสทบ์ างกอก. สมชาย ชูประดษิ ฐ์. ๒๕๕๕. ประเพณีรับบัว: มรดกวัฒนธรรมท้องถิน่ บางพลี. เอกสารพมิ พ์ เผยแพรใ่ นงานประเพณรี ับบวั ประจาปี ๒๕๕๕. ตุลาคม ๒๕๕๕. จดั พิมพ์โดยวทิ ยาลยั เซาธ์อีสทบ์ างกอก
-๗๗- สงั ข์ พัธโนทัย. ๒๕๐๔. ประวัตเิ มอื งพระประแดงและสมุทรปราการ พมิ พ์เปน็ อนุสรณ์ในงาน พระราชทานเพลงิ ศพ พนั ตารวจเอก หลวงไววชิ ิต (ประสงค์ โกมลกนก) ๑๘ กันยายน ๒๕๐๔ สนุ ทรภู่. ๒๓๕๐, “นิราศเมืองแกลง” แต่งเม่อื ตน้ พ.ศ. ๒๓๕๐ สานักพิมพ์เขษมบรรณกิจ นคร เขษม. ขา้ งตลาดปีระกา. พระนคร สมาคมไทยรามัญ. ประวตั ิมอญเมอื งปทุมธานี ๘๐ ปีศาสตราจารย์เกยี รติคณุ นายแพทย์ สุเอ็ด คชเสนี ๔๘ ปสี มาคมไทยรามัญ (หน้า๑๕๕) เจา้ ของ ๗๙/๑๒ หม่บู า้ นบางกระด่ี แขวง แสมดา เขตบางขนุ เทยี น กรงุ เทพฯ ๑๐๑๕๐ พมิ พท์ ่ี บรษิ ัทเทค็ โปรโมชัน่ แอนด์ แอดเวอร์ ไทซซิง จากัด. ๔๘๐ ถนนลาดพร้าว เขตจตจุ กั ร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ ธนกิ เลิศชาญฤทธ์. ๒๕๕๔. การจัดการทรัพยากรวฒั นธรรม. พิมพ์คร้ังที่ ๑. กรงุ เทพ ฯ : ศนู ย์ มานษุ ยวิทยา สิรินธร. สมุทรปราการ. จังหวัด. ๒๕๔๒. วัฒนธรรม พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตร์ เอกลักษณ์และภมู ิ ปัญญา จงั หวดั สมุทรปราการ. กรงุ เทพมหานคร. สจุ ิตรา บุณยรัตพันธ์ุ. ๒๕๔๖. ระเบยี บวธิ ีการวจิ ยั ทางรฐั ประศาสนศาสตร์. กรุงเทพมหานคร สุภาภรณ์ ปติ ิพร. ๒๕๕๓. บนั ทกึ ของแผน่ ดนิ ๓ พืชหอมเป็นยา. มลู นิธเิ จา้ พระยาอภยั ภูเบศร. ปรมัตถก์ ารพิมพ์.กรงุ เทพมหานคร ส่วนสนับสนุนการผลติ วิทยุ งานบรกิ ารการผลติ ฝ่ายออกอากาศวิทยุ. ๒๕๕๓. บทความพเิ ศษ ประกอบรายการของสถานวี ิทยุ อสมท. เรอ่ื ง งานประเพณี รับบัว – โยนบัว กรงุ เทพมหานคร. สานกั งานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ. ๒๕๓๘. ชวี ิตไทยชดุ บรรพบุรุษของเรา. รวบรวม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี พธิ กี รรม ความเชื่อ ศาสนาและชวี ติ ความเปน็ อยู่ของชาวไทย ภาคกลาง จานวน ๓๐ เรื่อง. พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๒. กรุงเทพมหานคร. สาวิตรี สวุ รรณสถิต. ความเปน็ มาของอนุสัญญาว่าดว้ ยการสงวนรกั ษามรดกวัฒนธรรมที่จบั ต้อง ไม่ได้. เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ าร เรอ่ื ง การเขา้ รว่ มเปน็ ภาคอี นุสญั ญาว่า ดว้ ยการสงวนรกั ษามรดกทางวฒั นธรรมท่ีจับต้องไมไ่ ด้. วนั ที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๔ ณ หอ้ งประชมุ ชัน้ ๑ กรมสง่ เสริมวัฒนธรรม กระทรวงวฒั นธรรม. หลวงวิจิตรวาทการ. ประวตั ศิ าสตรเ์ ศรษฐกจิ ของไทย. บริษทั สรา้ งสรรค์บุคส์ จากดั . กรงุ เทพฯ. หอมหวน บัวระภา. ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ในการจดั การวัฒนธรรมของชาวอสี าน : กรณีศกึ ษาบญุ ผะ เหวด .ค้นจาก http://www.la.ubu.ac.th/uboncult. เม่อื วันท่ี ๑๒ มถิ ุนายน ๒๕๕๕. หทัยรตั น์ มาประณตี , เบญ็ จรศั ม์ มาประณตี . ๒๕๕๔. การมสี ว่ นร่วมของผนู้ าท้องถนิ่ ในการ ปกป้องคุม้ ครอง มรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรม. การประชมุ ทางวชิ าการของ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. คร้งั ท่ี ๔๙. วันที่ ๑-๔ กุมภาพันธ์. กรงุ เทพมหานคร. หนังสือเฉลิมพระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. ๒๕๔๒. วัฒนธรรม พฒั นาการทาง ประวัตศิ าสตร์ เอกลักษณ์และภมู ปิ ญั ญา จังหวดั สมุทรปราการ. คณะกรรมการฝา่ ย ประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ. พิมพ์ครั้งที่ ๑.
-๗๘- Creswell, J.W. 1994. Research Design: Qualitative and Quantitative Approaches. London : Sage. Denzin, N. K. 1978. The Research Act: A theoretical Introduction to Sociological Methods. New York: McGraw-Hill. Kerlinger, F. N. 1973. Foundations of Behavioral Research. 2nd ed. New York: Holt, Rinehart and Winston. Quixley, Suzi. 2008. Participatory Action Research: An Outline of the Concept. Retrieved from http://www.suziqconsulting.com.au. when July 9, 2013 Larsson, R. 1993. Case Study Methodology: Quantitative Analysis Patterns across Case Studies. Academy of Management Journal. 36 (6): 1515-1547. Intangible Culture Heritage Domains. Retrieved June 14. 2012 from http://www.unesco.org/culture/ich/doc/src/01857-EN.pdf International Conference 2001-2010. World Heritage-Shared Heritage : Nomination,Values and Management. October 15-17, 2010, Songkhla, Thailand. Identifying and inventory intangible Culture Heritage. Retrieved June 14. 2012 from http://www.unesco.org/culture/ich/doc/src/01856-EN.pdf Inventories: identifying for safeguarding. Retrieved June 14. 2012 from http://www.unesco.org/culture/ich/index.php?pg=00080
Search