Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือท่องเที่ยวอุทยานธรณีสตูล

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานธรณีสตูล

Description: หนังสือภาพแหล่งท่องเที่ยวอุทยานธรณีสตูลเล่มนี้ จัดทำาขึ้นเพื่อ. ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมตามวิสัยทัศน์ของจังหวัดสตูล

Search

Read the Text Version

น้ําตกธารปลวิ ที่ตั้ง : บ้านธารปลิว หมู่ ๗ ตำ�บลทุ่งหว้า อำ�เภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล นํ้าตกแห่งนี้นับเป็นความมหัศจรรย์ทางธรณีอีกอย่างหนึ่งโดยเฉพาะเรื่องระบบนํ้าใต้ดิน เพราะ ต้นธารของนํ้าตกแห่งนี้ ไม่ได้มาจากลำ�ห้วยลำ�ธาร เหมือนนํ้าตกอื่นๆ แต่ไหลทะลุออกมาจากถํ้า และ ไหลอยู่แบบนี้ตลอดเวลา ในช่วงฤดูฝนอาจจะมีนํ้ามากขึ้นกว่าเดิมบ้าง แต่นํ้าตกแห่งนี้ไม่เคยแล้งนํ้า น้ําท่ีเป็นต้นกำ�เนิดของน้ําตกธารปลิว เป็นนํ้าใต้ดินที่ดันทะลุรอยแตกของช้ันหินปูนข้ึนมา แล้วจึง ไหลออกมาจากพื้นดิน แล้วแต่ว่ารอย แตกนั้นจะอยู่ท่ีไหน ในกรณีของนํ้าตก ธารปลวิ รอยแตกของชนั้ หนิ ปนู อยใู่ ตฐ้ าน ของภเู ขา นา้ํ จงึ ดนั ออกมาและหาทางไหล ออกมาภายนอก เราจะเหน็ วา่ ในบ้านเรา มลี กั ษณะนาํ้ ทไี่ หลออกมาจากถา้ํ มากมาย หลายแห่ง โดยไม่มีท่ีมาที่ไป เช่น ที่ธาร โบกขรณี จ.กระบี่ และอีกหลายที่ รวม ท้ังท่นี าํ้ ตกธารปลิวแห่งนี้ เทยี่ วไปในอทุ ยานธรณีสตูล ๕๑

บริเวณนํ้าตกธารปลิวมีต้นไม้ที่ข้ึนในพ้ืนที่ชุ่มนํ้าหลายชนิด ทำ�ให้บริเวณมีความร่มร่ืน อีกทั้ง อบต. ทงุ่ หวา้ เจา้ ของพน้ื ทไี่ ดท้ �ำ สะพานปนู เดนิ เขา้ ไปยงั หนา้ นา้ํ ตก ท�ำ ใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี วสามารถเดนิ เทยี่ วและเลอื ก แอ่งน้าํ ลงเล่นน้าํ ได้อยา่ งสบายใจ g กอ้ นหนิ ทห่ี นา้ นา้ํ ตกธารปลวิ มรี ว้ิ เปน็ ลายเปน็ ชน้ั ๆ คลา้ ยกบั ชน้ั ของสโตรมาโตไลตท์ เ่ี ขานอ้ ยนน้ั ทจ่ี รงิ หนิ ทห่ี นา้ นา้ํ ตกธารปลวิ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ลายๆ เพราะชน้ั สาหรา่ ย แตเ่ รยี กวา่ หนิ ปนู เนอ้ื ดนิ เกดิ จากคราบหนิ ปนู ท่ี เปน็ สารละลายทม่ี ากบั นา้ํ นน้ั เอง เกดิ การสะสมเปน็ คราบตามระดบั นา้ํ ซง่ึ แตล่ ะคราบนน้ั ใชเ้ วลานานนบั รอ้ ยๆ ปี จงึ เปน็ คราบรอยรว้ิ เปน็ ชน้ั ๆ แต่รว้ิ ลายหินนไี้ ม่อาจบง่ บอกอายุของหินได้ แตร่ วู้ า่ นา้ํ ทไ่ี หลออกมาจากใตภ้ เู ขา จนกลายเปน็ นา้ํ ตกแหง่ น้ี มมี าอยา่ งชา้ นาน นานแสนนานแลว้ ๕๒ เที่ยวไปในอุทยานธรณสี ตลู

น้าํ ใตด้ ินมาจากไหน? นาํ้ ใตด้ ิน กม็ าจากน้าํ บนดินนเี่ อง ทไ่ี หลซึมลงดินตามรากไมท้ ่ีเจาะชอนไช ไหลลงตามความหนาแนน่ ของพนื้ ดนิ บา้ ง ตามรอยแตกของชน้ั ดนิ ตา่ งๆ ลงไปสใู่ ตโ้ ลกดา้ นลา่ ง จนกระทง่ั ไหลลงไปถงึ ชนั้ ทม่ี คี วามหนา แนน่ มากจนยากจะซมึ ลงตอ่ นา้ํ กจ็ ะรวมกนั กลายเปน็ ชน้ั นาํ้ ใตด้ นิ ชนั้ นาํ้ ใตด้ นิ อาจจะไมไ่ ดม้ แี คช่ น้ั เดยี ว แต่ อาจจะมตี า่ งความลกึ กัน น่ันข้นึ กับแอ่งนาํ้ ใตด้ ินแต่ละแอง่ ทมี่ อี ย ู่ ระบบนํ้าใต้ดินมีการถ่ายเทไหลไปมา ตราบที่ไม่มีสิ่งขวางก้ัน แอ่งน้ําใต้ดินบางแอ่งเม่ือแห้งไป น้ํา ใตด้ ินจากแอ่งอนื่ จงึ ไหลไปเตมิ ได้ แตใ่ นขณะเดยี วกนั แอ่งนา้ํ ที่ไมม่ ีนา้ํ ไหลเขา้ ไปเตมิ อาจจะถูกปดิ กน้ั ด้วย การเปล่ียนโครงสร้างใต้ดิน เช่น แผ่นดินไหว ทำ�ให้ช่องทางเช่ือมต่อถูกปิด เม่ือแอ่งถูกดึงน้ําออกไปมาก แล้วไมม่ นี ้าํ มาเติม ก็จะเกดิ แผ่นดนิ ยบุ ขึ้นมาได้ เมอ่ื ชน้ั นา้ํ ใตด้ นิ เมอ่ื พบรอยแตกของพน้ื ผวิ โลก นา้ํ กจ็ ะถกู ดนั ขน้ึ มาสเู่ บอ้ื งบน เราจงึ เหน็ นา้ํ ผดุ ขน้ึ มาจาก ใตพ้ น้ื โลก อยา่ งทเ่ี รยี กวา่ ตานา้ํ นน่ั เอง บางแหง่ ปรมิ าณนา้ํ มากกลายเปน็ นา้ํ ตก เชน่ นา้ํ ผดุ ทบั ลาว อ.คอนสาร ชยั ภมู ,ิ นา้ํ ตกสวนหอ้ ม-นา้ํ ตกดนิ เพยี ง อ.หนองหนิ จ.เลย, ธารโบกขรณี กระบ,่ี นา้ํ ตกธารปลวิ สตลู เปน็ ตน้ นํ้าท่ผี ดุ ออกมาจากใตด้ ินบางแห่ง ระหว่างการเดินทางขน้ึ สผู่ วิ โลก ผ่านช้นั หนิ รอ้ นภายในโลก ทำ�ให้ นา้ํ ทผี่ ดุ ไหลออกมามคี วามรอ้ นและยงั ละลายก�ำ มะถนั ออกมาดว้ ย ท�ำ ใหก้ ลายเปน็ บอ่ นาํ้ พรุ อ้ นตา่ งๆ ในบาง แห่ง แหลง่ นํ้าพุร้อนจะมีลักษณะเดอื ด เชน่ โป่งเดือด ที่ อ.แม่แตง เชียงใหม่ เป็นเพราะไหลผา่ นชัน้ ความ รอ้ นที่ยงั มคี วามรอ้ นสงู เมอ่ื ไหลออกสู่ผิวโลกจงึ มีการเดือดคลา้ ยการตม้ นา้ํ บางแหง่ มพี เิ ศษกวา่ นน้ั คอื นอกจากจะผดุ ขน้ึ มารอ้ นแลว้ ยงั มรี สเคม็ ดว้ ย เชน่ ทน่ี าํ้ พรุ อ้ นเคม็ อ.เหนอื - คลอง จ. กระบ่ี นนั่ เพราะนา้ํ จากใตด้ นิ เมอ่ื ไหลขน้ึ มาบนพนื้ โลกนนั้ ผา่ นทง้ั ชน้ั ทมี่ คี วามรอ้ นใตโ้ ลก และผา่ น ท้ังชนั้ ที่มีผลกึ เกลือด้วย นาํ้ ใต้ดนิ ที่ผดุ ออกมาจงึ ท้งั มอี ณู หภมู ิสูงและมีรสเคม็ นั่นเอง จะสงั เกตวา่ ...นา้ํ ผดุ ทอ่ี อกมาจากใตด้ นิ เหลา่ น้ี สว่ นใหญ่ จะมสี ารละลายของหนิ ปนู ออกมาดว้ ย เมอ่ื ไหลออกมาภายนอกเมอ่ื สะสมเปน็ ชน้ั นา้ํ ตก กจ็ ะเปน็ นา้ํ ตกหนิ ปนู ซง่ึ ชน้ั หนิ ปนู ของนา้ํ ตกประเภทน้ี เกดิ จาก สารละลายทม่ี ากบั นา้ํ นน้ั ตกตะกอนและจบั กลมุ่ กนั เปน็ กอ้ นเปน็ ชน้ั โดยใชเ้ วลานานกวา่ จะกอ่ เปน็ ชน้ั นา้ํ ตก หนิ ปนู ได้ ซง่ึ หลกั การกค็ ลา้ ยกนั กบั การเกดิ หนิ งอกหนิ ยอ้ ยนน่ั เอง เพยี งแตช่ น้ั นา้ํ ตกเกดิ ในระดบั แนวระนาบ ตามการลดหลน่ั ไหลลงของนา้ํ แตห่ นิ งอกหนิ ยอ้ ย เกดิ ในแนวดง่ิ ตามแนวการหยดของนา้ํ และแอง่ นา้ํ ทล่ี ะลาย หนิ ปนู มักจะมีสีเขียวอมฟ้า g เท่ียวไปในอุทยานธรณีสตูล ๕๓

นํ้าตกธารสวรรค์ เป็นนาํ้ ตกหนิ ปนู เช่นกัน อยู่ลึกจากนํา้ ตกธารปลิวเข้าไปอีก ไมม่ ที างรถยนต์ตอ้ งเดนิ เทา้ เข้าไปในปา่ ค่อนขา้ งไกลอาจไม่สะดวกนัก ในที่น้ีเลยจะไม่เนน้ g ๕๔ เท่ยี วไปในอทุ ยานธรณสี ตูล

ถำ้ �ภผู าเพชร ถา้ จดั ล�ำ ดบั ถา้ํ ที่สวยงาม สมบรู ณ์ ยิง่ ใหญ่ และอลงั การดว้ ยความงดงามของระบบถํ้า เหน็ ทีวา่ ตอ้ ง มีชอื่ ถ้ําภูผาเพชร ติดอยู่ดว้ ยแนๆ่ อะไรที่บ่งบอกถงึ ความสวยงามในระบบถํ้านั้น ถ้าํ ภูผาเพชรมีหมด ก่อน ทจี่ ะเขา้ ไปเที่ยวในดินแดนมหัศจรรย์แห่งนี้ เรามารู้จักกับถํ้ากันเสียก่อนดีกว่า จะได้เที่ยวถํ้าอย่างรู้ที่มา ทีไ่ ป ส่วนความสวยงามน้นั เม่อื เข้าไปข้างในก็จะเหน็ เอง.... เทยี่ วไปในอทุ ยานธรณีสตลู ๕๕

ปรากฏการณถ์ ้ำ�ในภูเขาหินปนู ภเู ขาหนิ ปนู มแี ทบทกุ ภาคในประเทศไทย แมก้ ระทงั่ ทางภาคอสี านทสี่ ว่ นใหญเ่ ปน็ หนิ ทรายกต็ าม แต่ จะมมี ากทางตะวนั ตกและภาคใต้ของไทย หินปูนเป็นหินตะกอนชนิดหนึ่ง เกิดจากสะสมตัวของการตกตะกอนของสารละลายแคลเซียม คาบอ-เนต (CaCO3) และการทบั ถมของซากพืชซากสตั วท์ ีอ่ ย่ใู นท้องทะเลในหลายยคุ หลายสมยั เช่นเม่ือ ประมาณ ๔๗๐ ลา้ นปกี ่อน เกิดการทับถมกันจนเปน็ ชน้ั หินแข็ง เม่อื เกดิ การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ดว้ ยกระบวนการตา่ งๆ ของการเกดิ ภเู ขา เชน่ แผน่ เปลอื กโลกดนั กนั จนพนื้ หนิ ปนู ถกู ดนั ขนึ้ มาจนเปน็ ภเู ขา หรอื ภเู ขาไฟท่ีแมกมาปะทุออกมาผา่ นชั้นหนิ ปนู กพ็ าหินปูนออกมาดว้ ย ถา้ํ เปน็ หนึง่ ในลักษณะภมู ปิ ระเทศ ท่ีเขาเรียกรวมๆ กนั วา่ ...คาสต์ (Karst topography) ถา้ จะ ว่าไปลักษณะภูมิประเทศน่ีแทบจะครอบคลุม เราพบเห็นภูมิประเทศแบบคาสต์นี้ได้เยอะมาก เพราะบน โลกเรานนั้ มีหนิ ปูนอยู่หลายสว่ น แลว้ หินปูนนส้ี ามารถทำ�ปฎกิ ิรยิ ากบั นาํ้ ฝน และนํา้ ใตด้ ิน สง่ ผลทำ�ใหเ้ กิด ลักษณะภมู ิประเทศที่เป็นแบบเฉพาะตัว และเกิดได้ทัง้ บนผิวโลก และใตพ้ ื้นโลก ลกั ษณะของภมู ิประเทศ ดังกล่าวมชี อื่ เรยี กโดยรวมวา่ “คาสต์” (karst) โดยการเกดิ คาสตน์ นั้ อาศยั นาํ้ ฝนนแ้ี หละทเ่ี ปน็ สว่ นส�ำ คญั คอื เมอ่ื นา้ํ ฝน ซงึ่ มคี ณุ สมบตั เิ ปน็ กรดออ่ นๆ ตกลงมาและไหลบนภูมิประเทศท่ีเป็นหินปูน ระหว่างน้ีก็จะทำ�ปฏิกิริยากับแร่ประกอบหิน (แร่แคลไซต์ และ/หรือแรโ่ ดโลไมต์) โดยกระบวนการผุพังทางเคมี (Chemical weathering) เมื่อไหลไปเจอรอยแตก หรือช่องของระนาบการวางตัวของช้ันหินปูน นํ้าฝนก็จะซึมผ่าน ท้ังซึมท้ังกัดกร่อน นานๆ เข้า ก็จะเกิด โพรงขนาดใหญ่ และช่องวา่ งใต้ผิวโลก ส่วนทอ่ี ยบู่ นบก ก็จะท�ำ ให้พ้ืนผิวหินปูนเป็นรปู ร่างตา่ งๆ ตามการ ๕๖ เที่ยวไปในอุทยานธรณีสตูล

ชนั้ ของหินปูน หินย้อยรมิ หนา้ ผาทีอ่ า่ วนาง กดั กรอ่ น สว่ นทอี่ ยใู่ ตพ้ น้ื โลก พอถกู นา้ํ ฝนกดั กรอ่ น จนเปน็ โพรง ก็จะเกิดเป็นหลมุ ยุบ) เมื่อเปลือกโลกมีการเปลีย่ นแปลง ยกตัวเป็น ภูเขา ระดับนํ้าใต้ดินลดระดับลง (อัตราการยกตัว ของเปลือกโลกบริเวณทวีป มากสุดที่มีการศึกษา คือ เปลือกโลกทวปี ยกตวั ๒๘๐ เมตร ตอ่ ๑ ลา้ น ปี และอัตรากร่อนสูงสุดของทวีป ๖๐ เมตร ต่อ ล้านปี) การกัดกร่อนของนํ้าทำ�ให้เกิดท่ีราบ เกิด ภูเขาหินปูน และเกิดหุบเขาแบบคาสต์ ที่เกิดจาก การพังของหลุมยุบที่ต่อเน่ืองกัน ส่วนใต้ผิวโลก ก็ จะมีโพรงได้ดิน (โพรงพวกน้ีก็จะเป็นที่รวมขังของ นํ้าใต้ดินท่ีบอกไปตอนนํ้าตกธารปลิวแล้ว) บนพ้ืน กเ็ ปน็ ภเู ขา ในภูเขามโี พรงเกิดขนึ้ การยกตวั ของแผน่ ดนิ และการกร่อน เกิดขึ้น อยา่ งต่อเนอื่ ง ระดับนํ้าผิวดิน และระดบั นาํ้ ใต้ดนิ ลดลงจากเดมิ หนิ ปนู สว่ นทเี่ หลอื เกดิ เปน็ เขาทต่ี งั้ เดน่ เหมอื นหอคอย เรยี กวา่ ภเู ขาแบบนวี้ า่ โมโกทส์ (Mog- ote) เขาดงั กลา่ วมกั มยี อดมน ดา้ นขา้ งชนั ตงั้ อยบู่ รเิ วณพน้ื ทร่ี าบทเ่ี กดิ จากการสะสมตวั ของตะกอนทางนา้ํ ลักษณะภูมิประเทศท่เี รยี กว่า คาสต์ นั้น มีหลายพวกหลายรปู แบบ คือ... n หลมุ ยุบ (Sinkhole หรอื Doline หรือ Leach hole) n ยวู าลา (Uvala) หรอื หลมุ ยบุ ที่เชื่อมตอ่ กนั n ถํา้ (Caves) ถา้ํ กลมุ่ ถา้ํ หรือโพรงใตด้ นิ ขนาดใหญ่ (Cavern) n นํ้าพุ นํา้ ผุด ธารน้าํ ลอด และซับต่างๆ n ธารดำ�ดิน (Disappearing streams) n ดนิ แทรร์ า โรซา (Terra rosa) เปน็ ดนิ ทผี่ พุ งั จากหนิ ปนู มกั เปน็ สอี อกแดงๆ อยา่ งทางลพบรุ หี รอื ทางสระบุรี g เทีย่ วไปในอทุ ยานธรณสี ตูล ๕๗

ปรากฏการณท์ เี่ รยี กว่า...ถ้ำ� องคป์ ระกอบของถา้ํ มแี คห่ นิ ยอ้ ยเทา่ นนั้ สว่ นชอื่ เรยี กตา่ งๆ เพยี งแคท่ �ำ ใหเ้ ขา้ ใจหนิ ยอ้ ยแตล่ ะแบบให้ งา่ ยขึน้ เทา่ น้ัน ถา้ํ หลายแหง่ จะมลี กั ษณะของหนิ ถลม่ บางครง้ั ถลม่ หนา้ ปากถา้ํ บางครง้ั ถลม่ ภายในถา้ํ บางครง้ั เพดาน ถา้ํ ถลม่ ลงมา (เชน่ ถา้ํ พระยานคร ประจวบฯ) บางคร้ัง ผนังด้านขา้ งของถํา้ ก็ถลม่ ลงมา (เชน่ ถา้ํ แมอ่ ุสหุ รอื ถา้ํ ภผู าเพชรแหง่ น)้ี ถา้ํ ทห่ี ลงั คาหรอื ผนงั ถา้ํ ถลม่ จะท�ำ ให้ มแี สงเขา้ มาได้ มตี น้ ไมข้ นาดเลก็ เชน่ ตะไครน่ า้ํ มอส มา เกาะอาศยั ภายใน ท�ำ ให้เหน็ เป็นสีเขยี ว คุณสมบัติอย่างหนึ่งของหินปูนคือ มันสามารถ ละลายนํ้าได้ นํ้าฝนที่ตกลงมาจะละลายหินปูนให้มี รูปร่างต่างๆ ส่วนไหนละลายง่ายก็มีความสึกกร่อน มาก ส่วนไหนละลายยากก็จะยังคงทนสภาพ นาํ้ ทล่ี ะลายหนิ ปนู ตดิ มาดว้ ยนนั้ กจ็ ะไหลลงมาตามรอ่ งแตกของภเู ขาและไหลตกลงมาในแนวดงิ่ สว่ น ที่ตกลงมาในตัวถ้ํา ก็จะตกลงมา สารละลายหินปูนก็จะ ค่อยๆ สะสมตัวกนั กลายเป็น หินย้อย ค่อยๆ หอ้ ยลงมา นา้ํ ทตี่ กลงมาจนถงึ พน้ื นนั้ กจ็ ะสะสมตวั เชน่ กนั คอ่ ยๆงอก ข้นึ กลายเป็น หินงอก นาํ้ ท่ีตกลงมา ก็อาจจะมีสะเก็ดน้าํ กระเด็นออกไปรอบข้าง กลายเป็น หินงอกนํ้ากระเด็น น้ํากระเด็นที่มาจากการหยดลงจากเพดานถ้ํานี้ เมื่อ กระเด็นไปสะสมกันเอง บางคร้ังไปหุ้มห่อวัสดุอย่างอื่น ซงึ่ ส่วนใหญจ่ ะเป็นทรงกลม ก็จะกลายเป็น น้อยหน่าถํ้า ถ้าหนิ งอกและหนิ ยอ้ ยต่อเช่อื มกนั ก็จะกลายเปน็ เสาหิน เวลาเราไปในถา้ํ บางแห่ง ให้ลองสงั เกตวา่ บางแห่งนั้น จะมีเสาหินทเี่ คยเชื่อมตดิ กนั แต่ทเ่ี ราเหน็ คือ เสาทม่ี รี อยแตก ไมต่ ดิ กนั นน่ั แสดงใหเ้ หน็ วา่ พน้ื ถา้ํ หรอื ทง้ั ภเู ขา มคี วามเปลย่ี นแปลง เชน่ อาจจะมกี าร ขยบั ตวั จากแผน่ ดนิ ไหว ถา้ํ บางแหง่ เราเหน็ หนิ ยอ้ ย ขนาดใหญ่หักตกลงมาอยู่กับพ้ืน ก็มาจากสาเหตุ เดียวกัน รอยแตกของเพดานถา้ํ เมอ่ื หนิ ปนู ไหลตกลงมา สะสมตวั จนเปน็ หนิ ยอ้ ย มาวนั หนง่ึ รอยแตกนน้ั กต็ นั ดว้ ยตวั หนิ ปนู ทส่ี ะสมไปอดุ ตนั กจ็ ะท�ำ ใหห้ นิ ยอ้ ยนน้ั หยดุ การเตบิ โตอกี ตอ่ ไป กลายเปน็ ถํ้าตาย ลองสงั เกตดตู ามเพดานถา้ํ บางแหง่ จะเหน็ หนิ ยอ้ ยเรยี งตวั กนั มาตามรอยแตกเปน็ แถวเปน็ ระเบยี บ หนิ ยอ้ ยบางชนดิ อาจมลี กั ษณะสภาพแวดลอ้ มในถา้ํ หรอื องคป์ ระกอบสารละลายทแ่ี ตกตา่ งกนั ท�ำ ให้ ๕๘ เทยี่ วไปในอุทยานธรณสี ตูล

เกดิ ปรากฏการณห์ นิ ยอ้ ยบางชนดิ เปน็ แบบ หลอดถํ้า หรอื หินงอกแบบหัวกะหลํ่า ตามหน้าผาบางแห่งเราจะเห็นหินย้อยขนาดใหญ่ ไหลย้อยลงมาจากหนา้ ผา ก็เกดิ จากเหตผุ ลเดียวกนั เพียง แตภ่ เู ขาลกู นน้ั อาจไมม่ รี อยแตกทไ่ี หลตกลงไปในถา้ํ ภายใน นา้ํ ทมี่ สี ารละลายจงึ ไหลตกลงตามหนา้ ผา ท�ำ ใหส้ ารละลาย เหลา่ น้นั เกาะตัวกันกลายเปน็ หินย้อยริมหน้าผา ซึ่งมักจะเห็นว่ามีสีแดงบ้าง สีออกเหลืองหม่นบ้าง นัน่ เป็นเพราะสารละลายในบริเวณนน้ั เช่น ถ้ามธี าตเุ หล็ก กจ็ ะออกสีแดงเลอื ดนก เรารู้ว่าหินย้อยน้ันมักเกิดให้เห็นเป็นแนวดิ่งตามแนวนํ้าหยด แต่จะมีหินย้อยบางชนิด งอกยื่นออก ไปหาแสงสว่าง ส่วนใหญ่หินย้อยประเภทน้ีมักจะอยู่ในบริเวณ ที่มีแสงสว่างเข้ามา นั่นเป็น เพราะระหว่างท่ีนํ้าละลาย หินปูนหยดและสะสมตัวเป็น หนิ ยอ้ ยน้ัน ระหวา่ งน้ัน อาจ จะมีแบคทีเรียบางชนิดมา อาศัย หยดน้ําก็จะไปเกาะ สะสม เมอ่ื แบคทเี รยี ตอ้ งการแสง หนิ ยอ้ ยกส็ ะสมไปตามแบคทเี รยี เลยออกตามแสงไปดว้ ย บางครั้งกจ็ ะมพี ืชเลก็ ๆมาเกาะอาศยั บน ปลายหนิ ยอ้ ย ซง่ึ พชื เหลา่ นกี้ ต็ อ้ งการแสง หนิ ปนู ทสี่ ะสมกนั จงึ ยอ้ ย ไหลออกมาตามแสงไปด้วย เราเรียกหินย้อยแบบน้ีว่า...หินย้อย ตามแสง หรือ หินย้อยหาแสง บางครั้งรอยแตกที่น้ําละลายหินปูนไหล ลงมานั้นติดหรือใกล้กับผนังถ้ํา หินย้อยท่ีปรากฏ ก็จะเป็นหนิ ย้อยทเี่ ราเรียก ม่านหนิ ย้อย บางแหง่ เปน็ ชอ่ งเลก็ ๆ ทน่ี า้ํ ละลายหนิ ปนู เขา้ มาไดอ้ ยา่ งเลก็ นอ้ ย นา้ํ ละลายเหลา่ นก้ี จ็ ะคอ่ ยๆ ไหลยอ้ ยตามกนั แล้วค่อยๆ สะสมตัวกลายเป็นหินย้อยท่ีเป็นแผ่น บางๆ มักมีลกั ษณะเปน็ รวิ้ ท่เี รยี กวา่ ริ้วถํ้า (ศพั ท์ ทางวชิ าการไมม่ แี ตผ่ มตง้ั ใหเ้ พอื่ แยกรปู รา่ งหนิ ยอ้ ย รปู แบบนี้ให้ชดั ขน้ึ ) รูแตกบางแห่งเป็นช่องน้ําขนาดใหญ่ท่ีน้ําสามารถไหลทะลักออกมาจากผนังถ้ํา (ซ่ึงส่วนใหญ่มักไม่ สูงจากพ้นื ถํ้ามากนัก) แล้วจะไหลตกลงมา หินปูนก็จะสมตัวกันกลายเปน็ เนนิ หินปูนลดหลนั่ กนั ลงมา เป็น เทีย่ วไปในอทุ ยานธรณสี ตลู ๕๙

ลักษณะทเี่ ราเรยี กวา่ นํ้าตกถํ้า แตถ่ า้ ชอ่ งหรอื ทางนา้ํ หนิ ปนู ทไ่ี หลออกมา ทพ่ี น้ื ตา่ งระดบั ไมม่ าก นา้ํ ละลายหนิ ปนู ไหลออกมา กจ็ ะเรม่ิ สะสมตวั กนั คอ่ ยๆ เปน็ ขอบๆ ลดหลน่ั กนั ลงมา เรยี กลกั ษณะนว้ี า่ ทำ�นบถํ้า ทำ�นบถํ้าบางแห่งมีขนาดใหญ่ กว้าง แต่บางแห่งมี ขนาดเลก็ สงั เกตดๆี จะเห็นเมด็ หินเล็กๆ จนถงึ เมด็ ขนาด ใหญ่ บางครั้งมีผิวสากไม่เรียบ บางคร้ังมีผิวมันเรียบ เม็ด เหล่านีม้ กั จะเหน็ ในแอง่ ทำ�นบถ้ํา เรยี กว่า ไข่มุกถํ้า โดยท่ัวไปปรากฏการณ์ต่างๆในถ้ําจะเป็นสีหินปูน ออกขาวๆ อมเหลืองอ่อนๆ แต่บางครั้งจะมี สารละลายชนิดอ่ืนละลายมาด้วย ส่วน ใหญ่เป็นธาตุเหล็ก ทำ�ให้บางแห่งเป็นสี เหลืองอมนาํ้ ตาล บางครง้ั จะมพี วกแคลไซต์ หรอื ซลิ กิ า ปะปนมากับสารละลายและผสมปนเป ไปกบั หนิ งอกหนิ ยอ้ ย เวลาตอ้ งแสงไฟได้ เหลย่ี มไดม้ มุ กจ็ ะเปน็ ประกายระยบิ ระยบั เราอาจเรยี กวา่ ประกายเพชร แตจ่ รงิ ๆ ไมใ่ ชเ่ พชร ถํ้าเป็น-ถํ้าตาย ทเ่ี ราเรยี กกนั คือถ้ําท่ียังมกี ารสะสมของหนิ ปูนอยกู่ จ็ ะเป็นถํ้าเป็น คอื ยงั มีนาํ้ หยด ลงมาอยู่ แต่ถ้ารทู ่ีนํ้าจะไหลหยดลงมาตัน ไม่มนี า้ํ หยดมาอกี ไมม่ ีหนิ ปูนมาสะสมเพิม่ ก็จะเป็นถาํ้ ตาย สงั เกตง่ายๆ ว่า ที่ไหนทหี่ ินงอกหินย้อยมฝี นุ่ เกาะเขรอะ ส่วนใหญ่จะตายแล้ว แต่ถ้าหนิ งอกหินยอ้ ย ยงั มสี ีขาวนวล ซ่ึงถา้ เราไปในฤดแู ลง้ อาจจะไมเ่ ห็นน้ําหยดหรอื นา้ํ ไหล แต่ถ้าไปหน้าฝนก็จะยังเห็นน้าํ หยด มาไล่คราบฝ่นุ อยู่ บางแหง่ หนิ งอกหนิ ย้อยทยี่ งั เป็น ทม่ี ธี าตเุ หล็กละลายปน จะเห็นเปน็ สีทองมัน สดใส ภูเขาบางลูก อาจจะมีถํ้าที่อยู่ซ้อนกัน หรืออาจจะ ถ้ําท่ีเราไปเท่ียวนั้น อาจจะมีธารน้ําหรือทางน้ํา ใตด้ นิ อย่ขู ้างลา่ งกไ็ ด้ g ๖๐ เที่ยวไปในอุทยานธรณสี ตูล

ความโดดเด่นของถํ้าภูผาเพชร ถํา้ แหง่ นไ้ี มใ่ ช่ถํ้าดาดๆ ทเ่ี ราเคยเจอกนั มา แตม่ ีความน่าสนใจหลายอย่างทีโ่ ดดเดน่ ออกมา คอื ... ๑. มหี นิ งอกหินย้อยท่สี วยงามสมบรู ณแ์ ละมีระบบถ้าํ ครบถว้ น เมอ่ื แรกพาตวั ลอดชอ่ งเลก็ ๆ เขา้ ไปขา้ งในถาํ้ กจ็ ะตน่ื เตน้ กบั ความสวยงามของบรรดาหนิ งอกหนิ ยอ้ ย ทีเ่ ปน็ ลกั ษณะเสาถา้ํ ทเี่ รียงรายมีมากมายราวกบั เป็นป่า ท่จี ะเรยี กว่าปา่ เสาถํา้ ก็ได้ ซ่งึ เสาแตล่ ะเสา สูงใหญ่ ใหญ่โต และมีลักษณะของการตกแต่งเสาที่แตกต่างกัน บนเพดานจะเห็นหินย้อยที่ไหลย้อยตามรอยแตก ของเพดานถาํ้ อย่างชัดเจน ในถํ้าแห่งนี้ มีปรากฏการณ์ถํ้า ให้ได้ดูครบแทบทุกอย่างไม่ว่าจะ เป็นหินงอก หินย้อย เสาถํ้า ริ้วถ้ํา ทำ�นบถํ้า ไข่มุกถํ้า น้อยหน่าถํ้า หลอดถํ้า หินย้อยตามหาแสง หนิ งอกแบบนา้ํ กระเดน็ นา้ํ ตกถา้ํ ฯลฯ จึงเป็นถํ้าที่สามารถใช้เรียนรู้ใน เรื่องระบบถํ้าได้อย่างสมบูรณ์ ๒. เป็นถาํ้ ขนาดใหญ่ ถํ้าแห่งนี้มีโถงถํ้าขนาดใหญ่ ๒ แห่ง คือ บริเวณป่าเสาหินและประตูสรรค์ที่แสงเข้ามาได้ นัก ธรณีได้เคยมาสำ�รวจโถงถํ้าแห่งนี้ที่ป่าเสาหิน และได้วัดความสูงของโถงถํ้าสูงถึง ๕๐ เมตร และ กว้างสุด ๘๐ เมตร มีเนื้อที่รวมกันทุกโถงถํ้าราว ๕๐ ไร่ หรือ ๒๐,๐๐๐ ตารางเมตร นอกจากนั้น โถงถํ้ายังเป็นอุโมงค์ออกไปทางผนังถํ้าที่พังลงมา และยังมีซอกเล็กซอกน้อยที่ยังไม่ได้สำ�รวจอีก หลายหลืบหลายมุม ถือ เป็นถํ้าที่มีขนาดใหญ่แห่ง หนึ่งทีเดียว และเพราะว่าถํ้าแห่ง นี้มีผนังถํ้าที่พังลงมาทำ�ให้ อากาศจากภายนอกเข้า มาได้ ภายในถํ้าจึงไม่รู้ สึกอึดอัดหรืออบอ้าวแต่ อย่างใด เทย่ี วไปในอทุ ยานธรณีสตลู ๖๑

๓. เปน็ ถํ้าเปน็ ที่ยังมถี ้ําซอ้ นอยู่ด้านล่าง ในภเู ขาหินปนู น้ันเปน็ ภเู ขาทม่ี ีโพรงมากมาย บางแหง่ มีโพรงขนาดใหญ่จนเป็นถํ้า และขณะเดียวกัน กอ็ าจจะมโี พรงอ่นื ๆ ซ้อนกนั อีก ในบริเวณโถงถ้ําหน้าป่าเสาถ้ํา จะมีหินงอก รูปทรงคล้ายจอมปลวก หรือเจดีย์ทรงเห็ดฟางตูม มีสี เหลอื งเขม้ เขาตง้ั ชอ่ื วา่ โดมศลิ าเพชร หินยอ้ ยแหง่ นี้ ถา้ มาในช่วงฤดฝู น จะเหน็ วา่ มีนํา้ ตกลงมาจากเพดานถํา้ ค่อนข้างมาก (จึงทำ�ให้หินงอกแห่งน้ียังมีสีสดสวยงาม) และนํ้าก็จะไหลออกมาที่โถงถ้ําแล้วมุดหายลงไป ในพ้นื ถ้ํา ซึ่งน่ีย่อมแสดงให้เห็นว่า ด้านล่างของพื้นโถงถํ้านี้ ยังมี อุโมงค์ถ้ําซ้อนอยู่อีก นํ้าท่ีไหลลง ไปจากโถงถา้ํ น้ี กจ็ ะไปตกลงในโถง ถา้ํ ขา้ งลา่ งทย่ี งั ไมม่ กี ารส�ำ รวจหรอื ถ้าํ ยังถูกปิดโดยธรรมชาติอยู่ โดย นา้ํ กจ็ ะละลายหนิ ปนู และไปกอ่ เกดิ เป็นหินงอกหินย้อยให้กับถ้ําข้าง ลา่ งอกี ถา้ หากไมแ่ นใ่ จวา่ จะมโี ถง ถา้ํ ซอ้ นอยจู่ รงิ ไหม ลองกระทบื พน้ื ถา้ํ ดู จะไดย้ นิ เสยี งทไ่ี มท่ บึ เสยี งโปรง่ ๆ แสดงวา่ ขา้ งลา่ งมพี น้ื ทท่ี ม่ี อี ากาศอยู่ ภายในถ้ําภูผาเพชรแห่งน้ีถ้ามาในฤดูฝนจะเห็นปรากฏการณ์ที่นํ้ายังมีบทบาทในการสร้างถ้ํา ยังทำ� หนา้ ทก่ี �ำ เนิดถํา้ อย่เู พราะยังคงมีน้าํ ไหลออกมา เช่น ทำ�นบถ้ํา นาํ้ ตกถํ้า หินยอ้ ย หินงอก ก็จะมนี ํ้ายงั คงทำ� ใหถ้ ้ํานีย้ ังเป็นอยู่นนั่ เอง ๔. บอ่ นํา้ หมืน่ แสนปี มีถํ้าไม่กี่แห่งที่มีลักษณะบ่อนํ้าอายุนับพันนับหมื่นปีแบบนี้อยู่ เมื่อเราเดินเข้าไปจนถึงหน้าต่าง ที่แสงเข้า จะมีหลืบถํ้าต่อจากนั้นทางซ้ายมือเข้าไป ลอดเพดานถํ้าเตี้ยๆ เข้าไป ก็จะไปพบโถงถํ้าขนาด ไม่กว้างนัก และจะเห็นคราบหินปูนที่เกาะกับผนังหินเป็นรอยนํ้าสูงราวเมตรเศษๆ อยู่โดยรอบ แสดงให้เห็นว่า ท่ีน่ีเคยเป็น แอ่งท่ีขังน้ําละลายหินปูนมานับพัน นบั หมน่ื ปี คอื เมอ่ื นา้ํ ทม่ี าจากดา้ นบน ละลายสารละลายปนมาน้นั ไหลลง มาขังรวมกันอยู่ในโถงนี้ นับพัน นับหม่ืนปี จนสารละลายท่เี ข้มข้นก็ จะค่อยๆ เกาะขอบผนังและหินภาย ในถา้ํ จนเปน็ รอยคราบหนิ ปนู ดงั กลา่ ว ต่อมาแอ่งนํ้าน้ีอาจเกิดการ เปลีย่ นแปลง เชน่ อาจมแี ผน่ ดนิ ไหว ๖๒ เท่ียวไปในอทุ ยานธรณสี ตูล

ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ รอยแตกของแอง่ หรอื เกดิ รอยรว่ั ดว้ ยเหตใุ ดเหตหุ นงึ่ ท�ำ ใหน้ า้ํ ทเ่ี คยขงั ในแอง่ มานานนน้ั รว่ั ไหล ออกไป ซง่ึ อาจจะรว่ั แลว้ ไปขงั ในแอง่ ถาํ้ ขา้ งลา่ งหรอื อาจจะไหลลงไปขงั ในแอง่ นา้ํ ใตพ้ ภิ พกไ็ ด้ ซง่ึ กระบวนการ นกี้ นิ เวลานับรอ้ ยพนั ปี ถ้าสงั เกตดีๆ จะเห็นว่ารอยของระดับนา้ํ ทเ่ี คยขัง มอี ยู่ ๒ รอย แสดงว่าในอดีต น้าํ ในแอง่ นีอ้ าจมกี าร ลดระดับหรือเพ่ิมระดับข้ึนมา โดยในแต่ละระดับมีน้ําแช่ขังอยู่ครั้งละนานๆ นับพันปี นานพอท่ีจะให้สาร ละลายในน้าํ เกาะตวั กนั เปน็ คราบได้คล้ายรอยนาคทีพ่ นั กอ้ นหนิ อยู่ เลยต้งั ช่ือว่า ห้องนาคพัน นี่เป็นความมหัศจรรย์หน่ึงทไ่ี ม่ค่อยได้พบเห็นทีไ่ หนในระบบถ้าํ ในบ้านเรา ๕. รำ�ลึกถึงพระมหากษตั ริย์ในดวงใจ กับความมหัศจรรย์ภายในถำ้ � ระหว่างโถงถํา้ ใหญ่ไปยงั หนา้ ตา่ งถ้ําจะมสี ะพานทางเดินไม้ทท่ี าง อบต.ปาลม์ พฒั นา ทดี่ ูแลถํ้าเจ็ดคต ทำ�ไว้ให้เดินได้สะดวกน้ัน ก่อนลง ไปยังโถงหน้าต่างถ้ํา ให้แหงนหน้า ไปทางขวามือในแนว ๑๔ นาฬิกา เงยข้ึน ๕๐ องศา จะเห็นรอยหิน ท่ีมีธาตุเหล็กสีออกเลือดนกเคลือบ กับพ้ืนผนังหินปูนท่ีเป็นสีขาว รอย ของหินสองสีจะคล้ายคลึงกับรูป ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ นอ้ มพระเศียรลงรับดอกบัวจากแม่เฒา่ ต้มุ ท่มี ารอรับเสด็จ ท่ีนครพนมเม่อื หลายสบิ ปีกอ่ น เป็น ภาพประวัตศิ าสตรภ์ าพหนึ่งทีเ่ ราค้นุ เคยกัน และผนังถาํ้ ที่นี่กช็ ่างคลา้ ยคลึงจนแทบไมน่ ่าเชอ่ื นีค่ อื ความมหัศจรรยทเี่ ปน็ ไปแล้วส�ำ หรับถ้าํ แหง่ น้ี ๖. ฟอสซลิ บนเพดานถํ้า ถํ้าแห่งนี้มีซากฟอสซิของสัตว์โลกเมื่อประมาณ ๔๗๐ ล้านปีก่อนมากมาย ฝังตัวอยู่ในผนังถํ้าบ้าง เพดานถํ้าหรือส่วนอื่นๆของหินปูนในถํ้า เท่าที่ค้นพบตอนนี้คือ.... หมกึ ทะเลโบราณ นอตลิ อยด์ (Nautiloid) ทเี่ ราพบนน้ั เปน็ ซากดกึ ด�ำ บรรพข์ องหมกึ ทะเลโบราณ อายปุ ระมาณ ๔๗๐ ลา้ นปี ซง่ึ เปน็ บรรพบุรษุ ของหมึกในปจั จุบนั โดยพบ บรเิ วณเพดานถ้ํา ปากทางเข้าห้องนาคพัน ใกล้กบั หนา้ ต่างถา้ํ ท่แี สงเข้ามา จะเหน็ เป็น รูปร่างกรวยเรียวๆ เพราะเป็นส่วนเปลือก เทยี่ วไปในอทุ ยานธรณสี ตลู ๖๓

หรือกระดองท่หี ุม้ ล�ำ ตัว และจะเห็นเป็นเส้นขวางๆ บนลำ�ตวั คล้ายกับช่องอับเฉา หรอื septum และมีทอ่ สบู ฉดี นา้ํ (Siphuncle) ยาวตลอดล�ำ ตัวเพอ่ื ท�ำ หนา้ ท่คี วบคมุ การลอยหรือจม โดยเรือดำ�น้าํ กใ็ ช้หลกั การน้ี เชน่ กนั โดยหากต้องการลอยตวั หมึกจะดูดน้ําออกจากหอ้ งอับเฉา เพ่ือท�ำ ให้ความหนาแนน่ ภายในตัวลด ลง และหากต้องการจมตัวลง กจ็ ะอัดน้าํ เขา้ ไปในห้องอบั เฉา ในซากฟอสซลิ นอตลิ อยดท์ ี่สมบรู ณ์ เรามักจะ เห็นห้องอับเฉานปี้ รากฏ หมึกทะเลโบราณซงึ่ ไดอ้ าศยั อยูใ่ นทะเลเมอ่ื ประมาณ ๔๗๐ ลา้ นปีทแี่ ลว้ เมื่อพวกมันตายลง ลำ�ตัว ส่วนท่ีอ่อนนุ่มก็จะถูกย่อยสลายไปเหลือแต่โครงสร้างที่แข็ง และเม่ือมันมากเข้าๆ ก็จะตกตะกอนทับถม กนั อยูต่ ามพ้นื ท้องทะเล รว่ มกับเปลอื กหอย ปะการงั และซากสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในยคุ นัน้ ท่ีลม้ ตายลง เกิด กระบวนการทางเคมีท่ีทำ�ให้เกิดเป็นหินปูนอยู่ในพื้นทะเล ซากสัตว์ทะเลต่างๆ ก็จะถูกทับถมและเปลี่ยน สภาพจนกลายเปน็ สว่ นหนงึ่ ของเนอ้ื หนิ ปนู เมอื่ เวลาผา่ นไปหนิ ปนู กห็ นาขน้ึ เรอื่ ยๆ พอจนตอ่ มาเปลอื กโลก ถกู แรงกระท�ำ บบี ดนั ยกตวั ขนึ้ มาโผลพ่ น้ ระดบั นา้ํ ทะเล และกลายเปน็ ภเู ขาหนิ ปนู เจา้ ซากสง่ิ มชี วี ติ ในอดตี ทผี่ สานเปน็ เนอ้ื เดยี วกบั หนิ ปนู กเ็ ลยถกู น�ำ พามาอยบู่ นภเู ขาสงู มาอยใู่ นเพดานถา้ํ ดงั กลา่ ว โดยกระบวนการ น้ีกินเวลานบั รอ้ ยๆ ลา้ นปี ภเู ขาหนิ ปนู ซง่ึ เปน็ ทต่ี งั้ ของถา้ํ ภผู าเพชรกเ็ ชน่ เดยี วกนั ในอดตี กเ็ คยอยใู่ ตน้ าํ้ มากอ่ นเชน่ กนั หนิ ปนู ซงึ่ มคี ณุ สมบตั ลิ ะลายนาํ้ ไดจ้ งึ ถกู นาํ้ บาดาลละลายไปบางสว่ น เกดิ เปน็ โพรงเลก็ โพรงนอ้ ย ตอ่ มาโพรงเหลา่ นก้ี ็ ถกู ละลายใหใ้ หญข่ น้ึ จนเชอื่ มถงึ กนั เกดิ เปน็ ถาํ้ ใตด้ นิ และดว้ ยการทผ่ี นงั ถาํ้ ถกู ละลาย, กดั เซาะ, ขดั ถู จากนา้ํ จนมลี ักษณะเรยี บ เป็นเหตุให้ซากดึกด�ำ บรรพต์ ่างๆ ที่อยใู่ นเน้ือหนิ ปูนโผลป่ รากฏออกมาใหเ้ ราได้เหน็ และ งา่ ยตอ่ การสงั เกตพบ และเปลอื กโลกกย็ งั คงยกตวั ตอ่ ไปเรอื่ ยๆ จนกระทงั่ ถา้ํ ทเ่ี คยอยใู่ ตด้ นิ กลายมาเปน็ ถาํ้ ที่อยบู่ นภูเขา อยา่ งถ้ําภผู าเพชรทุกวันน้ี นอกจากนี้ ภายในถํา้ ยงั พบซากดึกด�ำ บรรพ์ของสาหร่ายสโตรมาโตไลต์ (เส้นสีด�ำ ๆ พบเห็นไดท้ ัว่ ไป ตามผนังถํา้ ภูผาเพชร) ร่วมด้วย ซง่ึ แสดงถึงสภาพแวดล้อมในอดีตที่หมกึ ทะเลโบราณอาศยั อยู่ ไขม่ ุกถ้าํ ไข่มุกถ้าํ เกิดจากการสะสมตัวของหินปูน ภายในแอ่งขนาดเล็กบริเวณพ้ืนถ้ํา อาจพบได้ หลายลกั ษณะทง้ั กลม แทง่ ยาว หรอื วงรี แตส่ ว่ น ใหญจ่ ะพบเปน็ ลกั ษณะกลม ไขม่ กุ ถา้ํ เกดิ จากนา้ํ ทม่ี ี สารประกอบของ แคลเซยี มไฮโดรเจนคารบ์ อเนต ทห่ี ยดลงมาจากเพดานถา้ํ ลงในแอง่ ตน้ื ๆ บรเิ วณ พ้ืนถ้ํา และเกิดการสะสมของแร่แคลไซต์รอบๆ วสั ดทุ ่เี ป็นแกนกลาง (เม็ดทราย, กอ้ นดิน, เศษ วตั ถฯุ ลฯ) ในบรเิ วณนน้ั ความกลมมนของไขม่ กุ เกดิ จากรปู แบบเฉพาะของการสะสมตวั ของแรแ่ คลไซต์ ไข่ มกุ ถ้าํ สว่ นใหญ่จะไม่เกาะตดิ กับพน้ื ถา้ํ เน่อื งมาจากนา้ํ ท่หี ยดลงมาท�ำ ใหเ้ กิดแรงสน่ั สะเทอื น ทำ�ใหไ้ ข่มุกถา้ํ สว่ นใหญแ่ ยกเมด็ กนั และไมย่ ดึ ตดิ กบั พน้ื ถา้ํ เรามกั พบเหน็ ไขม่ กุ ถา้ํ อยตู่ ามท�ำ นบถํ้าต่างๆ ๖๔ เท่ียวไปในอทุ ยานธรณีสตลู

๗. วิจิตรงดงามราวสวรรค์ นอกจากธรรมชาติจะสร้างสรรค์ความมหัศจรรย์และความสมบูรณ์ทางธรรมชาติให้แก่ถํ้าแห่ง นี้แล้ว ในปัจจุบัน ทาง อบต.ปาล์มพัฒนาที่ดูแลพื้นที่ ได้ตกแต่งไฟภายในโดยเฉพาะบริเวณป่าเสาถํ้า เป็นไฟสีโดยใช้ตัวเซ็นเซอร์เป็นตัว ปิด-เปิดครั้งละ ๔ นาที เพื่อจะได้ ไม่เกิดความร้อนจากหลอดไฟและ เป็นการประหยัดไฟไปด้วย ทำ�ให้ ถํ้าแห่งนี้สวยงามราวกับสวรรค์ใต้ พิภพ เหล่านี้คือสิ่งที่จะได้พบเห็น เมื่อมาเยือนถํ้าภูผาเพชร สวนหนิ หนา้ ถ้ําภูผาเพชร ก่อนขึ้นถํ้าภูผาเพชรจะเห็นหินปูนระเกะระกะ มียอดแหลมคม เป็นปรากฏการณ์ ที่นํ้าฝนกัดกร่อนละลายหินปูน เมื่อหินปูนมีความคงทนไม่เท่ากัน จึงเกิดเป็นแหลมเป็น เว้าลึกอย่างที่เห็น มีปรากฏการณ์แบบนี้หลายแห่งที่เป็นภูเขาหินปูน เช่นที่เขาหินปะการังที่แพร่หรือ ที่มีชื่อเสียงมากที่คุนหมิง ประเทศจีน g เท่ยี วไปในอทุ ยานธรณีสตูล ๖๕

นำ้ �ตกวงั ใต้หนาน ที่ตั้ง : หน่วยพิทักษ์ป่าภูผาเพชร ตำ�บลปาล์มพัฒนา อำ�เภอมะนัง จังหวัดสตูล เปน็ นา้ํ ตกขนาดกลางในเขตรักษาพันธสุ์ ตั วป์ ่าเขาบรรทดั ฝ่งั ทางดา้ น อ.มะนัง สตูล เกดิ จากลำ�หว้ ย ในปา่ เขาบรรทดั เป็นต้นธารของคลองลำ�โลน อยูท่ ่ามกลางป่าดงดิบที่อดุ มสมบูรณ์ บรเิ วณน้าํ ตกหรอื ใกล้ เคยี ง บางครั้งพบเหน็ ชาวเผา่ มานิ มาอย่อู าศยั ในบางครง้ั ที่นเ่ี หมาะกับการท่องเทย่ี วแบบต้ังแคม้ ป์พักแรม ในปา่ เดินเท้าจากหนว่ ยพิทักษป์ ่าภูผาเพชรไป ๔ กม. กถ็ งึ บรเิ วณนา้ํ ตก g ๖๖ เทย่ี วไปในอทุ ยานธรณีสตลู

มาน.ิ ....คนของปา่ มานิ...อาจจะไม่ค่อยคุ้นหู แต่ถ้าบอกซาไก เราจะคุ้นกว่า แต่ซาไก ในภาษามลายู หมายถึง ทาส แต่เขาเรียกตัวเขาเองว่า “มานิ” หมายถึง มนุษย์ หรือ พวกเรา การเรียกเขาว่าซาไก จึงเป็นคำ�ที่ไม่ควร ใช้ นํ้าหนักคำ�ออกไปทางเหยียดเชื้อชาติ ชนเผา่ มานิ เปน็ กลมุ่ คนทด่ี �ำ รงชวี ติ ผกู พนั อยใู่ นปา่ ไมม่ ถี นิ่ ทอ่ี ยเู่ ปน็ หลกั แหลง่ อพยพโยกยา้ ยไปตาม ความสมบูรณ์ของอาหาร ไมร่ จู้ ักการเพาะปลูก หาเผือก หามัน จากในปา่ (ปรุงโดยการหมก เผา) ลา่ สตั ว ์ ลงิ คา่ ง กระรอก กระแต เตา่ เมน่ หมปู า่ โดย ใชล้ กู ดอกอาบยาพษิ จากธรรมชาติ (ยางนอ่ ง พ้ืนเมืองเรียกต้นปุ) นำ�เน้ือสัตว์มาต้ม ย่าง ปง้ิ ปรงุ อาหารแบบงา่ ยๆ ไมซ่ บั ซอ้ น โดยใช้ ภาชนะทด่ี ดั แปลงจากสง่ิ ของในปา่ ท่ีพักอาศัย เผ่ามานิใช้ใบไม้ในป่านำ� มาเรยี งสุมกันเปน็ หลังคา มักไมม่ ีโครงสรา้ ง แบบบ้านเรือนท่ัวไป พ้ืนเป็นพ้ืนดินบ้าง ท่ีนอนใช้ไม้ไผ่ปูเอียงแล้วนอนริมกองไฟท่ี จุดในเพงิ ท้ังทำ�อาหาร ใหค้ วามอบอนุ่ และ เทย่ี วไปในอุทยานธรณสี ตลู ๖๗

ปอ้ งกนั สตั ว์ ชาวมานิใช้ต้นไม้ในป่าเป็นยารักษาโรค เขารจู้ กั สมุนไพรหลากหลายชนดิ เดิมชาวมานิใช้ใบไม้ปกปิดร่างกายและ เปลือยท่อนบนท้ังหญิงและชาย ต่อมาจึง รู้จกั การสวมใสเ่ สื้อผา้ ชาวมานไิ มเ่ รยี นหนงั สอื ไมร่ ู้ วนั เดอื น ปี ไมร่ อู้ ายตุ วั เอง ชาวมานไิ มส่ ะสม แตแ่ บง่ ปนั กัน เมอ่ื ได้อาหารหรอื สตั วป์ า่ มาเขาจะแบ่ง เท่าๆ กัน ชาวมานอิ าศยั อยใู่ นบรเิ วณเทอื กเขาบรรทดั ทเ่ี ชอื่ มตอ่ ระหวา่ งตรงั พทั ลงุ สตลู ยะลาและในมาเลเซยี อพยพไปตามความสมบูรณ์ของการหาอาหารในป่า ในอุทยานธรณีสตูลมักพบเห็นชาวมานิได้บ่อยในเขต ต.ปาล์มพัฒนา ใกลถ้ ํ้าภผู าเพชร ปจั จบุ นั ชาวมานดิ �ำ รงชวี ติ อยดู่ ว้ ยความยากล�ำ บาก เพราะพื้นท่ีป่าถูกจับจองทำ�เป็นพื้นที่การเกษตร ความ อดุ มสมบรู ณข์ องปา่ ถดถอย เหลอื พน้ื ทป่ี า่ สมบรู ณเ์ ฉพาะ ในเขตปา่ อนรุ กั ษท์ พี่ อใหช้ าวมานอิ าศยั อยไู่ ดบ้ า้ ง วถิ ชี วี ติ ของชาวมานมิ กี ารปรบั เปลยี่ น และรบั ความสะดวกจาก สงั คมภายนอกเขา้ ไปบา้ ง เชน่ มีหม้อ ช้อน จาน ใชใ้ น ครัว มไี ฟแชก๊ ส�ำ หรับจดุ ไฟ ไม่ต้องสไี ม้เพ่ือก่อไฟแบบ เดิม มผี ้าใบใช้กางทำ�หลังคาเพิงพกั เปน็ ตน้ ชาวมานิแลกเปล่ียนกับคนภายนอกโดยการ เก็บสมุนไพรมาแลกเปล่ียนอาหาร เส้ือผ้าบ้าง มานิมี สถานภาพแบบคนไร้รัฐ ไมม่ ีบัตรประชาชน ท�ำ ใหไ้ ม่ได้ รบั การบรกิ ารของรฐั เชน่ การรกั ษาพยาบาล การรบั เบย้ี ผสู้ งู อายุ ฯลฯ ปัจจุบันหน่วยงานปกครองในท้องถิ่น เช่น อบต. ปาลม์ พฒั นา ได้ให้การดแู ลสารทกุ ข์สุกดิบ เขา้ มาเยย่ี ม เยอื น น�ำ อาหารมาใหบ้ า้ งในบางครัง้ ยามเจ็บไขไ้ ดป้ ว่ ยกพ็ าไปโรงพยาบาล การมมี านใิ นพน้ื ทอี่ ทุ ยานธรณสี ตลู ท�ำ ใหพ้ น้ื ทอ่ี ทุ ยานทางธรณแี หง่ นี้ มมี ติ ทิ างความหลากหลายของ ชนเผา่ และวัฒนธรรมที่น่าเรียนรู้ การไปเที่ยวในอุทยานธรณีสตูลและอยากพบเจอมานิ ลองสอบถาม เจา้ หนา้ ทอ่ี ทุ ยานธรณสี ตลู หรอื อบต.ปาลม์ พฒั นาเจา้ ของพนื้ ทถ่ี า้ํ ภผู าเพชรกไ็ ดว้ า่ ขณะนนั้ มมี านกิ ลมุ่ ไหน ทีอ่ ยู่ไม่ไกลจากการเดินทางไปหาบา้ ง เมอื่ ไปหากค็ วรไปดว้ ยความเคารพใหเ้ กียรติ เขามสี ทิ ธิ์เทา่ เทยี มกับ เรา ไม่ด้อยไปกว่าเรา ถา้ จะมีน้าํ ใจ จะมอี าหารสิ่งของจ�ำ เปน็ ติดไม้ติดมอื ไปก็ได้ g ๖๘ เทยี่ วไปในอุทยานธรณสี ตูล

น้ำ�ตกวงั สายทอง ที่ตั้ง : บ้านวังนา หมู่ ๑๐ ตำ�บลน้ำ�ผุด อำ�เภอละงู จังหวัดสตูล อยรู่ มิ ถนนทางไปลอ่ งแก่งวังสายทอง ห่างจากถนนราว ๑๐๐ เมตร เปน็ นํา้ ตกหนิ ปูนขนาดกลาง ที่ ตกลดหล่นั กันลงมาเปน็ ชั้นเลก็ ๆ โดยชัน้ สงู สดุ สูงราว ๖ เมตรจากพื้น แตน่ ํา้ ตกแหง่ น้ีมหี นา้ นา้ํ ตกกวา้ ง มี ต้นไม้ขึ้นปะปนอย่กู บั หนา้ นา้ํ ตกและบริเวณโดยรอบ ทำ�ใหบ้ รรยากาศรม่ รืน่ เหมาะกบั การเลน่ น้าํ นา้ํ ตกแหง่ นม้ี นี าํ้ ทง้ั ปี และดว้ ย ธรณีสัณฐานย่านน้ีเป็นภูเขาหินปูน นํ้าท่ีทั้งนํ้าบนดินท่ีชะละลายมากับ พ้ืนหินปูนหรือนํ้าใต้ดิน ก็ทำ�หน้าที่ เช่นเดียวกันโดยละลายสารละลาย มาด้วย พอไหลมารวมกันก็จะเร่ิม เกาะสิ่งต่างๆ ตามทางน้าํ ใบไม้ กิง่ ไม้ และสะสมกันเปน็ ขอบๆ แตล่ ะ ขอบก็จะเป็นชั้นเล็กๆ ลักษณะน้ํา ตกหนิ ปนู โดยทว่ั ไปจนเปน็ แบบทเ่ี หน็ จะเห็นได้วา่ วธิ กี ารเกดิ นา้ํ ตกหินปูน หรือการเกิดทำ�นบถ้ํา จะคล้ายกัน แต่แอ่งทำ�นบนํ้าตกเหล่านี้ไม่ปรากฏว่ามีไข่มุก แบบเดียวกับทำ�นบถ้ํา เพราะกระแส นํ้าของนาํ้ ตกไหลแรงกว่าน้าํ ท่ไี หลผ่านทำ�นบถ้ํานน่ั เอง g เทย่ี วไปในอุทยานธรณีสตลู ๖๙

ล่องแก่งวงั สายทอง ที่ตั้ง : บ้านวังนา ต.น้ำ�ผุด อ.ละงู สตูล เป็นกิจกรรมท่ีได้รับความนิยมในพื้นท่ีมาก เพราะมีเพียงไม่ก่ีลำ�ห้วยที่ลำ�ธารมีน้ําตลอดท้ังปีพอให้ ลอ่ งแกง่ ได้ โดยสว่ นใหญ่จะใช้เรือแคนูเป็นหลัก ระหวา่ งทางมที ศั นียภาพสองฝัง่ ที่สวยงามดว้ ยรม่ เงา และ เว้ิงเพิงหน้าผาตา่ งๆ โดยมผี ปู้ ระกอบการให้บรกิ ารอยหู่ ลายราย สามารถเลือกใช้บริการได้ตามใจชอบ g ๗๐ เทีย่ วไปในอุทยานธรณสี ตลู

ถ้ำ�เจ็ดคต ที่ตั้ง : บ้านป่าพน หมู่ที่ ๖ ตำ�บลปาล์มพัฒนา อำ�เภอมะนัง จังหวัดสตูล ถ้ําเจ็ดคตเป็นอีกความมหัศจรรย์หน่ึงที่มีอยู่ในอุทยานธรณีสตูล ถํ้าแห่งน้ีเป็นลักษณะถํ้าลอด คือมี ล�ำ คลองล�ำ โลนทม่ี าจากทางอ�ำ เภอมะนงั ไหลลอดภเู ขาหนิ ปนู ออกมาสมทบกบั คลองละงทู ไี่ หลมาจากทาง บา้ นทบั ทงุ อ.ละงู ภายในอโุ มงคถ์ า้ํ มหี นิ ยอ้ ยทย่ี งั เปน็ มีสีเหลืองเคลอื บ คลา้ ยกบั ในถ้าํ เล ตรงบริเวณปากถํ้า ท่ีลำ�หว้ ยทม่ี าจาก อ.มะนังจะไหลลอดพน้ ภูเขาออกมาสมทบกับล�ำ คลองละงนู นั้ จะเป็นปากถ้ําขนาดใหญ่ ทปี่ ากถาํ้ กวา้ งและคอ่ ยๆ เลก็ แคบสอบเขา้ ไปภายใน มหี นิ ยอ้ ยรมิ หนา้ ผา และเนนิ ทรายเลก็ ๆ แตท่ สี่ วยงาม คือในช่วงบ่ายจะมีแสงแดดส่องสะท้อนสีเขียวของใบไม้แล้วตกกระทบนํ้า ทำ�ให้น้ํามีสีเขียวมรกตไปด้วย แลดูสวยงาม เท่ียวไปในอุทยานธรณีสตลู ๗๑

ปากถํ้าเจ็ดคตนั้นจะเห็นริ้วของหินบนเพดานที่โค้งแคบเข้าไปภายใน ริ้วเหล่านี้เกิดจากกระแสนํ้า ที่เคยไหลในอดีต แล้วต่อมา ถํ้ามีการปรับเปลี่ยนรูปร่างจากการดันของแผ่นเปลือกโลก จากที่เคยอยู่ใน ระดับที่นํ้าไหลก็ถูกดันยกขึ้นไปอยู่บนเพดานถํ้า หนิ กอ้ นใหญ่หน้าปากถํา้ จะเหน็ เปน็ ร้วิ ๆ น่นั คือคราบหนิ ปนู ที่เกาะกนั ในแต่ละชว่ งเวลา ที่อาจกนิ เวลานานนบั รอ้ ยนับพันปี เหตุผลคล้ายกับหินที่หน้าน้ําตกธารปลิวน่นั เอง g หาดราไว ที่ตั้ง : บ้านราไว ตำ�บลขอนคลาน อำ�เภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล หาดราไวเปน็ ชายหาดทเ่ี ชอ่ื มตอ่ กบั หาดสะโปะ เพยี งแตม่ ลี �ำ คลองวงั วนกน้ั เทา่ นน้ั ล�ำ พงั ตวั หาดราไว อาจจะไม่มีอะไรที่น่าสนใจมาก เพราะชายหาดเป็นหาดทรายปนดิน สีของหาดเลยออกคล้ําๆ เป็นหาดที่ ชาวบา้ นเขามาทอ่ งเท่ียวพกั ผอ่ นกนั คนตา่ งถิ่นมากันคอ่ นขา้ งน้อย หาดแห่งนจ้ี งึ ดูสงบ เรยี กวา่ แทบไมม่ ี กิจกรรมท่องเที่ยวจากภายนอกเขา้ มาเลยก็ว่าได้ ทาง อบต.ขอนคลานไดน้ �ำ ประตมิ ากรรมลอยตวั เปน็ รปู สตั วท์ ะเลพวก ป ู ปลา หอย และปลาไหล มา ตง้ั ไวบ้ รเิ วณทคี่ ลา้ ยสวนสาธารณะของหมบู่ า้ นและสรา้ งหอ้ งนาํ้ และลานจอดรถไวบ้ รกิ าร โดยมพี ชื ชายทะเล เช่น เตยทะเล (ปาหนนั ) ตะบนู กนั้ เป็นแนวพอไดร้ ่มเงาหลบแดดในวนั ท่แี ดดแรง ยามนาํ้ ลงในหนา้ หอยตะเภากล็ งหาหอยกนั ตามหาด บางครง้ั ชาวบา้ นกเ็ อาววั ลงเดนิ เลน่ ตามชายหาด กลายเปน็ หาดแบบบา้ นๆ หาดไมส่ วย แตม่ คี วามเป็นบ้านๆ ดมี าก ๗๒ เที่ยวไปในอทุ ยานธรณีสตูล

สง่ิ ทน่ี า่ สนใจกค็ อื ก่อนที่จะมาถึงหาดราไว จะต้องข้ามสะพานมาน้ัน สะพานนี้จะข้าม ลำ�คลองวังวน วิถีชีวิตประมงชายฝ่ังที่จอดเรือ ลอยลำ�ในคลองนั่นต่างหากท่ีน่าสนใจ นอกจาก คานเรือริมตล่ิงที่ช่างซ่อมเรือใช้ภูมิความรู้ซ่อม เรืออย่างขะมักขเม้นแล้ว ชาวประมงยังมีลีลา ชวี ิตท้งั ขดั แตง่ เรอื ขนย้ายอุปกรณ์จากในเรอื ขึน้ สู่บนบก ธงทิวของลอบดักปูท่ีถูกวางรวมบนหัว เรือดูสวยงาม ใกลๆ้ กนั หรอื แทบจะหาดเช่อื มต่อกัน มีหาดสะโปะ ซ่ึงเป็นชายทะเลอีกที่หน่ึง ลกั ษณะเหมือนกับ หาดราไว เงียบสงบ เชน่ กนั g โรงเรียนกำ�แพงวิทยา ที่ตั้ง : หมู่ ๑ ถนนละงู - ทุ่งหว้า ตำ�บลกำ�แพง อำ�เภอละงู จังหวัดสตูล ตน้ ธารของอุทยานธรณีสตลู เท่าท่ีรู้มา น่าจะมีโรงเรียนนี้ที่เดียวท่ีมีชุมนุมที่ศึกษาเร่ืองฟอสซิลท่ีชื่อ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา เท่ยี วไปในอทุ ยานธรณีสตลู ๗๓

โดยมี อาจารยธ์ รรมรตั น์ นตุ ะธรี ะ เปน็ ผูท้ ผ่ี ลกั ดัน และถ่ายทอดความรู้ให้เด็กนักเรียนได้สนใจเร่ือง ทางธรรมชาตแิ ละธรณมี าอยา่ งช้านาน โรงเรียนกำ�แพงวิทยาเป็นอีกท่ีหนึ่งที่ควร จะได้แวะเข้าไปเย่ียมเยือน โรงเรียนนี้มีชุมนุม ของนักเรียนที่ศึกษาและเรียนรู้เร่ืองเก่ียวกับ ซากฟอสซิลในพื้นที่ โดยมีห้องจัดแสดงตัวอย่าง ฟอสซิลท้ังหลายในเขตอุทยานธรณีสตูล ท่ีสำ�คัญ คือเก็บหลักฐานซากฟอสซิลครบทั้ง ๖ ยุคใน มหายคุ พาลโี อโซอกิ คอื ฟอสซลิ ในยคุ แคมเบรยี น (๕๔๒-๔๘๘ ลา้ นป)ี ออรโ์ ดวเิ ชยี น (๔๘๘-๔๔๔ ลา้ นป)ี ไซลเู รยี น (๔๔๔-๔๑๖ ล้านปี) ดิโวเนียน (๔๑๖-๓๕๙ ลา้ นปี) คาร์บอร์นิเฟอรสั (๓๕๙-๒๙๙ ล้าน ปี และยคุ สุดทา้ ยในมหายุคน้ีคือเพอรเ์ มียน (๒๙๙- ๒๕๑ ลา้ นป)ี อย่างท่ีเคยบอกวา่ เราเจอฟอสซิลในมหายุคนี้มากมาย กระจายอยู่ ทว่ั ไปทางอสี านบา้ ง ภาคเหนอื บา้ ง ภาคกลางบา้ ง แตไ่ มเ่ คยมที ไ่ี หนทม่ี ซี าก ฟอสซิลครบทั้ง ๖ ยุค ในมหายุคนี้ นี่เป็นเหตุผลหน่ึงท่ีทำ�ให้พื้นท่ีอุทยาน ธรณีสตูลมีความโดดเด่น แม้จะเป็นฟอสซิลของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กและยุค โบราณ แตก่ ค็ รบและสมบูรณ์ที่สดุ นอกจากการจดั แสดงแลว้ นกั เรยี นของโรงเรยี นนยี้ งั มคี วามรสู้ ามารถ เป็นไกด์พานำ�ชมและบรรยายเกย่ี วกบั ฟอสซลิ ท่ีจดั แสดงไว้ไดด้ ว้ ย ครนู ก ธรรมรัตน์ นตุ ะธีระ โรงเรียนนี้ตั้งอยู่ในเขต ต.กำ�แพง ในเขต อ.ละงู อยู่ริมถนนใหญ่ เวลาที่เราเดินทางไปปากบารา ก็จะ ต้องผ่าน ต.กำ�แพงและผ่านหน้าโรงเรียนกำ�แพง แวะเข้าไปดูความมหัศจรรย์ของพื้นที่ ดูความสามารถ ของเด็กๆ ในพื้นที่ที่ตื่นตัวและมีความรู้เกี่ยวกับข้อดีในท้องถิ่นของตน และอุดหนุนผลิตภัณฑ์ของเด็กๆ ที่ทำ�ไทรโลไบต์และสัตว์โบราณอื่นๆ จำ�ลองขึ้นมาเป็นของที่ระลึก โทรศัพท์ติดต่อ ก่อนเข้าชมที่ โทร.๐๗๔ ๗๐๑ ๒๐๔ g ๗๔ เทย่ี วไปในอุทยานธรณสี ตลู

อุทยานแห่งชาตหิ มู่เกาะเภตรา ที่ตั้ง : ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ บริเวณอ่าวนุ่น หมู่ ๕ ตำ�บลปากน้ำ� จังหวัดสตูล โทร.๐๗๔- ๗๘๑-๕๘๒ อทุ ยานแหง่ ชาตหิ มเู่ กาะเภตรา เปน็ อทุ ยานแหง่ ชาตทิ างทะเลแหง่ หนง่ึ ในสตลู มพี น้ื ท่ี ๓๐๘,๙๘๗ ไร่ พ้นื ทีส่ ่วนใหญ่จะเปน็ ทะเล และเกาะในทะเล มพี น้ื ทท่ี างบกเลก็ น้อย ทีท่ ำ�การตงั้ อยทู่ างทศิ ตะวันออกของ เขาโต๊ะหงาย ในเขต ต.ปากน้ํา อ.ละงู จ.สตูล มีบา้ นพักและสะพานทางเดินศึกษาธรรมชาตเิ ลยี บไปกับเขา โต๊ะหงาย มหี นว่ ยพิทักษอ์ ทุ ยานฯ ๒ หน่วย คือ ภต.๑ (เขาโต๊ะหงาย) และ ภต. ๒ (เกาะลดิ ี) และหนว่ ย พิทกั ษอ์ ุทยานฯช่วั คราวท่เี กาะเหลาเหลียงนอ้ ย หลายคนคดิ วา่ อุทยานแห่งชาตหิ มู่เกาะเภตราไมค่ อ่ ยมีอะไร นัน่ เปน็ การคดิ ท่ีผิดถนัด เพราะอทุ ยาน แห่งชาติแห่งน.้ี ..ซ่อนรปู เราลองมาดูกันวา่ ซอ่ นอะไรไว้บา้ ง เขาโตะ๊ หงาย และเขตขา้ มกาลเวลา เขาโตะ๊ หงายเปน็ ภเู ขาหนิ ปนู และหนิ ทรายเลก็ ๆ สงู ไมม่ ากนกั ตงั้ อยตู่ ดิ ทะเล อทุ ยานแหง่ ชาตหิ มเู่ กาะ เภตรา สรา้ งสะพานเดนิ เลียบภูเขาลูกนี้ เพื่อไปดูเขตขา้ มกาลเวลาหรอื ธรณีข้ามภพ แตภ่ เู ขาลกู นม้ี อี ะไรพเิ ศษตรงที่ ภเู ขาหนิ ปนู ลกู นี้ มรี อยเลอื่ นและรอยเลอ่ื นแตล่ ะดา้ น จะเปน็ หนิ ตา่ ง สี ทม่ี าประกบกนั เปน็ ภเู ขาลกู เดยี วกนั นเี่ ปน็ ผลพวงของแผน่ ดนิ ๒ ยคุ สมยั ทเี่ ปน็ ดงั่ จก๊ิ ซอวแ์ ตล่ ะชนิ้ ถกู น�ำ มาประกอบกนั เป็นภูเขา คือหนิ ทรายสแี ดงๆ ดา้ นลา่ งน้ัน เปน็ แผ่นดนิ ยุคแคมเบรียนท่ีมอี ายชุ ่วงประมาณ ๕๔๑-๔๘๕ ลา้ นปี นัน่ แผ่นหน่งึ ส่วนดา้ นบนเป็นหินปนู ยคุ ออร์โดวเิ ชยี น อายปุ ระมาณ ๔๘๕-๔๔๔ ล้านปี อีกแผน่ หน่ึง ซง่ึ หนิ ทั้งสองอายนุ น้ั ถอื เป็นหนิ คนละยุค คนละชั้น คือหินทรายแดงที่แก่กว่าก็จะอยู่ช้ันล่าง เทยี่ วไปในอุทยานธรณีสตลู ๗๕

อา่ วละงู ส่วนหนิ ปนู นน้ั จะอยชู่ นั้ บน เป็นเหมือนขนมช้นั แตพ่ อแผน่ เปลอื กโลกมนั เล่อื น มนั เฉอื นกนั มนั ก็นำ�พาไอ้ ช้นั ทีเ่ คยอย่ขู า้ งบน เลอ่ื นมาแปะกนั ในแนวเฉียง กลายเปน็ ภเู ขาลกู เดยี วกันเฉยเลย ในทางธรณนี น้ั ถือว่า ปรากฏการณ์แบบน้ีไม่มีเห็นบ่อยนัก และหน่ึงในน้ันคือท่ีเขาโต๊ะหงายน่ีเอง คิดดูก็แล้วกันว่ามันห่างกันกี่ ล้านปีกับแต่ละช้นิ ส่วนของภเู ขาลกู เดียวกันนี้ เขาถึงเรยี กวา่ มนั เปน็ เขตข้ามกาลเวลา เพียงช่ัวเดินข้ามรอย แยก กม็ เี วลาต่างกนั นับลา้ นปีแลว้ การจะดูเขตข้ามกาลเวลาหรอื ธรณีขา้ มภพ ควรนงั่ เรอื ออกไปดจู ึงจะเหน็ ความแตกตา่ งอยา่ งชัดเจน ถ้าเดนิ ไปตามสะพานทเ่ี ลียบเขาโต๊ะหงาย ก็จะไปถึงอา่ วละงู อ.ละงู ซง่ึ จะเปน็ จดุ ชมพระอาทิตย์ตก ทีส่ วยงามแหง่ หนง่ึ ของ จ.สตลู มีหมเู่ กาะบูโหลนและหมเู่ กาะเขาใหญเ่ ป็นฉากท่ีลงตัวและสวยงามมาก g เกาะลิดี-เกาะหว้าหนิ เมื่อมังกรจะขึ้นจากนํ้า... เกาะลดิ เี ปน็ ชอื่ ของหมเู่ กาะประกอบไปดว้ ยเกะลดิ นี อ้ ย-เกาะลดิ ใี หญ่ อยใู่ กลก้ นั เกาะลดิ ใี หญน่ น้ั เปน็ เกาะสมั ปทานรงั นก ข้นึ ไปไมไ่ ด้ คงขน้ึ ไปเทีย่ วไดแ้ ค่เกาะลดิ ีน้อยเท่านนั้ เกาะลดิ อี ยหู่ า่ งจากทท่ี �ำ การอทุ ยานแหง่ ชาตหิ มเู่ กาะเภตรา (ทต่ี ดิ กบั เชงิ เขาโตะ๊ หงายทางตะวนั ออก) ๔ กม. (สามารถเชา่ เรอื จากทา่ เรอื อา่ วนนุ่ ยา่ นท่ีท�ำ การอุทยานฯ ได)้ บนเกาะลดิ นี น้ั รม่ รน่ื ดว้ ยตน้ ไมน้ อ้ ยใหญ่ มชี ายทะเลลอ้ มเกอื บทกุ ดา้ น มบี า้ นพกั มลี านจดั กจิ กรรม มี อาคารนอนรวม มีบ้านพักไว้บริการ มีลานสันทนาการ สถาบันการศึกษามักใช้ที่เกาะแห่งนี้ จัดกิจกรรม ๗๖ เทย่ี วไปในอทุ ยานธรณีสตูล

กลางแจง้ ทง้ั หลาย นกั ทอ่ งเทย่ี วเองกน็ ยิ มมาเทย่ี วเพราะคนนอ้ ย ไมพ่ ลกุ พลา่ น บางครง้ั มากางเตน็ ทพ์ กั แรม บนเกาะ อีกดา้ นหนง่ึ จะเปน็ ป่าโกงกางโบราณทต่ี น้ สูงนบั สิบๆ เมตร และเป็นทางเดินไปยังเกาะหวา้ หนิ หรือ สนั หลงั มงั กรเหลือง เกาะหวา้ หนิ นเี้ ปน็ เกาะหนิ คอื เปน็ หนิ ทง้ั เกาะ แมแ้ ตบ่ นยอดเนนิ เตย้ี ๆ กเ็ ปน็ หนิ แตค่ งมดี นิ บางๆ ถงึ ไดม้ ตี น้ ไมข้ นึ้ อยทู่ างทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของเกาะลดิ นี อ้ ย ความนา่ สนใจของมนั กค็ อื หนิ บนเกาะนแ่ี หละ ทมี่ รี ปู รา่ งตา่ งๆ มากมาย ลวดลายของหนิ ดแู ปลกตา โดยเฉพาะหนิ ทแ่ี ตกเปน็ ตารางหมากรกุ ทป่ี รากฏบนเกาะ หินบนเกาะนี้ คุณชันชนา คำ�ชา นักธรณีชำ�นาญการจากกรมทรัพยากรธรณีเขามาสำ�รวจ เพื่อ ที่จะจัดทำ�เป็นฐานข้อมูลของอุทยานธรณี สตูล เขาอธิบายว่า หินบนเกาะนี้ รวมทั้ง เกล็ดมังกรที่เราเห็น เป็นหินยุคเพอร์เมียน ซึ่งเป็นยุคสุดท้ายของมหายุค พาลิโอโซอิค มีอายุประมาณ ๒๙๙-๒๕๑ ล้านปี ยุคนี้เป็น ยุคที่สัตว์เลื้อยคลานมีหลากหลายสายพันธุ์ ขึ้น เจ้าไทรโลไบท์ (ที่มีหน้าตาคล้ายแมงดา ทะเล) สญู พนั ธ์และเริม่ มแี มลงปีกแขง็ เกดิ ข้ึน หินบนเกาะหว้าหินเป็นประเภท เที่ยวไปในอทุ ยานธรณสี ตูล ๗๗

สนั หลังมงั กรเหลอื ง หนิ ตะกอนทส่ี ะสมจบั ตวั กนั แลว้ เมอ่ื แผน่ ดนิ มนั เบยี ด ดนั กนั หนิ เหลา่ นจ้ี ะแตก ถา้ ดนั ในทศิ ทางเดยี ว หนิ กจ็ ะ แตกเปน็ รว้ิ แตถ่ า้ มกี ารดนั ทข่ี วางตดั กนั หนิ กจ็ ะแตกเปน็ ตารางๆ ทนี ้ี พอรอยแตกเหลา่ นเ้ี กดิ ขน้ึ กจ็ ะมธี าตุ อยา่ งเหลก็ หรอื ซลิ กิ า เขา้ มาเคลอื บในบางสว่ นโดยเฉพาะทน่ี นู ๆ ท�ำ ใหส้ ว่ นนนู แขง็ แกรง่ กวา่ พอนานวนั เขา้ นา้ํ ทะเลกก็ ดั เซาะรอยแตกไปเรอ่ื ยๆ เนอ้ื หนิ เดมิ ในชอ่ งแตกกถ็ กู กดั กรอ่ นจนเปน็ รอ่ ง เราจงึ เหน็ เปน็ ตารางอยา่ งใน รปู เลก็ บา้ งใหญบ่ า้ งแลว้ แตผ่ ลของรอยแตกทม่ี มี าแตแ่ รก แตก่ อ่ นมาเหน็ กค็ งพศิ วง แตต่ อนนเ้ี รารทู้ ม่ี าทไ่ี ปแลว้ เวลาทน่ี า้ํ ลง จะมสี นั ทรายโผลข่ น้ึ มาเชอ่ื มระหวา่ งเกาะลดิ แี ละเกาะหวา้ หนิ เรยี กกนั วา่ สนั หลงั มงั กรเหลอื ง อนั ทจี่ รงิ กไ็ มเ่ ชงิ เปน็ สนั ทรายนกั แตอ่ อกไปทางหนิ สอี อกอมนา้ํ ตาล หรอื เหลอื งๆ เวลาทย่ี งั ฉาํ่ นา้ํ แลว้ ตอ้ งแดดจะเห็นเปน็ สอี อกเหลืองๆ เลยได้ฉายาว่า สนั หลังมังกรเหลอื ง g โบราณสถานบอ่ เจ็ดลกู ที่ตั้ง : บ้านบ่อเจ็ดลูก ตำ�บลปากน้ำ� อำ�เภอละงู จังหวัดสตูล อันที่จริงไม่ได้อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรานะครับ อันนี้อยู่บนฝั่ง แต่ผมเห็นว่าสถาน ที่มันอยู่ย่านที่เที่ยวเดียวกัน เลยเอามารวม โดยยึดถือหลักความเป็นจริงเวลาไปท่องเที่ยว ว่าพอไปถึง สถานที่แล้ว จะเป็นแหล่งท่องเที่ยวแบบไหนก็คงแวะดู ไม่มีใครเที่ยวตามประเภทของแหล่งเท่านั้น ๗๘ เทีย่ วไปในอุทยานธรณสี ตูล

ทน่ี เ่ี ปน็ ลกั ษณะแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ ตามทม่ี เี รอ่ื งเลา่ มา ผมสรปุ สน้ั ๆ แคว่ า่ เปน็ บอ่ นา้ํ โบราณ ๗ ลกู ทท่ี ำ�ใหเ้ กิดมชี มุ ชนนีข้ นึ้ บนฝั่ง เพราะมันมีต�ำ นานและเรือ่ งเลา่ คล้ายคลึงกัน แตแ่ ปลกแยกไปเยอะ เลยสรุปได้สน้ั ๆ แคน่ ี้ ทีน่ ข่ี น้ึ ทะเบยี นเป็นโบราณสถานด้วย นอกจากบ่อนํ้าโบราณ ๗ ลกู แลว้ ยังมตี ้นมะพร้าวสองยอดอยู่ ในบรเิ วณเดียวกันดว้ ย แปลกไหมละ มีโอกาสก็แว่บไปดสู กั หนอ่ ย g หมเู่ กาะเขาใหญ่ ที่ตั้ง : ใกล้ปากบารา แต่ที่ใกล้สุดคือ ตำ�บลปากน้ำ� อำ�เภอละงู จังหวัดสตูล เป็นหมู่เกาะของภูเขาหินปูน ที่กระจายกันอยู่ใกล้ท่าเรือปากบารามากที่สุด การเป็นภูเขาหินปูนจึง มรี ปู ทรงและรูปรา่ ง ทีส่ วยงามมากมาย ปจั จุบันมกี ลุม่ ทอ่ งเที่ยวชุมชนบอ่ เจ็ดลกู ไดจ้ ดั การท่องเทยี่ วแบบ เที่ยวไปในอทุ ยานธรณีสตูล ๗๙

หาดหินงาม จดุ ชมววิ ชมุ ชน โดยจดั เป็นแพกเกจทัวรใ์ นหม่เู กาะเขาใหญ่ ๑ วนั หรือคร่ึง วนั แลว้ แตจ่ ะเลอื ก โดยมีจดุ ท่องเทยี่ วท่ีเรอื จะพาเที่ยวชมดงั นี้ สันหลังมังกร ในช่วงที่นํ้าลง จะมีสันทรายเชื่อมระหว่าง เกาะปรากฏให้เห็น นักท่องเที่ยวสามารถลงไปเดินเล่นได้ใน ยามที่นํ้าลง ผาใช้หนี้ เป็นหน้าผาหินที่หักตัดชัน หันหน้าผาเข้าหาฝ่ัง แผ่นดนิ มหี ินยอ้ ยตามหน้าผา อ่าวบิแต หรอื โละบีแต เป็นอ่าวเลก็ ๆ มชี ายหาดใหเ้ ดินเล่นได้ หาดหินงาม เปน็ หาดหินเลก็ ๆ ที่ไม่กว้างมากนัก ขา้ งบนหาด มหี นิ สนี า้ํ ตาลผวิ มนทถ่ี กู ขดั เกลาจากคลนื่ นบั พนั ๆ ปี คลา้ ยกบั บน หาดหนิ งามทตี่ ะรเุ ตา แตพ่ น้ื ทเ่ี ลก็ กวา่ รวมทงั้ มลี านหนิ สแี ดงทถ่ี กู บบี อดั จนเปน็ รอ่ งแลว้ ถกู นา้ํ ทะเลเซาะจน มรี ูปร่างท่ีแปลกตาสวยงาม ถํ้าพบรัก (ถํ้าลอด) ปราสาทหินพันยอด คือลากูนเล็กๆ ท่ีมีช่องเข้าไปภายในได้ ภายในมีหาดทรายไม่กว้างมาก เป็น ลากูนหินปูนท่ีถูกน้ํากัดเซาะจนแหลมคม นอกจากน้ันภายในลากูนตามผนังหินปูนยังปรากฏฟอสซิลสัตว์ ทะเลในอุทยานธรณสี ตูลบางชนดิ ใหไ้ ด้เห็นด้วย ดว้ ยความทเ่ี นอ้ื ทภ่ี ายในลากนู เลก็ และแคบ กลมุ่ ทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนบอ่ เจด็ ลกู เขาจงึ ใหเ้ รอื จอดภายนอก แล้วพายเรือแคนูเขา้ ไปภายในลากูน เพอ่ื ลดความแออดั ภายในลากูน อ่าวการะ เป็นอ่าวเลก็ ๆ มหี าดทราย นักทอ่ งเทย่ี วสามารถแวะขน้ึ ไปเดนิ เลน่ หรือพกั ผ่อนได้ จุดชมวิว เป็นเกาะเล็กๆ ลูกหนงึ่ ทอี่ ยูใ่ กล้กบั เกาะเขาใหญ่ มหี าดทราย และร่มไม้ร่มรนื่ มกั มคี นมา แวะพกั ผอ่ น และจะมที างเดนิ เลก็ ๆ เดนิ ขน้ึ ไปบนเนนิ หนิ กลางเกาะแลว้ จะเหน็ ทวิ ทศั นอ์ กี ดา้ นหนง่ึ ของเกาะน้ี ท่ีลานหินของจุดชมวิวน่ีเองท่ีเราจะเห็นฟอสซิลของแอมโมไนต์ขนาดใหญ่หลายตัว ปรากฏให้เห็น อยา่ งชัดเจน หินตา-หินยาย อยกู่ นั คนละฝงั่ ของรอ่ งนา้ํ ใกลจ้ ะกลบั เขา้ ฝงั่ โดยหนิ ตาเปน็ แทง่ หนิ โผลอ่ อกมาไมย่ าว มากนกั ในแนวระนาบ หันไปทางฝั่งคลองอกี ดา้ นหนงึ่ ทมี่ หี นา้ ผาปรากฏเป็นรอยหินแตกเปน็ รอ่ ง g ๘๐ เที่ยวไปในอทุ ยานธรณสี ตูล

เกาะบโุ หลนไม้ไผ่ หมูเ่ กาะบโุ หลน หมู่เกาะบุโหลน เป็นชื่อเรียกรวมๆ หมู่เกาะหลายๆ เกาะในทะเล ต.ปากนํ้า อ.ละงู จ.สตูล อยู่ห่าง จากท่าเรือปากบาราราวๆ ๒๒ กิโลเมตร เป็นส่วนหนึ่งในพื้นที่ดูแลของ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา ประกอบไปด้วยเกาะต่างๆ รวม ๘ เกาะ คือ เกาะบุโหลนเล เกาะบุโหลนดอน เกาะบุโหลนไม้ไผ่ เกาะ ตงกู เกาะลามา เกาะอายำ� เกาะรังนก และ เกาะลูกหิน ค�ำ วา่ บโุ หลน นน้ั เพย้ี นมาจากภาษามลายู “บุโละ” ซง่ึ แปลวา่ “ไม้ไผ่” เนอ่ื งจากบนเกาะอดุ มสมบรู ณ์ ดว้ ยไมไ้ ผ่ จงึ เรยี กชอ่ื เกาะตามพนั ธไ์ุ ม้ ตอ่ มา พอมกี ารตง้ั บา้ นเรอื นขน้ึ อาจจะมกี ารถากถาง ใชไ้ มไ้ ผม่ าท�ำ สง่ิ ปลกู สรา้ ง จนรอ่ ยหรอลงไป ถงึ กระนน้ั กย็ งั พอมหี ลงเหลอื บา้ ง และอยา่ งนอ้ ยกย็ งั มเี กาะบโุ หลนไมไ้ ผไ่ วย้ นื ยนั ทม่ี าของชอ่ื หมเู่ กาะแหง่ น้ี เกาะบุโหลน บางเกาะมีคน อยู่อาศัย แต่บางเกาะเป็นเพียงเกาะ เล็กๆ มีแต่ภูเขาหินปนู ไมม่ ที ร่ี าบ แต่ ที่เกาะบุโหลนเล หรือเกาะบุโหลน ใหญ่นั้น มคี นไทยมสุ ลมิ ตั้งบา้ นเรอื น อยู่บนเกาะ ในบรรยากาศร่มร่ืน สงบ เทย่ี วไปในอุทยานธรณสี ตูล ๘๑

บุโหลนดอน บโุ หลนดอน ประกอบกับธรรมชาติท่ีสวยงามของเกาะในท้องทะเลที่ได้มาอย่างครบถ้วน ท้ังหาดทรายที่ขาวสะอาด ละเอียด นํ้าทะเลใสแจ๋ว ตน้ มะพร้าว และแนวป่าสนรมิ ชายหาด ที่นบั ว่าธรรมชาตสิ ร้างให้อยา่ งลงตัว บนเกาะบุโหลนเลน้นั มจี ุดทอ่ งเทยี่ วที่ขึน้ ชอ่ื เช่น อ่าวหนา้ แกะ ซ่งึ อยูท่ างทิศตะวันออกของเกาะน้นั มหี าดทรายขาวสะอาดทเ่ี หมอื นเปน็ แหลมยื่นออกไปในทะเลและแนวต้นสนรม่ รืน่ ส่วนอา่ วมว่ งนน้ั อยู่ทาง ทิศตะวันตกของเกาะเป็นโขดหินและเชิงผา ตัวอ่าวนั้นจะมีแนวชายหาดเล็กๆ และปลอดคล่ืนจึงเหมาะ สำ�หรับการดำ�นาํ้ ดปู ะการัง ส่วนอา่ วพังกา ต้ังอยทู่ างทิศตะวันตกของเกาะ เป็นหาดหนิ กว้างใหญ่ นบั เปน็ จดุ ชมพระอาทิตย์ตกท่ีสวยของเกาะ สว่ นทเ่ี กาะบโุ หลนดอน ซง่ึ อยทู่ างทศิ ตะวนั ออกของ เกาะบโุ หลนเล บนเกาะมี ชมุ ชนชาวเลอาศยั อยู่ ประมาณ ๓๐๐ คน ซ่งึ เป็นคนกล่มุ แรกท่เี ข้าไปจับจองเป็นท่ี อยู่ และท�ำ มาหากนิ ทางการจบั สนิ ทรพั ย์ ในทะเล สามารถไปชมและสัมผัสกับวิถี ชาวเลท่นี ่ไี ด้ นอกจากน้นั ท่เี กาะบุโหลน ดอน ยังมีหาดทราย ท่ขี าวสะอาด ยาว เหยียด บางคร้งั เป็นสันแนวทรายย่นื ไป ในทะเล สีน้าํ ทะเลท่สี วยใส สร้างความ ประทบั ใจใหค้ นทช่ี อบความสงบอยา่ งมาก นอกจากนี้ ยังมเี กาะบางเกาะท่เี ป็นจุดดำ�น้ํา ทั้งน้ําลกึ และนาํ้ ต้ืน เชน่ เกาะอายำ� และเกาะหินขาว ทใี่ ตท้ ะเลยงั สมบรู ณไ์ ปดว้ ยปะการงั ออ่ น ดอกไมท้ ะเล และปลาหลากหลายชนดิ ทบี่ ง่ บอกถงึ ความสมบรู ณ์ ของใต้น้าํ ทะเลสตลู อยา่ งชัดเจน นักท่องเทยี่ วสามารถนั่งเรอื โดยสารจากท่าเรือปากบาราได้ มีเปน็ รอบ สอบถามรายละเอียดท่ที า่ เรือ ปากบารา จรงิ ๆ แล้วพ้นื ท่ดี แู ลของอุทยานแหง่ ชาตหิ มเู่ กาะเภตรา ยงั มอี ย่ทู เ่ี กาะเหลาเหลียงด้วย แต่เพราะอยู่ นอกเขตอุทยานธรณีสตูล จงึ ไมข่ อเอย่ ถงึ ในหนงั สือเล่มน้ี g ๘๒ เที่ยวไปในอทุ ยานธรณีสตูล

อทุ ยานแห่งชาตติ ะรเุ ตา ที่ตั้ง : ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะตะรุเตา อาคารท่าเรือปากบารา อำ�เภอละงู จังหวัดสตูล อทุ ยานแห่งชาติตะรุเตา เปน็ อุทยานแห่งชาติทางทะเลในลำ�ดับที่ ๘ ของบา้ นเรา มเี น้ือทีค่ รอบคลมุ เกาะตะรเุ ตา เกาะอาดงั เกาะราวี เกาะหลเี ปะ๊ และเกาะใหญเ่ กาะนอ้ ย ๕๑ เกาะ ในเขตตดิ ตอ่ กบั เขตประเทศ มาเลเซยี เขา้ ไปดว้ ยกนั เปน็ หมเู่ กาะทอ่ี ยใู่ ตส้ ดุ ของไทยทางฝง่ั ทะเลอนั ดามนั หา่ งจากเขตแดนมาเลเซยี เพยี ง ๔.๘ กม. เท่านั้น มพี น้ื ทีท่ งั้ บนเกาะและในทะเลรวม ๙๓๑,๒๕๐ ไร่ หรือ ๑,๔๙๐ ตารางกโิ ลเมตร โดยมี เกาะใหญๆ่ ๒ เกาะหลกั ๆ คือเกาะตะรเุ ตา และกลุ่มหมเู่ กาะอาดัง-ราวี อทุ ยานแหง่ ชาตติ ะรเุ ตามปี ระวตั คิ วามเปน็ มาทนี่ า่ สนใจมาก ทงั้ ในแงป่ ระวตั คิ วามเปน็ มาทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กับการเมอื งของไทยในอดตี คือเมือ่ ภายหลังเปล่ยี นแปลงการปกครอง เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๕ โดยกลุ่มคณะ ราษฏรท์ ีน่ ำ�กำ�ลังยึดอำ�นาจจาก รัชกาลท่ี ๗ แลว้ หลงั จากนน้ั ก็เกดิ ความขดั แย้งกนั ในสังคมผู้ปกครอง มี การแก่งแย่งอำ�นาจกัน มีความพยายามจะยึดอำ�นาจกันหลายคร้ัง ครั้งที่เรียกว่า กบฏบวรเดช ท่ีนำ�โดย พระวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ บวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม ไดก้ อ่ การในเดือนตลุ าคม ๒๔๗๖ แต่ ถกู ฝา่ ยรฐั บาลในขณะนนั้ ปราบปรามจนส�ำ เรจ็ กม็ กี ารจบั กมุ ผคู้ นทคี่ าดวา่ เกย่ี วขอ้ ง เขา้ คมุ ขงั และกย็ งั เกดิ การพยายามยดึ อ�ำ นาจอกี หลายครั้งตามมาก็มีคนถูกจบั ตามมาเชน่ กนั ในปี พ.ศ.๒๔๙๗ รัฐบาลขณะนั้น ได้มีการประกาศพระราชบัญญัติกักกันผู้มีสันดานเป็นโจรผู้ร้าย เท่ยี วไปในอุทยานธรณสี ตูล ๘๓

กรมราชทัณฑ์ จึงหาสถานที่ที่มีภูมิประเทศเหมาะสม ซึ่งในที่สุดได้เลือกเกาะตะรุเตาเพื่อจัดตั้งขึ้นเป็น ทัณฑสถาน โดยเมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๔๘๐ กลุ่มบุกเบิกของกรมราชทัณฑ์ ภายใต้การนำ�ของ ขุนพิธานทัณฑทัย ได้ขึ้นสำ�รวจเกาะตะรุเตาบริเวณอ่าวตะโละอุดังและอ่าวตะโละวาว เพื่อจัดทำ�เป็น “ทัณฑสถาน” ในขณะนั้นบนเกาะตะรุเตาเต็มไปด้วยป่าที่รกทึบ ตามรูปแบบป่าบนเกาะทั้งหลาย สัตว์ ป่าและไข้มาเลเรียก็ชุกชุม คณะผู้บุกเบิก ใช้เวลา ๑๑ เดือน ในการจัดสร้างทัณฑสถานขึ้นจนแล้วเสร็จ ก่อนน้ัน เกาะตะรเุ ตากม็ ีชาวบ้านมาอยอู่ าศัยบา้ งแตไ่ ม่มาก ตอ่ มาไดม้ พี ระราชกฤษฎีกากำ�หนดเขต หวงห้ามที่ดินบนเกาะนี้ เพ่ือประโยชน์แก่การราชทัณฑ์โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๖ หน้า ๕๖๖ ลงวันท่ี ๒๙ พฤษภาคม ๒๔๘๒ ปลายปี พ.ศ.๒๔๘๒ เกาะตะรเุ ตาจงึ เปน็ เกาะทีอ่ ยใู่ นการดแู ลของ กรมราชฑณั ฑท์ ง้ั หมด พอสรา้ งทณั ฑสถานบนเกาะตะรเุ ตาเสรจ็ แลว้ ทางการจงึ สง่ นกั โทษการเมอื งจากคดี กบฏบวรเดช (พ.ศ.๒๔๗๖) และกบฏนายสิบ (พ.ศ.๒๔๗๘) จำ�นวน ๗๐ นาย ใหม้ ายงั เกาะตะรุเตา ให้อยทู่ ี่ ทัณฑสถานอ่าวตะโละอุดงั ต่อมาไดเ้ กดิ สงครามโลกคร้ังทีส่ อง ทางดา้ นเอเชียเป็นสงครามเอเชียบูรพา (พ.ศ.๒๔๘๔-๒๔๘๘) ใน บา้ นเมืองกเ็ กิดความขาดแคลน ขัดสนไปหลายอยา่ ง เกาะตะรุเตากเ็ ลยถูกตัดขาดออกจากแผ่นดินใหญไ่ ป ด้วย การส่งเสบียง ยารกั ษาโรคก็พลอยขาดแคลน ปี พ.ศ.๒๔๘๗ ผู้คมุ และนักโทษบนเกาะจงึ ท�ำ การออก ปลน้ สดมภเ์ รอื บรรทกุ สนิ คา้ ทผ่ี า่ นไปมายา่ นนน้ั ท�ำ การอยา่ งโหดเหยี้ ม จนเกดิ เรอื่ งราํ่ ลอื กนั ไปในหมคู่ นเรอื ๘๔ เท่ียวไปในอุทยานธรณีสตูล

ท่ีเดินเรือผ่านย่านนี้ถึงความร้ายกาจของโจรสลัดตะรุเตา จึงมีการร้องเรียนไปยังรัฐบาลอังกฤษที่ปกครอง มาเลเซยี ในขณะนนั้ จนในทสี่ ดุ รฐั บาลไทยและทหารองั กฤษไดเ้ ขา้ ปราบโจรสลดั บนเกาะตะรเุ ตาส�ำ เรจ็ เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๘๙ นับเปน็ ครั้งแรกที่เรายอมใหท้ หารต่างชาติเขา้ มาปฏบิ ตั กิ ารในดนิ แดนของเรา หลงั จากน้นั อกี ๒ ปตี อ่ มา กรมราชทัณฑ์ จงึ ได้ยกเลกิ นิคมฝกึ อาชีพตะรุเตา พอปี พ.ศ. ๒๕๑๕ กรมปา่ ไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ในขณะนน้ั ) จึงเสนอให้จดั ท่ีดนิ บรเิ วณ เกาะตะรุเตา เกาะอาดงั เกาะราวี และเกาะอน่ื ๆ ในบริเวณเดียวกันให้เป็นอทุ ยานแหง่ ชาติ เม่อื ผ้บู ริหาร ประเทศขณะนน้ั เหน็ ชอบ จงึ สง่ เจา้ หนา้ ทม่ี าส�ำ รวจ เมอื่ เหน็ วา่ พนื้ ทมี่ ศี กั ยภาพทสี่ มควรเปน็ อทุ ยานแหง่ ชาต ิ ๑๑ ก.ย. ๒๕๑๖ กองอทุ ยานแห่งชาติ กรมปา่ ไม้ จงึ ให้ นายบญุ เรือง สายศร นกั วชิ าการปา่ ไมต้ รี และนาย ปรีชา รตั นาภรณ์ นกั วิชาการป่าไม้ตรี ไปด�ำ เนนิ การจดั ต้ังเกาะดงั กล่าวเปน็ อทุ ยานแหง่ ชาติ โดยขอถอน สภาพจากการเป็นเขตหวงห้ามเพื่อการราชทัณฑ์ แล้วจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติตามพ้ืนท่ีท่ีบอกไปแต่ต้น โดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๙๑ ตอนที่ ๖๘ ลงวนั ท่ี ๑๙ เมษายน ๒๕๑๗ นับเปน็ อุทยานแหง่ ชาติล�ำ ดับที่ ๘ ของประเทศไทย พื้นที่เกาะในอุทยานแห่งชาติตะรุเตาส่วนใหญ่จะเป็นภูเขาหินปูนที่มีรูปร่างน่าสนใจ หาดทราย ชายทะเล สวยงามจนขึ้นชื่อ แต่ละเกาะมีความสวยงามจนเป็นที่รู้จักกันในหมู่นักท่องเที่ยวในระดับโลก เช่น เกาะหลีเป๊ะ เกาะราวี (ทรายขาว) พ.ศ. ๒๕๒๕ UNESCO ได้ยกย่องหมู่เกาะตะรุเตาให้เป็น มรดก แห่งอาเชียน (ASEAN Heritage Parks and Reserves) หาดตะรุเตา (พันเตมะละกา) เที่ยวไปในอุทยานธรณสี ตูล ๘๕

คดิ วา่ หลายคนคงคนุ้ เคยกบั อทุ ยานแหง่ ชาตนิ กี้ นั ดี สว่ นใหญอ่ าจเคยไปเกาะหลเี ปะ๊ ทข่ี น้ึ ชอื่ แตค่ ราว นี้ เราจะเนน้ เร่ืองทางธรณขี องอทุ ยานแหง่ นเ้ี ปน็ หลกั มาลองดกู ันครับ เกาะตะรเุ ตา เกาะแห่งนม้ี ีความสวยงามของหาดทราย ชายทะเล และความอดุ มสมบรู ณข์ องปา่ ไม้ อุดมสมบรู ณ์ ไปด้วยลำ�ห้วย ลำ�ธารทไ่ี ม่เคยขาดน้าํ สตั วป์ า่ สารพนั ลิง ค่าง เก้ง หมปู ่า นกเงือก และววั ปา่ วัวจรงิ ๆ ซึ่งเดมิ มันเปน็ วัวบ้าน ที่ชาวบ้านที่เคยมาอยู่บนเกาะเอามาเลี้ยง ครั้นพอถกู ประกาศเปน็ อทุ ยานฯ ก็ไม่ไดเ้ อาวัวออกไปดว้ ย ต่อมาวัวพวกนี้ก็อาศยั หากินอยูใ่ นป่า กลายเป็นมีสัญชาติญาณป่าไป เลย เกาะน้เี ปน็ เกาะที่ใหญท่ ี่สุดในหม่เู กาะย่านน้ี เกาะตะรเุ ตา จึงมีความน่าสนใจทางธรณหี ลายแหง่ คอื .... อา่ วพันเตมะละกา อ่าวพันเตมะละกา เปน็ ทต่ี ั้งของศูนยบ์ ริการนักท่องเที่ยว อยูบ่ รเิ วณปากคลองพันเตมะละกา ทไ่ี หล ออกสู่ทะเล นอกจากที่ราบชายหาดที่เป็นท่ีตั้งของอาคาร บ้านพักของอุทยานฯแล้ว ยังมีชายหาดท่ียาว เหยยี ดและสวยงามอีกด้วย ด้านหลังหน่วยพทิ กั ษ์ฯ มภี ูเขาสงู ชือ่ ผาโตะ๊ บู มที างเดิน เดินขน้ึ ไปบนยอดเขาเพ่อื ชมทิวทศั น์ตา่ งๆ บนนน้ั ได ้ นอกจากนี้ ยงั มถี า้ํ จระเข้ ทเ่ี ปน็ ลกั ษณะถา้ํ ลอดใตภ้ เู ขา หา่ งจากทา่ เรอื พนั เตมะละกาไปทางตะวนั ออกราว ๑.๕ กม. ท่อี ่าวพันเตมะลากา เปน็ จดุ ทช่ี มพระอาทติ ย์ตกท่ีสวยงาม จากทน่ี ่ี ยงั เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ทอ่ งเทย่ี วไปยงั จดุ ตา่ งๆ บนเกาะตะรเุ ตาอกี ดว้ ย รวมทง้ั เปน็ ทจ่ี อดเรอื โดยสาร ๘๖ เทย่ี วไปในอทุ ยานธรณสี ตลู

ในเสน้ ทางปากบารา-ตะรเุ ตา-หลเี ปะ๊ นกั ทอ่ งเทย่ี วสามารถซอื้ ตวั๋ โดยสารตลอดทง้ั เสน้ ทาง แตส่ ามารถแวะ ที่เกาะตะรุเตาได้จนกว่าจะพอใจ แล้วถึงเดนิ ทางไปหลีเป๊ะต่อได้ โดยปกติ อทุ ยานแหง่ ชาตเิ กาะตะรเุ ตาจะปดิ ใหบ้ รกิ ารในสว่ นของหมเู่ กาะตา่ งๆ ยา่ นเกาะ อาดงั -ราวี ท้งั หมดในช่วงฤดมู รสุม คือชว่ ง พ.ค. และไปเปิดอีกทรี าวเดือน ต.ค. แตส่ �ำ หรบั เกาะตะรเุ ตา สามารถเทย่ี ว ได้ตลอดท้ังปี โดยเฉพาะช่วงมรสุม นักทอ่ งเท่ยี วบนเกาะจะนอ้ ยมาก จึงสงบ นา่ พักผอ่ น จากหนว่ ยนถี้ า้ นกั ทอ่ งเทย่ี วประสงคจ์ ะไปตามจดุ ตา่ งๆ สามารถตดิ ตอ่ ใชบ้ รกิ ารรถยนตข์ องอทุ ยานฯ หรือจะใชบ้ รกิ ารจกั รยานปน่ั ไปตามเสน้ ทางหรือจะเดินเทย่ี วไปตามทางกไ็ ด้ เส้นทางร่มร่นื ตลอด แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วบนเกาะที่นา่ สนใจได้แก่... อ่าวเมาะและ เป็นศูนย์บรกิ ารนักท่องเท่ียวอกี แหง่ หน่งึ หา่ งจากพนั เตมะละกา ๔ กม. เป็นลักษณะสวนมะพร้าว และตน้ ไมร้ ม่ รื่น ดา้ นหนา้ มชี ายทะเลยาว ราว ๘๐๐ เมตร ท่ีนมี่ กี ารค้นพบฟอสซิลของไทรโลไบตบ์ ริเวณ เทยี่ วไปในอทุ ยานธรณสี ตูล ๘๗

หนิ ชายเขาทางทศิ เหนอื ของชายหาดดว้ ย มบี า้ นพกั และรา้ นอาหารบรกิ าร (ในชว่ งฤดทู อ่ งเทยี่ ว) บรรยากาศ ท่วั ไปสงบ นักท่องเทย่ี วตา่ งชาตินิยมกันมาก อ่าวสน อยู่ตอ่ จากอ่าวเมาะและไปอีก ๔ กม. ทีน่ ่เี ปน็ ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวอีกแห่ง แต่เนน้ การท่องเทย่ี ว แบบแคม้ ปงิ้ เพราะไมม่ บี า้ นพกั แตม่ ลี านกางเตน็ ท ์ มรี า้ นอาหารบรกิ าร ทล่ี �ำ คญั มลี �ำ คลองนา้ํ จดื ธรรมชาติ ไหลผา่ นหนว่ ย คลองนมี้ าจากนาํ้ ตกลดู ู มนี าํ้ ตลอดทงั้ ปี ในฤดฝู นจะมนี าํ้ คอ่ นขา้ งมาก ลงเลน่ นาํ้ จดื ไดอ้ ยา่ ง สบายใจ จดุ เดน่ ของที่นี่คือ บรเิ วณปากล�ำ คลองลดู ทู ไ่ี หลลงทะเล จะเป็นบริเวณท่ีมหี ินกลมมน สีแดง-เหลือง ๘๘ เท่ียวไปในอุทยานธรณสี ตลู

นอ้ ยใหญ่ มากมายเตม็ หนา้ หาด สวยงามแปลกตา ตอ่ จากยา่ นหาดหนิ นข้ี น้ึ ไปทางทศิ ใต้ จะเปน็ หาดทรายท่ี ขาวสะอาด ทรายละเอียด กวา้ งและยาวเหยยี ด ราว ๓ กม. นักท่องเทย่ี วทชี่ อบหาดทราย ชายทะเล สงบ มคี วามเปน็ สว่ นตวั สูงมาก อ่าวตะโละวาว อ่าวตะโละวาว อยู่ทางตะวันออกของเกาะตะรุเตาเป็นช่วงปลายของเกาะตะรุเตามีหน่วยพิทักษ์ อุทยานฯ และมีสะพานยื่นไปในทะเล เดิมเคยมีเรือโดยสารมาจากท่าเรือเจ๊ะบีลังจากตัวเมืองสตูลมาขึ้น เกาะตะรุเตาที่นี่ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว แต่ในช่วงหน้ามรสุม ถ้าเรือเข้าเทียบท่าทางพันเตมะละกา ไม่ได้ ก็จะมาเทียบท่าทางตะโละวาวซึ่งคลื่นลมสงบกว่าแทน ท่ีอ่าวแหง่ น้ี จะเหน็ เกาะหมากหลอด หรือที่มีคนมาตง้ั ชือ่ ให้ใหม่ว่าเกาะตะปยู ักษ์ โดดเดน่ อยู่ไมไ่ กล นกั ดว้ ยลกั ษณะทโี่ ดดเดน่ เหมอื นเกาะถกู ผา่ ออกครงึ่ ซกี ซงึ่ นเ่ี ปน็ ปรากฏการณธ์ รรมดาของภเู ขาหนิ ปนู ท่ี เท่ยี วไปในอุทยานธรณีสตลู ๘๙

ยอ่ มจะมรี อยแตกเพราะเปน็ ภเู ขาทเี่ กดิ จากหนิ เนอ้ื ประสานทั้งหลาย รอยแตกดเู หมอื นรอยถกู ตัดเปน็ แนวตรง ก็ไม่ใช่เรื่องแปลก คล้ายๆ กับกรณีที่เขา พงิ กนั กค็ ลา้ ยกนั น้ี อกี ซกี หนงึ่ ของภเู ขาอาจตกหลน่ หายไปในทะเลแล้วก็ได้ โดยฝีมือของธรรมชาติที่ ท�ำ ใหเ้ กิดรปู ร่างเชน่ น้ีขน้ึ นอกจากนั้นท่ีนยี่ ังทำ�เส้นทางศกึ ษาธรรมชาติ ย้อนรอยเมื่อครั้งยังเป็นสถานกักกันหรือสถานฝึก อาชพี ของกรมราชฑณั ฑท์ เี่ อย่ ถงึ ในตอนตน้ ดว้ ย ได้ จดั สรา้ งเปน็ อาคาร บา้ นพกั ของผคู้ มุ ของผถู้ กู กกั กนั โรงครวั พน้ื ทที่ �ำ งาน เพอ่ื เปน็ การบอกกลา่ วถงึ ประวตั ิ กอ่ นจะมาเป็นตะรเุ ตาในปัจจบุ นั ด้วย ภเู ขามชี ้ัน หินปูนก็เป็นหินตะกอนชนิดหนึ่ง ท่ีเกิดจากการทับถมในแต่ละช่วงไม่เหมือนกัน แต่ละช่วง แต่ละชั้นที่ทับถมกัน เมื่อมีการละลายหรือถูกน้ําทะเลกัดเซาะ ช่วงรอยต่อชั้นก็จะผุพังก่อนเพราะ ไมแ่ ข็งแรงเทา่ สว่ นอน่ื จึงมกั เหน็ เปน็ ชน้ั หินปูนเปน็ ชน้ั ๆ อย่างชดั เจน บางแห่ง ชั้นของหนิ ปูนทเ่ี หน็ เกิดการคดโคง้ น้ัน เปน็ ผลมาจากการบีบอดั ของแผ่นเปลือกโลก น่ันเอง จะเหน็ ชน้ั ของหนิ ปนู ชดั ขน้ึ ในเกาะกลางทะเลทงั้ หลาย บางแหง่ เรยี กเปน็ หนิ แพนเคก้ (เพราะ ซ้อนทบั กนั ) กเ็ กิดจากเหตผุ ลเดยี วกัน ๙๐ เที่ยวไปในอุทยานธรณีสตูล

เกาะไข่ เป็นเกาะหินเล็กๆ ก่อนท่จี ะเข้าไปถึง เกาะอาดงั มหี าดทรายอยทู่ างดา้ นทศิ ตะวนั ตก เพยี งดา้ นเดยี ว สง่ิ ทนี่ า่ สนใจคอื โคง้ ประตหู นิ ทางดา้ นหัวเกาะ โดยประตหู ินนี้เกิดจาก นา้ํ ทะเลท่ีกัดเซาะวันแล้ววันเล่า จนกลายเป็น รูโหว่ดังกล่าว ในอนาคตซุ้มประตูหินนี้ก็มี โอกาสพงั ทลายสญู หายไดเ้ ช่นกนั แต่อาจใช้ เวลานานหลายรอ้ ยหลายพันปี เกาะอาดัง เกาะแหง่ นเ้ี ปน็ เกาะขนาดใหญ่ เปน็ ทต่ี ง้ั ของทท่ี �ำ การหนว่ ยพทิ กั ษอ์ ทุ ยานแหง่ ชาตติ ะรเุ ตา (อาดงั ) เกาะ อาดงั แหง่ นม้ี ปี า่ ทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ จงึ มนี า้ํ จดื ตลอดทง้ั ปี อกี ทง้ั มหี าดทรายกวา้ งดา้ นทห่ี นั เขา้ หาเกาะหลเี ปะ๊ และ มหี มบู่ า้ นชาวเลอยอู่ กี ดา้ นหนง่ึ ของเกาะ ๙๑ อยหู่ า่ งจากเกาะหลเี ปะ๊ เพยี งไมถ่ งึ ๒ กม. เทา่ นน้ั บนเกาะแหง่ นจ้ี ะมเี สน้ ทางเดนิ ขน้ึ ไปยังผาชะโด ท่อี ย่ขู ้างบนเป็นลานหิน สามารถมองเห็นเกาะหลีเป๊ะและใกล้ เคยี งไดอ้ ยา่ งชดั เจน เทีย่ วไปในอุทยานธรณสี ตลู

เกาะหลเี ป๊ะ เกาะแหง่ นขี้ น้ึ ชอ่ื ในเรอื่ งความสวยงาม โดยเฉพาะทางหาดพทั ยาทอ่ี ยทู่ างตะวนั ตกของเกาะ สว่ นทาง ดา้ นตะวนั ออกนน้ั จะเปน็ หมบู่ า้ นชาวเล มชี มุ ชน โรงเรยี น ทางดา้ นนค้ี ลนื่ ลมจะแรง นกั ทอ่ งเทย่ี วเลยไมน่ ยิ ม มานกั ไมเ่ หมอื นทางด้านอ่าวพทั ยา ปัจจุบัน นักท่องเท่ียวนิยมมาพัก กิน ด่ืม ที่หลีเป๊ะ แต่เวลาไปเท่ียวมักเช่าเรือออกไปเท่ียวตามหมู่ เกาะต่างๆ ในยา่ นน้ัน ในฤดูแลง้ หลเี ป๊ะจะขาดแคลนน้ําจดื ถึงขนาดนักทอ่ งเทยี่ วตอ้ งน่งั เรอื มาอาบนํ้าฝง่ั เกาะอาดงั ของอทุ ยานฯ กม็ ี ๙๒ เทยี่ วไปในอทุ ยานธรณีสตูล

เกาะราวี เป็นเกาะท่ีอยู่ใกล้เกาะอาดัง มีความอุดมสมบูรณ์ของป่าไม้ จึงมีน้ําจืดอย่างเหลือเฟือ มีหาดทราย ชายทะเลที่สวยงาม และมีหนว่ ยพทิ ักษอ์ ทุ ยานฯ อยบู่ นเกาะดว้ ย เท่ยี วไปในอุทยานธรณสี ตูล ๙๓

เกาะหนิ งาม เปน็ เกาะหนิ เล็กๆ เตี้ยๆ สง่ิ ท่นี ่าสนใจคอื แทนท่จี ะปรากฏหาดทรายเชน่ เกาะกลางทะเลท่ัวไป แต่ท่ี ตา่ งคอื ดา้ นหนง่ึ ของเกาะนจ้ี ะมกี อ้ นหนิ กลมมนเลก็ ๆ ทผ่ี วิ มนั เรยี่ มราวกบั ถกู ขดั กองอยมู่ ากมายเตม็ ชายหาด เวลาทนี่ ้าํ ทะเลกระเซน็ จนเปียก เหลยี่ มมมุ ของหินเหล่านจี้ ะสะทอ้ นแดดเปน็ ประกายสวยงามมาก จงึ เรยี ก ว่าหาดหนิ งาม หนิ บนเกาะน้ี คอื หนิ ทะเลนเ่ี องทถ่ี กู คลนื่ ลมในทะเลพดั ขดั สกี นั จนเปน็ กลมมนสวยงาม ใชเ้ วลานบั พนั นับหม่ืนปีทเี ดียว กว่าท่ีธรรมชาติจะสรา้ งสรรค์ผลงานเหล่านี้ไดแ้ บบนี้ ๙๔ เทีย่ วไปในอุทยานธรณีสตลู

เกาะหนิ ซอ้ น (เกาะดง) เปน็ หนิ ชายขอบของเกาะดง ซง่ึ เปน็ เกาะเลก็ ๆ ไมม่ หี าด บางคนเลยเรยี กเกาะหนิ ซอ้ น มลี กั ษณะเปน็ หินเกือบเป็นทรงส่เี หลย่ี ม ๒ กอ้ น ซอ้ นกนั อยู่ ท่นี ่าสนใจคือ ก้อนด้านล่างมรี อยแตกแยกหา่ งกันราว ๑ ฟตุ อยา่ งชดั เจน นเ่ี ปน็ ปรากฏการณท์ างธรณปี กตทิ ห่ี นิ เหลา่ นม้ี กี ารเสอื่ มสลายดว้ ยคลน่ื ลม นา้ํ ทะเล แตต่ อ้ งใช้ เวลานับรอ้ ยนบั พนั ปกี ว่าท่เี ราจะเห็นความเปลีย่ นแปลงอย่างชดั เจน g เทีย่ วไปในอุทยานธรณีสตูล ๙๕

บทที่ ๗ รู้จักชุมชน ผลิตผลท้องถิ่น ความสำ�คัญที่เป็นองค์ประกอบหลักของอุทยานธรณีอีกอย่างก็คือ การมีส่วนร่วม ของชุมชนในการคงอยู่ของอุทยานธรณี ทั้งการดูแลรักษาและการได้ผลประโยชน์ จากพื้นที่ที่ขึ้นทะเบียนเป็นอุทยานธรณี ในเขตอุทยานธรณีสตูลมีกิจการของชาวบ้าน ในพื้นที่หลายอย่างที่ล้วนเป็นการมีส่วนร่วมกับพื้นที่ ได้แก่... แคนตาลูปช้างโบราณ นอกจากจะเปน็ สวนแคนตาลปู แหง่ เดยี วในพนื้ ที่ อ.ทงุ่ หวา้ แลว้ ยงั มกี ารเพม่ิ มลู คา่ ดว้ ยการท�ำ เปน็ ลาย ชา้ งโบราณบนผิวด้วย ท�ำ ให้ขายได้ราคามากขึ้น คนซ้อื เปน็ ของฝากและยงั เป็นการประชาสัมพันธอ์ ทุ ยาน ธรณสี ตลู อกี ทางหนึ่งด้วย ขนมหม้อข้าวหมอ้ แกงลงิ อันท่ีจริงเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านทาง ภาคใต้ ที่ในพ้ืนท่ีมักเป็นพื้นดินและลักษณะที่ ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงมักเจริญเติบโตได้ดี จึง มีการนำ�เอากระบอกหม้อข้าวหม้อแกงลิงมาใส่ ข้าวเหนียวมูลแล้วน่ึง ก็จะได้ข้าวเหนียวมูลใน กระเปาะหม้อข้าวหม้อแกงลิง ในบางพื้นที่มีการ ดัดแปลง โดยใส่ถ่ัวเหลืองหรือถ่ัวลิสงสุก ปนไป ในข้าวเหนียว แลว้ นงึ่ ทำ�ให้มีรสชาตอิ ร่อยขึน้ ในพ้ืนท่ีอุทยานธรณีสตูลนอกจากจะมีต้น หมอ้ ขา้ วหมอ้ แกงลงิ ในธรรมชาตแิ ลว้ ยงั มกี ารท�ำ ๙๖ เทีย่ วไปในอทุ ยานธรณสี ตลู

สวนเพาะหมอ้ ขา้ วหมอ้ แกงลงิ เพอ่ื เปน็ ไมป้ ระดบั จงึ มกี ารเกบ็ กระเปาะหมอ้ ขา้ วหมอ้ แกงลงิ มาท�ำ ขนมใน พื้นที่ดังกล่าว แต่ด้วยปริมาณหม้อข้าวหม้อแกงลิงท่ีไม่ได้ มากมายเหมือนแต่ก่อน คนท่ีจะได้ลิ้มรสขนมชนิด นี้จึงอาจต้องส่ังล่วงหน้า แต่อย่างไรก็ตาม น่ีก็เป็น เอกลกั ษณ์ในพนื้ ที่อย่างหนึ่ง ปันหยาบาติก ในภมู ภิ าคภาคใต้ ดจู ะเปน็ พน้ื ทท่ี ท่ี �ำ ผา้ บาตกิ กนั อยา่ งแพรห่ ลาย สว่ นใหญจ่ ะเนน้ ใชส้ สี นั ทส่ี ดใสรบั กบั บรรยากาศชายทะเล และลวดลายของปลา ปะการังอันเปน็ เอกลกั ษณ์ของภาคใต้ ส�ำ หรบั ผ้าบาติกทงุ่ หวา้ มลี ายทพ่ี เิ ศษมากกวา่ ทอ่ี น่ื ๆ คอื มลี วดลายของสตั วท์ ะเลโบราณทพ่ี บในพน้ื ทอี่ ทุ ยานธรณสี ตลู และลายชา้ ง โบราณชา้ งสเตโกดอน เพือ่ ให้เปน็ เอกลกั ษณ์ในพื้นทีด่ ้วย นอกจากจะเปน็ ของใชท้ ่ถี กู ใจแลว้ ยงั เปน็ การระลึกถึงพ้นื ทอี่ ันทรงคุณคา่ ทางธรณีแห่งนอ้ี ีกดว้ ย g เทีย่ วไปในอุทยานธรณสี ตูล ๙๗

บทที่ ๘ ส่งท้าย พักอย่างไรในอุทยานธรณีสตูล ในเขต อ.ทุ่งหว้านั้น มีที่พักไม่มากนัก รองรับคนปริมาณมากๆ ไม่ได้ และเป็นอำ�เภอที่ เงยี บสงบไมม่ แี หลง่ บนั เทงิ ยามคํา่ คนื หรอื รา้ นกนิ ดืม่ นกั ทอ่ งเทีย่ วจงึ มกั มาพกั ใน อ.ละงู ซึ่งอยู่ติดกับ อ.ทุ่งหว้า ซึ่งเป็นอำ�เภอใหญ่มีที่พักมากมายหลากหลายราคา มีร้านอาหาร ริมทะเล มีร้านนํ้าชา-โรตี มีแหล่งนั่งเล่น ชมพระอาทิตย์ตกที่อ่าวละงู ติดต่ออุทยานธรณีสตูล ทุกขอ้ ขอ้ งใจในการทอ่ งเทีย่ วในอทุ ยานธรณีสตูล ท่านสามารถสอบถามท่ี อบต.ทุ่งหว้า ซง่ึ เป็นทตี่ ัง้ เดยี วกบั ทที่ �ำ การอทุ ยานธรณสี ตลู อกี ทง้ั นายณรงคฤ์ ทธ์ิ ทงุ่ ปรอื นายก อบต.ทงุ่ หวา้ กด็ �ำ รงต�ำ แหนง่ ผอู้ �ำ นวยการ อทุ ยานธรณีสตลู อีกตำ�แหนง่ หนงึ่ ดว้ ย โดยโทรสอบถามไดท้ ี่ ๐๘-๔๘๕๘-๕๑๐๐ หรอื แวะเขา้ ไปเยยี่ มชมพพิ ธิ ภณั ฑช์ า้ งโบราณ หรอื ทที่ �ำ การอทุ ยานธรณสี ตลู ได้ โดยอยใู่ นบรเิ วณเดยี ว กับทีท่ �ำ การ อบต.ทงุ่ หว้า ดา้ นหลังทวี่ ่าการอำ�เภอทงุ่ หวา้ นนั่ เอง นักท่องเที่ยวสามารถแวะเข้าไปขอรับแผนที่การเดินทางไปยังแหล่งท่องเที่ยวแต่ละแห่งได้จาก ที่ทำ�การอุทยานธรณีนี้ด้วย ขอให้เท่ยี วในอุทยานธรณีใหไ้ ดค้ วามรู้ เทยี่ วอยา่ งสนุก เพลิดเพลนิ และร่วมภาคภูมิใจในสมบตั ชิ าติ ทช่ี ือ่ อุทยานธรณีสตูล ร่วมกนั ... g ๙๘ เทยี่ วไปในอทุ ยานธรณีสตูล

อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา อุทยานแห่งชาติตะรุเตา เท่ยี วไปในอุทยานธรณสี ตลู ๙๙