Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเลี้ยงปลาแรด

การเลี้ยงปลาแรด

Description: การเลี้ยงปลาแรด.

Search

Read the Text Version

ที่มา : เอกสารคําแนะนํา กองสงเสรมิ การประมง กรมประมง กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ เรียบเรียงโดย ยุพินท วิวัฒนชัยเศรษฐ ภาพประกอบ : สมเกียรติ เมฆานมิ ติ ดี, อาภาภรณ ภูนิยม ฝายโสตทัศนูปกรณ • แหลงกําเนดิ • อปุ นิสัย • รปู รา ง • การสบื พนั ธุ • การอนบุ าล • การเลย้ี งปลาแรด • ขอจํากดั ของการเลย้ี งปลาปลาในกระชงั • อัตราการปลอ ย • การเจรญิ เตบิ โต • อาหาร • โรคและศัตรู • การปอ งกนั • การจบั ลําเลยี ง&ขนสง • การจําหนา ย • ตน ทนุ &ผลตอบแทน

การเลย้ี งปลาแรด 2 คํานํา ปลาแรด (Giant Gouramy) Osphronemus goramy (Lacepede) เปน ปลาน้ําจืด ขนาดใหญ ของไทยชนิดหนึ่ง ปลาขนาดใหญท พ่ี บมนี ้ําหนกั 6-7 กิโลกรัม ความยาว 65 เซนตเิ มตร เปน ปลา จําพวกเดียวกบั ปลากระดแ่ี ละปลาสลดิ แตม ขี นาดใหญก วา มาก มเี นอ้ื แนน นมุ เนอ้ื มากไมค อ ยมกี า ง รสชาติดี จึงไดรับความนิยมจากประชาชนผูบริโภค ท้ังในประเทศและตางประเทศ สามารถนํามา ประกอบอาหารไดห ลายชนดิ เชน ทอด เจี๋ยน ตม ยํา แกงเผ็ด ลาบปลา และนํ้ายา ฯลฯ ในระยะหลงั ได รับการจัดเปน ปลาจานในภตั ตาคารตา ง ๆ หรือจะนํามาเลย้ี งเปน ปลาสวยงามกไ็ ด สาํ หรับผูเลี้ยง ปลา แรดเปนปลาที่เลี้ยงงายเชนเดียวกับปลาสลิดราคาคอนขางสูง มคี วามอดทนตอ สภาพแวดลอ มและโรค ไดเปนอยางดี ใหผลตอบแทนตอการลงทุนดีมีกําไรและไมมีปญหาเรื่องตลาดเปนปลาท่ีเลี้ยงไดเปน อยางดีทั้งในบอและกระชัง มอี ตั ราการเจรญิ เตบิ โตรวดเรว็ สามารถแพรข ยายพนั ธใุ นบอ ได โดยเลี้ยง เพ่ือขาย เปน ปลาเนอ้ื หรอื ปลาสวยงาม ปลาแรดสามารถเลี้ยงเปนปลาสวยงาม หรอื เปนอาหาร ซง่ึ ตลาดผบู รโิ ภคตอ งการน้ําหนักประมาณ 1 กโิ ลกรมั แหลงกําเนิด ปลาแรด มีช่ือเสยี งอกี อยา งหนง่ึ วา \"ปลาเมน \" มีถน่ิ กําเนดิ ในประเทศอนิ โดนเี ซยี แถบหมู เกาะสมุ าตรา ชวา บอรเนยี ว และหมเู กาะอนิ เดยี ตะวนั ออกในประเทศไทยภาคกลางพบตามแมน ้ํา ลํา คลอง ตั้งแตจังหวัดนครสวรรคถึงจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ภาคใต ที่จังหวัดพัทลุงและแมน้ําตาป จังหวัดสุราษฏรธ านี ปจ จบุ นั ปลาแรดทอ่ี าศยั อยตู ามแหลง น้ําธรรมชาตมิ จี ํานวนนอ ยลง เนอ่ื งจาก แหลงน้ําต้ืนเขินขาดแหลง วางไข และแหลง เลย้ี งลกู ปลาวยั ออ นทเ่ี หมาะสมการเลย้ี งปลาแรดในกระชงั ยงั ไมแพรหลาย มอี ยูเฉพาะบริเวณ แถบจังหวัดอุทัยธานี กาญจนบุรี สว นการเลย้ี งปลาแรดในบอ ดนิ ขนาด ใหญยังมีอยูนอยการเพาะขยายพันธุและเลี้ยงปลาแรดเปนจํานวนมาก จะทําใหมีปลาแรดบริโภคกัน อยางกวา งขวาง และชวยอนุรักษปลาแรดมิใหสูญพันธุ

การเลย้ี งปลาแรด 3 กระชงั เลย้ี งปลาแรด ซง่ึ ใชไ มไ ผเ ปน วสั ดุ ผลผลิตปลาแรดที่เลี้ยงในกระชัง ทอ่ี าํ เภอทองผาภมู ิ จงั หวัดกาญจนบุรี อปุ นิสยั ปลาแรด ชอบอยใู นน้ํานง่ิ ตน้ื ๆ ตามแมน ้ํา ลําคลอง หนอง บึงและทะเลสาบ เปน ปลาทค่ี อ น ขางต่ืนตกใจงา ยแตเ ชอ่ื งชา ผเู ลย้ี งสามารถฝก หดั ใหเ ชอ่ื งไดง า ยโดยวธิ กี าร ใหอ าหาร ชอบอยใู นที่เงยี บ สงัด มีพันธุไมน ้ําทม่ี อี าหารสมบรู ณ ปลาแรดทย่ี งั มขี นาดเลก็ มักจะทําอนั ตรายกนั เอง เปน ปลาทค่ี อ น ขางทรหดอดทนเมอ่ื จบั ขน้ึ จากน้ํากส็ ามารถมี ชวี ติ อยไู ดน าน ๆ เพราะมีอวัยวะพิเศษชวยในการหายใจ (accessory respiratory organ) มีลักษณะเปนเยอ่ื ออ นๆอยใู นหวั ตอนเหนอื เหงอื ก โดยมคี ณุ สมบตั เิ กบ็ น้ําไวห ลอ เลย้ี ง ใหค วามชมุ ชน้ื แกเ หงอื กในเวลาทป่ี ลาขน้ึ พน น้ํา ทําใหป ลามชี วี ติ อยไู ดน านกวา ปกติ รปู รา ง ปลาแรด เปนปลาในตระกูลเดียวกับปลาหมอไทย ปลาหมอตาล ปลากรมิ ปลากดั ปลากระด่ี นาง ปลากระดี่หมอ ปลาสลดิ ซ่ึงปลาในครอบครวั นม้ี ลี กั ษณะเดน คอื เปน ปลาท่ี คอ นขา งอดทน มลี ําตวั สั้นปอมและแบนขาง หวั คอ นขา งเลก็ ปลาเลก็ เฉยี งขน้ึ ยดึ หดได ฟน แขง็ แรง เกลด็ ใหญ ลําตวั มี น้าํ ตาล ออนหรือคอนขา งเทาครบี หลงั ครบี กน ยาวมาก ครบี หลงั มจี ํานวนกา นครบี แขง็ 12-16 อนั กา นครบี ออน 10-11 อนั ครบี กน มกี า นครบี แข็ง 9-13 อนั กา นครบี ออ น17-18 อนั ครบี ทอ งมกี า นครบี แขง็ 1 อัน กานครีบออ น 5 อนั กา นครบี ออ นคแู รกของครบี ทอ งมลี กั ษณะเปน เสน ยาว ครบี หางกลม เกลด็ ตามเสน ขา งตวั 30-33 เกล็ด มจี ดุ ดําที่โคนหาง 1 จุด สดี าํ จางเปน แถบพาดขวางลําตวั ขางละ 8 แถบ มีสีเงินรอบ ๆ จุดทําใหแลเห็นจุดเดนขึ้นลักษณะเชน น้ดี คู ลายกระด่ีหมอ แตป ลากระด่หี มอมจี ดุ ดํา ขางละ 2 จุด เมอ่ื โตมนี อทห่ี วั สตี อนบนของลําตวั คอ นขา งเปน สนี ้าํ ตาลปนดํา ตอนลา งมสี เี งนิ แกม เหลืองสว นจดุ ทโ่ี คนหางจะเลอื นหายไป การสบื พนั ธุ 1. ลกั ษณะเพศ ปกตปิ ลาแรดเพศผแู ละเพศเมยี มีลักษณะคลา ยคลงึ กนั มากจะเหน็ ไดช ดั กต็ อ เมื่อมีขนาดสมบูรณพันธุ คอื ตวั ผจู ะมนี อ(Tubercle) ทห่ี วั ของมนั โหนกสงู ขน้ึ จนเหน็ ไดป ด หวั โต สว นตวั เมียจะมีโหนกไมส งู และทใ่ี ตฐ านของครบี อกตวั เมยี จะมีจุดสีดํา แตต วั ผจู ะมแี ตม สขี าวปลาแรดทม่ี อี ายุ เทากนั ปลาตวั ผจู ะโตกวา ปลาตวั เมยี ปลาแรดจะเรม่ิ มไี ขเ มอ่ื อายุ 2-3 ป นา้ํ หนกั ประมาณ 2-4 กิโลกรัม แมปลาขนาด 3 กิโลกรัม จะมไี ข2,000-4,000 ฟอง แมปลาตวั หนง่ึ สามารถวางไขไ ด 2-3 ครง้ั /ป

การเลย้ี งปลาแรด 4 พอ แมพ ันธุปลาแรดที่สมบูรณเพศ พรอมที่จะผสมพันธุ 2. การเพาะพนั ธปุ ลา ปลาแรดสามารถวางไขไดต ลอดป แตจ ะมไี ขส งู ใน ชวง 7 เดอื น ตง้ั แต เดือนกุมภาพันธ-สงิ หาคม ปลาแรดจะสรา งรงั วางไขก ารเพาะพนั ธุ จงึ ควรใสฟ างหรือหญา เพื่อใหปลา แรดนําไปใชในการสรางรัง รังจะมีลักษณะคลายรังนกและจะมีฝาปดรัง ขนาดรังโดยทั่วๆไปมีเสน ผาศูนยกลางยาว 1 ฟุต ใชเ วลาสรา ง ประมาณ 1 สัปดาห การเพาะพนั ธโุ ดยวธิ ธี รรมชาตใิ นบอ ดนิ บอ เพาะพนั ธคุ วรเปน บอ ขนาดใหญ1 -2 ไร อตั ราการปลอ ยปลาตวั ผตู อ ตวั เมยี 1:2 จํานวน 100-150 คู/ไร แมปลาขนาด 3 กิโลกรัมจะมีไขระหวา ง 2,000-4,000 ฟอง การเตรียมบอเพาะพันธุ บริเวณพื้นบอมีสภาพเปนโคลน ใหมีหญาและพันธุ ไมน ้าํ ขน้ึ หนา สักหนอย พรอมทั้งหากิ่งไผ ผกั ใหจ มอยใู นน้ําเพอ่ื ใชเ ปน ทส่ี รา งรงั พอ แมป ลาจะคอยระวงั รกั ษาลกู ออ น อยูใกล ๆ รังและจะพงุ เขา ใสศ ตั รทู ม่ี ารบกวนอยา งเตม็ ท่ี หรือ อาจใชค อกทส่ี รา งขน้ึ บรเิ วณตลง่ิ ทเ่ี ปน คงุ ของลําแมน ้ําที่ไมไหลเชี่ยวมากใชเพาะปลาแรด เชน เดยี วกบั การเพาะในบอ 3. การฟก ไข ไขปลาแรดเปนประเภทไขลอย (มลี กั ษณะกลมสเี หลอื งออ น มไี ขมนั มาก กลน่ิ คาวจัด ไมมีเมือกเหนียว ขนาดเสน ผา ศนู ยก ลาง1 มลิ ลเิ มตร) เมอ่ื ปลาแรดวางไขแ ลว นํารงั ทม่ี ไี ขข น้ึ มา แลวคัดเฉพาะไขด ี ควรชอ นคราบไขมนั ออก มฉิ ะนน้ั แลว จะทําใหน ้ําเสยี และปลาตดิ เชอ้ื โรคไดง า ย ตอจากน้ันรวบรวมไขใ สถ งั สว มทรงกลม ขนาดเสน ผา ศนู ยก ลาง 1 เมตร ระดบั น้ําประมาณ 30-50 ซม. ใหเ ครอ่ื งเปา อากาศเบา ๆ เพอ่ื เพม่ิ ออกซเิ จนและใสพ ชื น้ํา เชน ผักบุง เพอ่ื ชว ยในการดดู ซบั ไขมนั และใหลูกปลาไดย ดึ เกาะหรอื ฟก ไขใ นบอ อนบุ าลหรอื ฟก ในกระชงั ผา โอลอ นแกว กระชงั มรี ปู รา งสเ่ี หลย่ี ม ขนาด2 x 1 x 0.5 ใชหูเกี่ยวหรือโครงเหล็กถวงที่พื้นเพื่อใหกระปงดึงคงรูปอยูได ในระหวา งการฟก ควร เพ่ิมอากาศหรือนํ้าลงในกระชงั เพอ่ื ไลไ ขมนั ทต่ี ดิ มากบั ไขอ อกไดม ากทส่ี ดุ ไขจ ะฟก ออกเปน ตวั ออ นภาย ใน 18-36 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 20-30 เซลเซียส เมอ่ื ออกจากไขใ หม ๆ ตวั ออ นจะลอยหงายทอ งอยแู ละ ยึดติดกับพืชนํ้าลกู ปลาจะเรม่ิ กนิ อาหารในวนั ท่ี 5-7 โดยใหไขชง อายุ 7-10 วัน ใหไ ขแ ดงตม สกุ ละลายนํ้า ชวงที่ใหไขเปน อาหาร ควรใหท ลี ะนอ ยในบรเิ วณทล่ี กู ปลารวมเปน กลมุ อายุ 10-15 วัน จึง ใหไรแดง ลกู ปลาแรด จะมลี กั ษณะคลา ยตวั เตม็ วยั เมอ่ื อายไุ ด 4 เดอื น การอนบุ าล บออนุบาลลกู ปลาควรมขี นาด 400-800 ตารางเมตร โดยปลอ ยในอตั รา 100,000 ตวั /ไร สวนบอซีเมนต 5 ตวั /ตารางเมตร ในชว ง 10 วนั แรกทล่ี งบอ ดนิ ใหไ รแดงเปน อาหารและ 10 วนั ตอ มา

การเลย้ี งปลาแรด 5 ใหไรแดงและรําผสมปลาปนอัตราสวน 1:3 สาดใหทั่วบอ หลงั จากนน้ั จงึ เปลย่ี นเปน อาหารตม หรอื อาหารเม็ดลอยน้ําวนั ละประมาณ 3-5 เปอรเ ซน็ ต อนบุ าลจนกระทง่ั ลกู ปลามขี นาด 3 นว้ิ เพอ่ื นําไป เล้ียงเปนปลาขนาดตลาดตอ งการตอ ไป ลกู ปลา 1 เดอื นจะมขี นาดยาวประมาณ 1 ซม. เดอื นทจ่ี ะมี ความยาว 2-3 ซม. ซง่ึ จะเปน ขนาดลกู ปลาทจ่ี ะนําไปเลย้ี งเปน ปลาโตตอ ไป แหลง พนั ธปุ ลาแรด เนื่องจากการเพาะพันธุเพื่อจําหนา ยลกู ยงั มไี มม าก สว นใหญจ ะรวบรวมลกู ปลาจากธรรมชาติ ลกู ปลาแรดขนาดประมาณ 3 นว้ิ ซง่ึ นําไปเลี้ยงเปนปลาขนาดโต และปลาสวยงาม ราคาตัวละ 3-4 บาท การเลย้ี งปลาแรด สถานทเ่ี ลย้ี งปลาแรดทน่ี ยิ มมี 2 ลกั ษณะ คอื 1. การเลย้ี งในบอ ดนิ 2. การเลย้ี งในกระชงั 1. การเลย้ี งปลาแรดในบอ ดนิ อัตราการปลอ ย 1 ตวั /ตารางเมตร ขนาดบอ ทใ่ี ชเ ลย้ี ง 1-5 ไร จะใชเวลาเลย้ี ง 1 ป ปลาจะมนี ้ําหนกั 1 กก. การเลย้ี งปลาแรดในบอ จะปลอ ยปลาแรดลงเลย้ี งรวมกบั ปลากินพืชอื่นๆ ในบอ ทม่ี พี ชื น้ําหรือวัชพืชขึ้น เพอ่ื ใหป ลาแรดกนิ และเปน การทําความสะอาดบอ ไปใน ตวั ปลาแรดชอบกนิ พชื น้ํา ไขน ้าํ แหน ผักพังพวย ผักบุง เศษอาหารที่เหลือจาก โรงครวั แมลงในน้ํา ตัวหนอน ไสเ ดอื น และปลวกเปน อาหาร การเลี้ยงปลาแรดเพื่อความสวยงาม นยิ มเลย้ี งปลาแรดในบอ ดนิ บอ ซเี มนต หรือตูกระจกที่ไม กวางนัก เพราะปลาแรดสามารถปรบั ตวั ใหม ชี วี ติ อยใู นทแ่ี คบได แตม อี ตั ราการเจรญิ เตบิ โตคอ นขา งชา นอกจากการเลย้ี งในดนิ แลว ยงั นยิ มเลย้ี งในกระชงั เชน ที่แมนํ้าสะแกกรัง จงั หวดั อทุ ยั ธานี 2. การเลย้ี งปลาแรดในกระชงั การเล้ียงปลาแรดในกระชงั ไดร บั ความนยิ มมากขน้ึ โดยการ เปล่ียนจากกระชังไมมาเปนกระชังเนื้ออวนเหมาะสมกับภาวะปจจุบนั ซึง่ ขาดแคลนไมใ นการสรา งกระชงั ดังน้ันการเตรียมสถานทเ่ี ลย้ี งปลาในกระชงั จะตอ งสรา ง แพพรอ มทง้ั มงุ หลงั คากนั แดด แพที่สรางใชไม ไผมัดรวมกัน และเวน ทต่ี รงกลางใหเ ปน ชอ งสเ่ี หลย่ี มเพอ่ื นํากระชงั ตาขา ยไปผกู กระชงั ตาขา ยกวา ง 3 วา ยาว 6 วา ลกึ 1.8เมตร กระชงั ขนาดดงั กลา วสามารถเลย้ี งปลาแรดขนาด 3 นว้ิ ได 3,000 ตวั

การเลย้ี งปลาแรด 6 การลงทนุ สรา งแพ 1 หลัง และซื้อตาขายทํากระชัง 3 กระชัง เปน เงนิ 30,000 บาท กระชงั เลยี้ งปลาแรด ซง่ึ ใชไ มเ นอ้ื แขง็ เปน ตวั กระชงั กระชังเลี้ยงปลาแรด ตวั กระชังใชวัสดุจําพวก มอี ายกุ ารใชง านไมน อ ยกวา 5 ป ไนลอนหรือโพลีเอทีลีน ทนุ ลอยทช่ี ว ยพยงุ ใหก ระชงั ลอยน้ําได จะใชแพลูกบวบ หรือถังนํ้ามัน ปลาแรดสามารถเลย้ี งเปน ปลาเนอ้ื และปลาสวยงาม โครงสรา งกระชงั ทใ่ี ชเ ลย้ี งปลา ประกอบดว ย 1. โครงรา งกระชงั สว นมากเปน รปู สเ่ี หลย่ี มผนื ผา อาจทําดวยไมไผ ไมทอเหล็กชุบหรือทอนํ้า พี.วี .ซี 2. ตัวกระชัง เปน สว นทร่ี องรบั และกกั กนั สตั วน ้ําใหอยูในพื้นที่จํากัด วัสดุที่ใชไดแก เนอ้ื อวน จาํ พวกไนลอน โพลเี อทลี ิน หรือวัสดุจําพวกไมไผ ไมเ นอ้ื ออ น ไมเ นอ้ื แขง็ 3. ทนุ ลอย เปน สว นหนง่ึ ทช่ี ว ยพยงุ ใหก ระชงั สามารถลอยน้ําอยไู ด สามารถรบั น้ําหนกั ของตวั กระชงั สตั วน ้ําทเ่ี ลย้ี งและเกษตรกรผเู ลย้ี งปลาทล่ี งไปปฎิบัตงิ านบนกระชงั สําหรบั อายกุ ารใชง านนน้ั ขึ้นอยูกับวัสดุที่ใช ดงั น้ี - กระชังไมไผ จะมอี ายกุ ารใชง าน 1-2 ป - กระชังไมเ นอ้ื แขง็ จะมอี ายกุ ารใชง านไมน อ ยกวา 5 ป - กระชงั อวน จะมอี ายกุ ารใชง านประมาณ 3-4 ป บริเวณที่เหมาะสมแกการวางกระชังนนั้ จําเปน ตอ งตง้ั อยใู นบรเิ วณทม่ี สี ภาพดี น้าํ มคี ณุ สมบตั ิ เหมาะสมในการเลย้ี งปลา หางไกลจากแหลงระบายน้ําเสยี หรอื น้ําทง้ิ จากโรงงานอุตสาหกรรม และ แหลงน้ํานน้ั ไมค วรมปี ญ หาการเกดิ โรคปลา

การเลย้ี งปลาแรด 7 ขอจํากดั ของการเลย้ี งปลาในกระชงั 1. สภาพแวดลอ มในบรเิ วณทต่ี ง้ั กระชงั ตอ งเหมาะสม เชน คณุ ภาพของน้ํา ตอ งดมี ปี รมิ าณ ออกซิเจนพอเพียง กระแสน้ําไหลในอัตราท่ีพอเหมาะและไมเ กดิ ปญ หาโรคปลาตลอดระยะเวลาทเ่ี ลย้ี ง สถานท่ีตึงกระชงั ควรตง้ั อยใู นบรเิ วณทก่ี ําบงั ลม หรอื คลน่ื แรง ในกรณที ่ีเกิดพายหุ รอื นํ้าทวมโดยเฉียบ พลัน 2. ปลาท่ีปลอ ยเลย้ี งควรมขี นาดใหญก วา ตา หรือชองกระชัง หากปลามขี นาดเล็ก หรือเทากับ ขนาดของชองกระชัง ปลาจะลอดหนจี ากกระชงั ไปหรอื ถา ไมล อดกจ็ ะเขา ไป ตดิ ตายอยใู นระหวา งชอ ง กระชังได 3. ปลาท่ีเล้ียงควรมลี กั ษณะรวมกนิ อาหารพรอ มๆ กันในทันทีที่ใหอาหาร เพอ่ื ใหป ลากนิ อาหาร ใหมากที่สุดกอนที่อาหารจะถูกกระแสนํ้าพัดพาออกไปนอกกระชงั 4. ในกรณที แ่ี หลง น้ําเลย้ี งผดิ ปกติ เชน เกิดสารพิษ น้าํ มปี รมิ าณมากหรอื นอ ยในทนั ที อาจจะ เกิดปญหากบั ปลาท่เี ลี้ยงยากตอ การแกไขหากประสบปญ หาดังกลาวควรขนยา ยปลาไปเลย้ี งทอ่ี น่ื อัตราการปลอ ย จากการทดลองของสมประสงคและคณะ (2534) รายงานวา อตั ราการปลอ ย 2 ตวั ตอ ตารางเมตร มีอตั ราการเจรญิ เตบิ โตทด่ี ีทสี่ ดุ และใหผลกําไรมาก คอื เลย้ี งบอ ขนาด 400 ตารางเมตร ในชวงระยะเวลา 8 เดอื น จะไดกําไรประมาณ 4,000 บาท ถา ปลอ ยในบอ ขนาด 1 ไร อาจจะไดกําไร ถงึ 15,972.12 บาท ในชว งเวลาเพยี ง 8 เดอื น เทา นน้ั อาหาร ปลาแรดเปนปลาทเ่ี ลย้ี งงา ย กนิ พชื และสตั วเปน อาหาร เมอ่ื ยงั มขี นาดเลก็ ชอบ กินอาหารพวก สตั วเ ลก็ ๆ ไดแก แพลงกตอน ลกู น้ําปลวก ลูกกบ ลกู เขยี ด ตวั หนอน สว นปลาทม่ี ขี นาดโตเตม็ วยั ชอบ กินอาหารจําพวกผักบุง แหนจอก ผักกระเฉด ใบมันเทศ สว นออ นของผกั ตบชวาใบผกั กาด ใบขาวโพด สาหรายและหญา ออ น นอกจากนใ้ี ห อาหารประเภทรําตม ขา วสกุ เศษอาหาร กากมะพรา วเปน ครง้ั คราว ก็ใหผ ลการเจริญเตบิ โตดี ปลาแรดชอบมาก เหมาะสําหรบั การขนุ พอ แมป ลาในชว งฤดวู างไขแ ละ ผสมพันธุ ปลาจะใหไ ขบ อ ย และมีจํานวนเมด็ ไขม ากขน้ึ อกี ดว ย

การเลย้ี งปลาแรด 8 อัตราสว นอาหารสําเรจ็ สําหรับปลากินพชื โดยมอี าหารโปรตนี อยา งนอ ย 18-25 % ชนดิ อาหาร % โดยน้ําหนัก ปลาปน อดั น้ํามัน 12 กากถั่วลิสงปน 23 ราํ ละเอยี ด 40 ใบกระถินปน 4 วติ ามินและแรธาตุ 20 ปลายขาวหัก 20 รวม 100 การเจรญิ เตบิ โต จะมคี วามยาว 3-5 ซม. ลูกปลาแรดอายุ 3 เดอื น จะมคี วามยาว 10-15 ซม. ลูกปลาแรดอายุ 6 เดอื น จะมคี วามยาว 20-30 ซม. ปลาแรดทมี่ ีอายุ 1 ป การปอ งกนั ปลาแรดท่ีเล้ียงในบอ ดนิ มกั จะประสบปญ หาตวั ปลามกี ลน่ิ โคลน แตถ า เลย้ี งในกระชงั จะไมม ี ปญหาดังกลา ว เนอ่ื งจากน้ําจะถา ยเทตลอดเวลา สาํ หรบั การแกไ ขกลน่ิ เหมน็ โคลนในเนอ้ื ปลา โดยการ เปลี่ยนนํ้าพรอ มทง้ั ควบคมุ คณุ ภาพน้ําและอาหารทเ่ี ลย้ี งปลาในชว งกอ นจบั ประมาณ 3 วัน โรคและศตั รู โรค การเลย้ี งปลาแรดไมป รากฎวามีโรคระบาดรา ยแรง จะมบี า งเมอ่ื ลกู ปลายงั มขี นาดเลก็ คอื เชอ้ื รา ศตั รู ปลาแรดเปนปลาทม่ี นี สิ ยั เชอ่ื งชา จงึ มกั ตกเปน เหยอ่ื ของปลาอน่ื ทก่ี นิ เนอ้ื เปน อาหารซง่ึ มี ขนาดใหญก วา เชน ปลาชอ น ปลาชะโด ปลาบู ปลากราย ปลากะสง นอกจากนม้ี กี บ เขียด เตา ตะพาบน้ํา และนกกนิ ปลา เปน ตน

การเลย้ี งปลาแรด 9 การจําหนาย ปลาท่ีมีอายุ 1 ป จะน้ําหนกั 1 กิโลกรัม ซง่ึ เปน ขนาดทต่ี ลาดตอ งการ สว นปลาทม่ี อี ายุ 3 ป ควรทําการคดั เลอื กปลาทม่ี คี วามสมบรู ณเ พอ่ื เกบ็ ไวเ ปน พอ แมพ นั ธุ การจบั ลําเลียงและขนสง ฟารมเพาะพนั ธุป ลาจะขายลูกปลาใหแ กผ ูซื้อไปเลีย้ งเปนปลาใหญ 2 ขนาด คอื ปลาขนาด 2-3 ซม. ซ่ึงใชเวลาอนบุ าล 1 เดอื น และปลาขนาด 5-7 ซม. ใชเ วลา อนบุ าล 2 เดอื น กอ นการขนสง จะจบั ลูกปลามาพักไวใ นบอซีเมนตหรอื กระชงั แลวพน นํ้า เพม่ิ ออกซเิ จน และงดอาหารประมาณ 1-2 วัน เพื่อ ใหลูกปลาเคยจนตอ การอยใู นทแ่ี คบ และขบั ถา ยอาหารทก่ี นิ เขา ไปออกใหม ากทส่ี ดุ การลําเลยี งนิยมใช ถุงพลาสติกขนาด ปรมิ า20 ลติ ร ใสน ้ํา 5 ลติ ร บรรจลุ กู ปลาขนาด 2-3 ซม. ในอตั รา 500-2,000 ตัว/ถุงอัดออกซเิ จน หากลกู ปลาโตขนาด 5 ถงึ 7 ซม. ควรใสป บ หรอื ถงั ลําเลยี งในอตั รา 200-300 ตวั /ปบ (น้าํ 10-15 ลติ ร) ทั้งน้ี ในระหวา งการลําเลยี งควรใสย าเหลอื งในอตั รา 1-3 สว นในลา น หรือ เกลอื ในอตั รา 0.1-0.2% เพื่อยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียและปองกันเชื้อราที่จะเกิดขน้ึ เมอ่ื ปลาเกดิ บาดแผล ในระหวางการเดนิ ทาง กอ นปลอ ยปลาลงในทใ่ี หม ตอ ง แชถ งุ ลําเลยี งลกู ปลาในน้ําประมาณ 15 นาที เพ่ือปรบั อณุ หภมู แิ ละสง่ิ แวดลอ มใหก บั ลกู ปลา ตนทุนและผลตอบแทน การเล้ียงปลาแรดใหม ขี นาดตลาดตอ งการ ใชร ะยะเวลา 1 ป ปลาจะมนี ้ําหนกั 1 กิโลกรัม โดย การลงทนุ ประมาณ 30 บาท แตสามารถจําหนายได 50-80 บาท เมอื่ เปรียบเทียบตนทุนกับกําไร โดยลงทุน 12,479 บาท กําไร 4,000 บาท คดิ เปน เปอรเ ซน็ ต จะไดกําไร 32 % ซง่ึ เปน เปอรเ ซน็ ตท ค่ี อ นขา งสงู จดั ทาํ เอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร