Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ครบเครื่องเรื่องกลองไทย

ครบเครื่องเรื่องกลองไทย

Description: ครบเครื่องเรื่องกลองไทย.

Search

Read the Text Version

ผศ.กฤษฎา ดา่ นประดิษฐ์ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม

ครบเคร่อื งเรื่องกลองไทย คาแถลง ครบเคร่ืองเร่ืองกลองไทย เปน็ หนงั สอื ท่ี ผศ.กฤษฎา ดา่ นประดษิ ฐ์ ไดเ้ ขยี นขึ้นเพอ่ื ขอตาแหนง่ ทางวชิ าการและผา่ นคณะกรรมการเมอ่ื ปี พ.ศ.2549 วัตถุประสงค์ ขา้ พเจ้าเห็นว่าเปน็ ประโยชนต์ ่อการดนตรีไทย จงึ ไดข้ ออนญุ าตภรรยาทา่ นนามา ลักษณะผู้อ่าน จดั หน้าและพมิ พเ์ ป็นท่รี ะลึกในปี พ.ศ.2560 ประสบการณ์ ทางบริหาร เปน็ หนงั สอื อ่านประกอบการเรยี นดนตรไี ทย ให้ความรเู้ กี่ยวกับวิธกี ารเรียน การศึกษา กลองตา่ งๆ ในวงดนตรไี ทย รา้ นทีพ่ ิมพ์ มคี วามรูค้ วามสนใจ สามารถตกี ลองตา่ งๆ ในวงดนตรีไทยมาบา้ ง แหล่งข้อมลู อ้างองิ รองอธิการบดี มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม คณบดคี ณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม กศ.บ.(ดุรยิ างคศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ศศ.ม.(ดนตร)ี วิทยาลยั ดุริยางคศลิ ป์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล นพรตั นก์ ๊อปป้ี ต.ทา่ ขอนยาง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม 44150 ผศ.ดร.ปราโมทย์ ดา่ นประดิษฐ์ วิทยาลัยดุริยางคศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม https://www.facebook.com/Pramote.Dan ~2~

คานา ตาราครบเคร่ืองเร่ืองกลองไทย ไดเ้ รียบเรยี งขน้ึ ดว้ ยความร้คู วามเข้าใจ ตลอดจน ประสบการณ์จากการฟังครูผู้ใหญ่ทีไ่ ด้กรณุ าให้คาแนะนา และการทดลองสอนในระดับอุดมศกึ ษา การเรียนการสอนท่ผี ่านมาเน้นการปฏิบตั ิมากกวา่ ความรู้ด้านทฤษฎี ดว้ ยเกรงว่าผูเ้ รียนจะรแู้ ต่เพยี ง ในตาราไมส่ ามารถตีกลองได้ ดังนน้ั การเรยี บเรียงตาราความรเู้ กีย่ วกับกลอง ทน่ี ิยมบรรเลงใน วงดนตรีไทยและกลองอื่น ๆ ซง่ึ เป็นองค์ความรู้ทีเ่ ปน็ ภูมปิ ัญญาของโบราณาจารยน์ ี้ มจี ุดประสงค์เพื่อ เพม่ิ พนู ความรคู้ วามเข้าใจ ตอ่ ยอดจากการเรียนปฏบิ ัตสิ าหรับ “คนเคร่ืองหนัง” และผสู้ นใจตอ่ ไป เน้อื หาของตารา ผู้เขียนไดแ้ บ่งเนอ้ื หาไว้ 8 บท โดยบทแรก อธิบายภาพรวมของกลอง บทที่ 2 ถงึ 8 อธิบายถงึ กลองแต่ละชนดิ ได้แก่ ตะโพนไทย กลองทัด กลองสองหนา้ กลองแขก โทน รามะนา ตะโพนมอญ และเปิงมางคอก สว่ นบทสดุ ท้าย อธิบายเร่อื งกลองตา่ ง ๆ ท่คี วรศึกษาแมจ้ ะ พบเหน็ ได้น้อยครั้ง มที ง้ั กลองในพระราชพิธี และกลองของทอ้ งถ่นิ ที่โดดเดน่ เนื้อหาในแต่ละบท กล่าวถึงความเป็นมา บทบาทหน้าท่ีของกลอง รปู ร่างลักษณะ การดูแลรักษา ตลอดจนพน้ื ฐาน การ บรรเลง พรอ้ มด้วยโน้ตเพลงท่ีสามารถนาไปฝึกปฏบิ ัตไิ ดจ้ ริง ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งวา่ การปรับปรุงตารา “ครบเครื่องเรื่องกลองไทย” ในครั้งนี้ จะเกิด ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนวิชา หน้าทับดนตรีไทย เครื่องดนตรีและการประสมวง การซ่อมสร้าง เครื่องดนตรีไทย และกลุ่มวิชาปฏิบัติหน้าทับต่าง ๆ ท้ัง ตะโพน กลองทัด กลองสองหน้าและ กลอง ตา่ ง ๆ ในดนตรไี ทย หากมีข้อเสนอแนะประการใดท่ีชว่ ยให้ตาราเล่มนี้สมบูรณย์ ิ่งขึ้น ผู้เขยี นยนิ ดีน้อมรับ และขอขอบพระคณุ ในความอนเุ คราะห์มา ณ โอกาสน้ี กฤษฎา ด่านประดิษฐ์ 26 มกราคม 2549 ~3~

อาลัยรกั : อาจารย์กฤษฎา ดา่ นประดษิ ฐ์ หลบั เถดิ หนาหลบั ตาใหส้ นทิ หลับชีวิตความคิดความใฝ่ฝัน หลับทกุ สงิ่ ทุกอยา่ งหนทางตัน หลับนิรันดรว์ นั นที้ แี่ ดนไกล เหลอื เพยี งเสยี งซอสายอันพรายพล้ิว เหลือเพียงเสียงขลุย่ หววิ ประสานใส เหลอื เพียงเสยี งระนาดบาดหวั ใจ เหลือแตร่ อยอาลัยในชะตา ตง้ั ใจสอนลกู ศิษย์อทุ ศิ ให้ ศษิ ย์นอ้ ยใหญ่ไดด้ มี ีคณุ คา่ เป็นครดู มี ีคณุ ธรรมนาวชิ า ถึงดุด่าวา่ กล่าวหวงั เจ้าดี โอเ้ จา้ ดอกเฟื่องฟ้ามาลาต้น สุดหมองหมน่ ยากฝืนคนื ถิ่นที่ ทงิ้ รอ่ งรอยในนา้ ใจและไมตรี ตอ่ แต่นีม้ ีแตแ่ ลชะแง้คอย อาจารย์เก้ือกูล ไทยนอ้ ย ~4~

สารบญั หน้า คานา ~3~ สารบญั สารบญั ภาพ ~5~ บทท่ี 1 บทนา ~ 9~ ความหมายและความเปน็ มาของกลอง ความเชื่อเกย่ี วกบั กลองของไทย 1 องคป์ ระกอบของกลอง 1 บทบาทของกลองในสงั คมไทย 7 บทบาทหน้าที่ของกลองในวงดนตรีไทย 11 สรปุ 13 บทที่ 2 ตะโพนไทย 18 ความเปน็ มาของตะโพนไทย 21 บทบาทหน้าที่ของตะโพนไทย 23 ลกั ษณะของตะโพนไทย 23 การดแู ลรกั ษาตะโพนไทย 28 พืน้ ฐานการบรรเลงเบ้ืองต้น 43 สรปุ 49 บทที่ 3 กลองทัด 50 ความเป็นมาของกลองทัด 57 บทบาทหน้าท่ีของกลองทดั 59 ลักษณะของกลองทัด 60 การดแู ลรกั ษากลองทัด 64 พืน้ ฐานการบรรเลงเบ้ืองตน้ 67 สรุป 76 77 ~5~ 84

บทท่ี 4 กลองสองหน้า หนา้ ความเป็นมาของกลองสองหน้า 87 บทบาทหนา้ ที่ของกลองสองหนา้ 88 ลักษณะของกลองสองหน้า 91 การดูแลรักษากลองสองหน้า 99 พน้ื ฐานการบรรเลงเบ้ืองตน้ 102 สรปุ 102 112 บทที่ 5 กลองแขก 113 ความเปน็ มาของกลองแขก 113 บทบาทหน้าที่ของกลองแขก 115 ลกั ษณะของกลองแขก 123 การดูแลรกั ษากลองแขก 128 พ้ืนฐานการบรรเลงเบื้องตน้ 129 สรปุ 138 141 บทที่ 6 โทนรามะนา 141 ความเป็นมาของโทนรามะนา 147 บทบาทหน้าที่ของโทนรามะนา 149 ลักษณะของโทนรามะนา 155 การดแู ลรักษาโทนรามะนา 156 พนื้ ฐานการบรรเลงเบื้องตน้ 168 สรุป 169 169 บทที่ 7 ตะโพนมอญและเปงิ มางคอก 174 ความเปน็ มาของตะโพนมอญและเปิงมางคอก 178 บทบาทหนา้ ท่ีของตะโพนมอญและเปิงมางคอก 186 ลักษณะของตะโพนมอญและเปงิ มางคอก 186 การดูแลรักษาตะโพนมอญและเปงิ มางคอก 198 พ้นื ฐานการบรรเลงเบื้องตน้ สรปุ ~6~

บทท่ี 8 กลองอืน่ ๆ ในดนตรีไทย หน้า กลองประเภทที่ใชใ้ นพิธกี รรม 199 กลองประเภททใ่ี ชบ้ รรเลงเพลงภาษาและเพลงพ้ืนบ้าน 199 สรุป 206 217 บรรณานุกรม 219 บทกลอน “อาลัย...กฤษฎา” เพ่ือใชใ้ นงานพระราชทานเพลงิ ศพ วนั ที่ 24 ก.พ. 2554 กลา่ วอาลา อาจารย์ ผผู้ า่ นภพ สง่ ตนเรยี น ดว้ ยระนาด กับงานวัด ด้วยเคารพ คณุ ท่าน นน้ั มากเหลอื เหน่ือยถนดั แตว่ ินัย ใครเลา่ เหมอื น เปน็ ท้ังครู อาจารย์ ผู้จนุ เจือ รบั ผิดชอบ งานใด ไม่แชเชือน ทั้งกอบเก้อื ครอบครวั ดว้ ยหวั ใจ ทงั้ มิตรเพื่อน รักใคร่ ห่วงใยกนั คอื อาจารย์ กฤษฎา ด่านประดิษฐ์ สอบบรรจุ เป็นอาจารย์ “วลิ ยั ครู” บรรดาศิษย์ ลว้ นเคารพ และรกั ใคร่ มอบความรู้ เพลงไทย ด้วยใจม่นั เมือ่ ส้นิ บญุ ส้ินกรรม จาลาไกล จนเหล่าศิษย์ วชิ ช์แข็ง แขง่ ประชนั โอ้นกึ ไป ใจสน่ั หวนั่ ประวิง ชะตาผัน จนเป็น คณบดี ลูก!.. ระลึก ตรกึ ความ ตามพ่อเลา่ จากงานวัด น้นั หนอ พ่อเคยเลน่ ยามพอ่ เยาว์ เคยยาก ลาบากยงิ่ เตบิ โตเป็น อาจารย์ จนวนั นี้ มี ยา่ เกยี ว ก๋งเลี้ยง เพยี งพึ่งพิง สูต่ าแหน่ง รองอธิ – การบดี พอ่ แอบอิง บารมี ปพี่ าทยไ์ ทย บารมี สั่งสม บม่ เพาะมา เรียนดนตรี กับทวดหอ้ ย คอ่ ยรแู้ มน่ ชวี ติ คน การกระทา กรรมลขิ ติ ระนาดแนน่ ตดี ัง กงั วานไหว ทางชวี ิต ทกุ ตอน สอนคุณค่า พอสง่ ร้อง ลงรบั กระชบั ไว เร่ืองเกิดแก่ เจ็บตาย วายชวี า ทุกเพลงไทย หลายทาง ไม่ลางเลือน ธรรมดา ทุกคน ไม่พน้ ตาย ~7~

อันอาจารย์ กฤษฎา จาลาโลก ระนาดเอก ร่อนไหว กรายกระหวดั โลกยงั โศก เศร้าใจ ไมเ่ ลือนหาย สะบัดชัด เชดิ ฉาย กผ็ ายผาง ไมเ้ สดาะ ล้อรัว ไปทั่วราง ถงึ ร้วู า่ อาจารย์ ไปสบาย แต่มิวาย หว่ งหา ยังอาวรณ์ เสียงกรอ กรา่ ง กรีดกรืน่ ทง้ั ผนื พลนั วนั น้ลี ูก อาลัย หวั ใจพ่อ เสียงซอด้วง หว้ งหวดี ดังอีดเอ้ือง จงึ จักขอ นาดนตรี ท่พี อ่ สอน ทานองเยือ้ ง ซออู้ อยู่ลดหลัน่ มาผกู ทา คาคัด สมั ผสั กลอน ส่งบดิ ร สดู่ ินแดน แสนคานงึ เสียงเอื้อนอ้ี สสี าย คลา้ ยคล้ายกนั ท้ังสองคัน ส่งรบั สลบั ไป ขอสง่ ครู สแู่ คว้น เหนือแผ่นฟ้า อยลู่ บิ หลา้ ธานี ไมม่ ถี งึ เสยี งขลุ่ยแว่ว แผ่วพล้ิว น้วิ พรายพรม ระบายลม ประสมเสยี ง สาเนยี งใส สง่ ดว้ ยจิต คิดใคร่ ใจคานงึ แวว่ ขลยุ่ ขาน หวานว่อง อย่ไู วไว บรรเลงถงึ อาจารย์ ผ่านดนตรี ฟงั จับใจ ไพเราะ เสนาะนาน ตะโพนตี ป๊ะโปะ๊ ติงโจะ๊ จ๊ะ ป่ีเปา่ เพราะ เข้าหู ฟงั รู้แน่ จับจังหวะ จะจดั ถนัดถน่ี ป่ีปรี่ดแปร่ แตรต้ ง้ั ด่งั ขับขาน จงั หวะแว่ว กึกไป ในเภรี แปรเสยี งป่ี ร่ีรา่ เปน็ คาจาร อสุนี ล่ันให้ กไ็ ม่ปาน ส่งวญิ ญาณ กฤษฎา ผู้ลาไกล เสยี งฆ้องใหญ่ หนึบหนับ กระโหนง่ หนอด เสยี งฆอ้ งโหมง่ โผล่งผอ่ ง ก้องดวงจติ หยอดลูกยอด ทอดทอ่ ง ทานองหวาน ฉ่ิงประชดิ ฉาบกั้น ลั่นกรับไล่ ฟงั แคลว่ คลอ่ ง ฆ้องกวาด กราดกงั วาน มโหรี ปี่พาทย์ และนาฏใน ถึงวิมาน เมอื งแมน แดนสากล พรงั่ พรอ้ มใจ บรรเลง เปน็ เพลงลา ระนาดท้มุ นมุ่ เน้น เวน้ จงั หวะ ลงระยะ ลูกรบั ไมส่ บั สน ลาแลว้ ครู ลาลับ หลับเถดิ หนอ ลาแลว้ พอ่ ลาก่อน ไม่ยอ้ นหา หลากลูกเลน่ ลูกไล่ ไต่ลกู บน ลาบรุ ุษ นามลือ ชอื่ “กฤษฎา” ตีไมจ่ น เจนจดั ด้วยหัดดี ลาโลกา สู่ช้ัน สวรรคเ์ ทอญ... ฆ้องเล็กรัว ท่วั วง คงประคบ นายก่อกฤษฎ์ิ ดา่ นประดิษฐ์ กดประกบ หลบเรง่ บรรเลงร่ี ผปู้ ระพันธ/์ บตุ รชาย สลับไล่ ไขวม้ ือ ฤๅก็ดี เสยี งสดุ ฝี –มอื ฆ้อง จะตรองทาง ~8~

สารบัญภาพ หน้า 4 ภาพที่ 5 1.1 ภาพจาหลักวงดนตรี จากสถูปบุโรพุทโธ 6 1.2 จติ รกรรมฝาผนัง กลองในวงดนตรขี องอินเดีย 7 1.3 กลองไดโกะของญี่ปุ่นในปัจจุบัน 17 1.4 ภาพเขียนสี ขบวนแห่กลองหรอื ฆ้องในพิธกี รรม 1.5 หอระฆังและหอกลาง ประจาวัด 24 2.1 ทหารยนื และนง่ั ตีกลองท่มี ลี ักษณะคล้ายตะโพน 26 จากภาพจาหลักที่กาแพงนครวัด 43 2.2 ภาพร่างตะโพนของลาลแู บร์ 46 2.3 ตะโพนไทย และหุ่นตะโพนไทย 47 2.4 ไสล้ ะมาน หนงั เรียดและรัดอก 49 2.5 หหู ิว้ ตะโพนไทย 52 2.6 เท้าตะโพนไทย 53 2.7 ท่าน่ังตตี ะโพนไทย 54 2.8 การวางนิว้ ตหี น้ามดั 62 2.9 การวางนิ้วตหี น้าร่ยุ 67 3.1 กลองปจู่ าหรือบชู า และลกู ตุ๊บ 69 3.2 การบรรเลงกลองทดั 70 3.3 หนงั หนา้ กลอง 71 3.4 หนังหน้ากลองเจาะใส่หมุดตรึงกลองทดั 73 3.5 หรู ะวิงกลองทดั 74 3.6 ขาหยง่ั กลองทดั 75 3.7 ไมต้ กี ลองทัด 79 3.8 หมอนรองกลองทัด 80 3.9 ทา่ ทางการตกี ลองทัด 3.10 ตาแหนง่ การลงไม้ตีกลองทดั ~9~

ภาพท่ี หนา้ 4.1 ทหารตีโทนและตีกลองสองหน้าในลกั ษณะคล้องคอในขบวนแห่ 87 จากภาพจาหลัก นครวดั 90 4.2 กลองสองหน้า กับ เปิงมาง 97 4.3 ทหารตกี ลองสองหน้าในขบวนพระบรมศพทศกัณฐ์ วดั พระศรีรตั นศาสดาราม 98 4.4 กลองสองหนา้ 100 4.5 หนงั เรียด 101 4.6 หหู ิว้ และรัดอก กลองสองหน้า 104 4.7 ท่านั่งบรรเลงกลองสองหน้า 114 5.1 วงกลองสี่ปี่หนึ่ง 124 5.2 กลองแขก 125 5.3 หุ่นกลองแขก 126 5.4 ขอบหนา้ กลอง 128 5.5 หนงั รัดอกกับหูระวงิ 130 5.6 ทา่ น่ังบรรเลงกลองแขก 131 5.7 การวางมอื บรรเลงกลองแขก 145 6.1 กลองรามะนา อาหรบั 146 6.2 จติ รกรรมฝาผนังรปู นางฟา้ ตีกลองรามะนา 147 6.3 กลองรามะนามโหรี กับ รามะนาลาตัด 150 6.4 โทนมโหรี 151 6.5 หนังแพะ หน้าโทนมโหรี 151 6.6 หนงั เรียด ท่ีทาจากเชือก 152 6.7 หว่ งคอ 153 6.8 รามะนามโหรี 154 6.9 หมุดตรงึ รามะนามโหรี 157 6.10 ท่านั่งพบั เพียบ ตีสองคน 158 6.11 ท่าน่งั ตีคนเดียว 159 6.12 การวางมือตีโทน 160 6.13 การวางมือตีรามะนา ~ 10 ~

ภาพท่ี หนา้ 7.1 วงปีพ่ าทย์มอญบนเวทยี กพื้น 173 7.2 ตะโพนมอญ 179 7.3 เส้นหนงั ไส้ละมาน 180 7.4 หูหว้ิ ตะโพนมอญ 181 7.5 เทา้ ตะโพนมอญ 182 7.6 เปงิ มางคอก 183 7.7 หูแขวนเปิงมางคอก 184 7.8 แผงคอกเปิงมางคอก 185 7.9 ทา่ น่งั บรรเลงตะโพนมอญ และเปงิ มางคอก 188 7.10 การวางมือตตี ะโพนมอญ 190 7.11 การวางมือตีเปงิ มางคอก 191 8.1 กลองมโหระทึก 200 8.2 จิตรกรรมฝาผนัง เคร่อื งดนตรีในขบวนแหพ่ ระบรมศพทศกัณฐ์ 201 8.3 กลองตะโพน 202 8.4 กลองชนะ 203 8.5 การไกวบัณเฑาะวใ์ นวงขบั ไม้ 205 8.6 บัณเฑาะว์ 205 8.7 กลองชาตรี 206 8.8 โทนชาตรี 207 8.9 กลองรามะนาลาตัด 208 8.10 กลองตะโล้ดโป๊ดจากพิพธิ ภัณฑด์ นตรพี นื้ บา้ น มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่ 209 8.11 กลองแอว์จากพพิ ธิ ภณั ฑ์ดนตรีพ้ืนบา้ น มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่ 210 8.12 กลองยาว 212 8.13 กลองมริกนั 214 8.14 กลองจีน และกลองต๊อก 215 8.15 กลองคลา้ ยกลองกนั ตรึม ภาพจาหลักทนี่ ครวัด 216 8.16 กลองกนั ตรมึ 216 ~ 11 ~