BLOCKCHAIN forGOVERNMENT SERVICES การใชเทคโนโลยบี ล็อกเชนสำหรับภาครัฐ เวอรชัน 2.0 (มกราคม พ.ศ. 2564) สำนกั งานพัฒนารัฐบาลดิจ�ทลั (องคการมหาชน) (สพร.) Digital Government Development Agency (Public Organization) (DGA)
บรรณาธิการบริหาร : ดร.ศักด์ิ เสกขุนทด บรรณาธกิ าร : นายวบิ ูลย์ ภัทรพิบูล นายพิสิษฐ์ ปยิ พสุนทรา คณะผ้จู ดั ทำ� : ดร.มณฑา ชยากรวิกรม นายเกียรตศิ กั ดิ์ วงศป์ ระเสริฐ นายสมมนสั เกตผุ ่อง นายชฎิล อินทระนก นายสถาพน พฒั นะคูหา ฝ่ายศิลป์ และครเี อทฟี : นายสวุ ินนั ท์ ฤกษ์สงา่ นายธามัน ศริ กิ ุล นางสาววริยา สรรคชา นายวริ ฬุ ห์ ดารากยั จดั ทำ�โดย : สำ� นกั งานพัฒนารฐั บาลดิจทิ ลั (องค์การมหาชน) พมิ พ์ครั้งท่ี 2 : พ.ศ. 2564 จำ� นวน : 300 เล่ม ส�ำนกั งานพัฒนารฐั บาลดิจทิ ัล (องคก์ ารมหาชน) (สพร.) Digital Government Development Agency (Public Organization) (DGA) อาคารบางกอกไทยทาวเวอร์ 108 ถนนรางน�้ำ แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400 โทรศพั ท์ : (+66) 0 2612 6000 โทรสาร : (+66) 0 2612 6011 , (+66) 0 2612 6012 Contact Center : (+66) 0 2612 6060 อีเมล : [email protected]
ค�ำน�ำ เทคโนโลยี Blockchain เปน็ เทคโนโลยที เ่ี ขา้ มาขบั เคลอื่ นการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมโลกในยุคดิจทิ ัล ซ่งึ ได้รับความสนใจและท�ำการศึกษากันอย่าง กวา้ งขวางทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ นอกจากเทคโนโลยี Blockchain จะเขา้ มา ปฏิวัติโลกธุรกิจ และแวดวงการเงินการธนาคารแล้ว ยังมีบทบาทในการยกระดับ การบริหารงานภาครฐั เพอ่ื เขา้ สกู่ ารเปน็ รฐั บาลดจิ ิทลั (Digital Government) รวมถงึ การเปลยี่ นวิถชี วี ิตของประชาชนไปสคู่ วามสะดวกสบายมากขึน้ เชน่ เดยี วกบั อทิ ธิพล ของโลกออนไลนใ์ นขณะนี้ ดงั นนั้ นกั วางแผน นกั กลยทุ ธ์ ตลอดจนผกู้ ำ� หนดนโยบาย ภาครัฐ จึงควรตระหนักถึงอิทธพิ ล และผลกระทบของเทคโนโลยี Blockchain ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ เพ่ือเตรยี มความพร้อมต่อโอกาสและความท้าทาย ในอนาคตที่จะท�ำให้ประเทศไทยมีความได้เปรียบ เมื่อเทคโนโลยี Blockchain ถกู น�ำมาใชง้ านอย่างเต็มรปู แบบ สำ� นกั งานพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั (องคก์ ารมหาชน) สพร. หรือ DGA มภี ารกจิ หลกั ท่ีส�ำคัญในการขับเคล่ือนรัฐบาลดิจิทัล โดยเฉพาะด้านการส่งเสรมิ และสนับสนุน การบูรณาการและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานของรัฐ การเปิดเผยข้อมูล ภาครัฐผ่านเทคโนโลยีดิจทิ ัล และเป็นศูนย์กลางการแลกเปล่ียนทะเบียนข้อมูล ดจิ ิทลั ภาครฐั เพอื่ อำ� นวยความสะดวกใหป้ ระชาชนและการดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงาน ภาครัฐ ดังน้ัน Blockchain จงึ เป็นเทคโนโลยีดิจทิ ัลท่ีส�ำคัญเหมาะสมในการ นำ� มาใชใ้ นงานบรกิ ารภาครฐั ในดา้ นการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ภาครฐั เนอ่ื งจากมคี ณุ ลกั ษณะ ทีม่ คี วามถกู ต้องเที่ยงตรงของข้อมูล (Data Integrity) ความโปร่งใสในการเข้าถงึ ขอ้ มลู (Data Transparency) และมีความสามารถในการท�ำงานไดอ้ ยา่ งต่อเนือ่ ง ของระบบ (Availability) สามารถมาใช้ในการจัดเก็บข้อมูลภาครัฐ เป็นการ เปดิ โอกาสให้ประชาชน มสี ทิ ธิเปน็ เจา้ ของขอ้ มลู ของตนเองอย่างแท้จริง รวมไปถึง โอกาสในการเขา้ ถึงข้อมูลภาครฐั ตา่ ง ๆ งา่ ยขนึ้ ซึ่ง สพร. ไดม้ ีการน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาพัฒนาเพอ่ื ให้บรกิ ารแก่ภาครัฐและประชาชนในอนาคตอันใกล้น้ี
และเพอ่ื สง่ เสริมใหท้ กุ ภาคสว่ น “รู้ รบั ปรบั ใช”้ เทคโนโลยใี หมไ่ ดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง สพร. จงึ ได้จัดท�ำหนังสือ การใช้งานเทคโนโลยี Blockchain ส�ำหรับภาครัฐ (Blockchain for Government Services) ฉบบั ภาษาไทยขึน้ เพอ่ื เผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ เก่ียวกับเทคโนโลยี Blockchain รวมถึงบทวิเคราะห์การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain โดยเน้ือหาในหนงั สอื แบ่งออกเปน็ 3 สว่ นด้วยกนั ดังต่อไปน้ี การใหค้ วามรู้พื้นฐานเกยี่ วกับหลักการทำ� งาน ของเทคโนโลยี Blockchain การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain เพอ่ื งานบรกิ ารภาครัฐ กรณศี ึกษาตา่ งประเทศ แนวคดิ และหลกั การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยี Blockchain สำ� หรับภาครัฐ ภายใต้บริบทของประเทศไทย คณะผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างย่ิงว่าหนังสือเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ ทั้งภาคเอกชน และประชาชนท่ีสนใจ รวมถึงหน่วยงานภาครัฐสามารถน�ำไป ประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพบรกิ ารใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพและทนั สมยั ถกู ใจประชาชน มากยง่ิ ข้ึน ส�ำหรับหนังสือฉบบั น้ี สพร. ได้จดั ท�ำเป็น e-Magazine แจกฟรี สามารถ ดาวนโ์ หลดไดท้ เ่ี ว็บไซต์ www.dga.or.th คณะผจู้ ดั ทำ�
สารบญั 02 13 คำ� น�ำ 18 อภธิ านศัพท์ 19 บทที่ 1 22 บทน�ำ 25 37 เทคโนโลยี Blockchain 45 หลกั การทำ� งานของเทคโนโลยี Blockchain 45 องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี Blockchain 45 ประเภทของ Blockchain 46 คณุ ลกั ษณะพน้ื ฐานทส่ี ำ� คญั ของเทคโนโลยี Blockchain 47 • ความถกู ตอ้ งเทยี่ งตรงของขอ้ มลู (Data Integrity) 48 • ความโปรง่ ใสในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู (Data Transparency) 51 • ความสามารถในการทำ� งานไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ งของระบบ (Availability) 51 เกณฑก์ ารพจิ ารณาเลอื กใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain 53 รปู แบบการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี Blockchain 58 • เงินดจิ ทิ ลั (Cryptocurrency) • บริการพสิ จู นท์ ราบ (Proof of Services) 60 • สญั ญาอจั ฉรยิ ะ (Smart Contract) 61 • ระบบ/บริการอตั โนมตั ิ (Decentralized Autonomous Systems/ 70 Services) บทที่ 2 การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี Blockchain เพื่องานบรกิ ารภาครฐั กรณีศึกษาต่างประเทศ การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี Blockchain เพอื่ งานบริการภาครฐั กรณศี กึ ษาตา่ งประเทศ ประโยชนข์ องการนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใชส้ ำ� หรบั งานบริการภาครฐั
ขอ้ จำ� กดั ของการนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใชเ้ พอ่ื งานบรกิ ารภาครฐั 74 รปู แบบการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี Blockchain เพอ่ื งานบริการภาครฐั 80 • การพสิ จู นต์ วั ตน (Identity Management) 82 • การบริหารจดั การการจดั เกบ็ ขอ้ มลู (Data Record Management) 86 • การตดิ ตามธรุ กรรม (Transaction Traceability) 93 ปจั จยั ความสำ� เรจ็ ในการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี Blockchain 105 เพอื่ งานบริการภาครฐั • การจดั ตงั้ คณะทำ� งานแหง่ ชาติ (The National Blockchain Council) 106 • การสรา้ งระบบนเิ วศของเทคโนโลยี Blockchain 111 (Blockchain Ecosystem) • การสรา้ งการกำ� กบั ดแู ลการใชง้ านเทคโนโลยี Blockchain 111 (Blockchain Governance) • การกำ� หนดมาตรฐานเกยี่ วกบั เทคโนโลยี Blockchain 113 • การพฒั นาบคุ ลากรทมี่ คี วามรคู้ วามสามารถดา้ นเทคโนโลยี Blockchain 117 บทที่ 3 121 แนวคิดและหลกั การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain 122 สำ� หรบั ภาครัฐ ภายใต้บรบิ ทของประเทศไทย 138 152 หลกั การและเหตผุ ลการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี Blockchain สำ� หรบั ภาครฐั ไทย 176 การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี Blockchain เพอื่ การบรู ณาการบริการ และแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ภาครฐั กรณศี กึ ษาการจดั ทำ� ระบบตน้ แบบ e-Referral โดยใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain เอกสารแนบทา้ ย 1
สารบัญภาพ รูปภาพที่ 2 รูปภาพที่ 4 การเชอื่ มโยงขอ้ มลู องค์ประกอบของเทคโนโลยี ของเทคโนโลยี Blockchain Blockchain รปู ภาพท่ี 1 รูปภาพท่ี 3 รูปภาพที่ 5 ระบบแบบ Centralised, หลกั การทำ� งาน โครงสรา้ งการเชอ่ื มโยง Decentralised ของเทคโนโลยี Block และ Distributed Blockchain 26 19 20 23 25 27 รปู ภาพที่ 6 37 รูปภาพท่ี 9 โครงสร้างภายใน Block Public Blockchain 30 ของ Bitcoin 39 รูปภาพท่ี 10 รูปภาพท่ี 7 Private Blockchain ตัวอย่างการแสดง Block 47 รปู ภาพท่ี 11 31 Information ของ Bitcoin กระบวนการตัดสนิ ใจกอ่ น รปู ภาพท่ี 8 การนำ� เทคโนโลยี Blockchain หลกั การ Hash ข้อมลู ชดุ ใหญ่ มาใช้งาน โดยใชร้ ปู แบบ Hash Tree
รูปภาพท่ี 13 รปู ภาพที่ 15 การจำ� แนกกลมุ่ Blockchain ผลการส�ำรวจความคาดหวัง Application ในการน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้ในภาครฐั รปู ภาพท่ี 12 รูปภาพที่ 14 รปู ภาพที่ 16 การประยุกต์ การประยกุ ต์ใช้ การจัดกลมุ่ การน�ำเทคโนโลยี ใชเ้ ทคโนโลยี เทคโนโลยี Blockchain Blockchain มาใชก้ ับ Blockchain สำ� หรบั งานบรกิ าร งานบริการภาครฐั ในภาคสว่ นต่าง ๆ ภาครฐั ของประเทศตา่ ง ๆ 82 49 50 62 63 BLOCKCHAIN 84 รูปภาพที่ 17 100 รปู ภาพท่ี 20 ระบบยนื ยันและพสิ ูจน์ตวั ตน ภาพขนั้ ตอนและกระบวนการ บนเทคโนโลยี Blockchain ของการขอออกหนังสอื คำ้� ประกัน 98 รปู ภาพที่ 18 101 อิเลก็ ทรอนกิ สผ์ ่านระบบบล็อกเชน ภาพขั้นตอนและกระบวนการ รปู ภาพที่ 21 ของการขอออกหนังสือค�้ำประกนั รูปแสดงโครงสรา้ งไดอะแกรม ของเน็ตเวิร์คบลอ็ กเชน 99 แบบกระดาษรปู แบบเดมิ รูปภาพท่ี 19 103 และเช่อื มต่อ ภาพการเปดิ ตวั บซี ีไอ รูปภาพท่ี 22 ณ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ภาพการเปดิ ตัวบริการหนงั สอื คำ้� ประกันอเิ ลก็ ทรอนิกสบ์ นระบบ e-GP ผ่านเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน
สารบัญภาพ (ต่อ) รูปภาพท่ี 25 รูปภาพท่ี 27 รูปภาพที่ 23 แนวโน้มเทคโนโลยที ีส่ �ำคญั การเช่อื มโยงบูรณาการ สำ� หรับการพัฒนา การให้บรกิ ารภาครัฐ ปจั จัยความสำ� เรจ็ ในการประยกุ ต์ รัฐบาลดิจิทลั โดยใชเ้ ทคโนโลยี ใช้เทคโนโลยี Blockchain Blockchain ส�ำหรบั งานบริการภาครฐั 142 รูปภาพที่ 24 รูปภาพที่ 26 วิสยั ทศั น์รัฐบาลดิจทิ ัล ระบบบูรณาการ การให้บรกิ ารภาครัฐ โดยใช้ Enterprise Service Bus (ESB) 105 123 128 139 144 รูปภาพท่ี 28 156 รูปภาพท่ี 31 องค์ประกอบทางเทคนคิ ภาพรวมสถาปตั ยกรรม การบรู ณาการงานบรกิ ารภาครัฐ ระบบต้นแบบ e-Referral 147 บนเทคโนโลยี Blockchain 159 บนเทคโนโลยี Blockchain รูปภาพที่ 29 รปู ภาพที่ 32 แสดงระบบนิเวศ รายละเอยี ดการออกแบบระบบตน้ แบบ 150 การให้บรกิ ารหนว่ ยงานภาครัฐ 163 e-Referral บนเทคโนโลยี Blockchain รูปภาพที่ 30 รูปภาพท่ี 33 แผนภาพจำ� ลองข้นั ตอน แผนภาพแสดงข้นั ตอน การขออนุญาตเขา้ มา การส่งต่อผ้ปู ว่ ยระหวา่ งโรงพยาบาล ในราชอาณาจกั รชวั่ คราว เพอ่ื เขา้ รบั การรกั ษาพยาบาล
รูปภาพที่ 35 รูปภาพท่ี 37 โรงพยาบาลตน้ ทาง โรงพยาบาลปลายทาง สามารถสง่ ตอ่ ผูป้ ่วย สามารถเขา้ ดขู ้อมลู ผูป้ ่วย ผา่ นหนา้ จอระบบ e-Referral ในระบบ 13 แฟม้ ได้ รูปภาพที่ 34 รูปภาพที่ 36 รูปภาพที่ 38 ตัวอยา่ งการเขยี โปรแกรม โรงพยาบาลปลายทาง โรงพยาบาลปลายทาง ของการบรหิ ารสทิ ธิ สามารถส่งค�ำขอสง่ ต่อผูป้ ว่ ย สามารถตอบรบั ปฏเิ สธ ในการเข้าถงึ และ ผ่านหนา้ จอระบบ e-Referral หรือขอเลื่อนเวลาการส่งตอ่ ใช้งานข้อมูลผูป้ ว่ ย ผ้ปู ว่ ยได้ โดยใช้ Smart Contract 165 166 167 168 167 for GOVERNMENT SERVICES 168 รปู ภาพที่ 39 169 รูปภาพที่ 41 ตัวอย่าง Log การสง่ ตอ่ ผูป้ ่วย หนา้ จอส�ำหรับ การ Performance Monitoring , 169 ของระบบ e-Referral Report และ Throughput รปู ภาพท่ี 40 ใน Component ต่าง ๆ หน้าจอ Dashboard ของระบบ Hyperledger แสดงรายงานต่าง ๆ Blockchain ของระบบ e-Referral
สารบัญตาราง BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES ตารางที่ 1 ตารางท่ี 2 ตารางที่ 3 ตารางเปรยี บเทียบ ตารางแสดงการประยกุ ต์ ตารางสรุป คุณสมบัตขิ องเทคโนโลยี ใช้เทคโนโลยี Blockchain ความเป็นไปได้ Blockchain สำ� หรบั งานบรกิ าร ในการประยุกต์ใช้ ในแต่ละประเภท ภาครฐั ในตา่ งประเทศ เทคโนโลยี Blockchain สำ� หรับงานบรกิ าร 41 81 ภาครฐั ของประเทศไทย 130
Blockchain อภิธานศพั ท์ Block เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูลแบบ Shared Database หรือ Nonce ทร่ี จู้ กั กนั ในช่อื “Distributed Ledger Technology (DLT)” Previous Hash โดยเปน็ รปู แบบการบนั ทกึ ขอ้ มลู ทร่ี บั ประกนั ความปลอดภยั วา่ Current Hash ขอ้ มลู ที่ถูกบนั ทกึ ไปก่อนหนา้ น้ันไมส่ ามารถท่ีจะเปลี่ยนแปลง หรอื แก้ไข ซ่งึ ทุกผู้ใช้งานจะได้เห็นข้อมูลชุดเดียวกันทั้งหมด โดยใช้หลักการ Cryptography และความสามารถของ Distributed Computing เพอ่ื สรา้ งกลไกความนา่ เช่อื ถอื ชุดบรรจุข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนของข้อมูล ตา่ ง ๆ ทตี่ อ้ งการบรรจลุ งใน Block เรียกวา่ Block Data เชน่ ขอ้ มลู การทำ� ธรุ กรรมตา่ ง ๆ และสว่ นของ Block Header ทใี่ ชเ้ กบ็ ขอ้ มลู ประจำ� Block นนั้ ๆ ไดแ้ ก่ หมายเลข Block, คา่ Nounce, คา่ Previous Hash และคา่ Current Hash เปน็ ตน้ คา่ ทถี่ กู สมุ่ ขนึ้ มา เพอ่ื ใชใ้ นการคน้ หาคา่ Hash ของ Block ซ่งึ จะตอ้ งเปน็ ไปตามกฎของระบบทไ่ี ดก้ ำ� หนดไว้ โดยคา่ Hash ที่ได้นั้นจะต้องมีค่าต�่ำกว่าค่า Target หรืออีกชอ่ื หนึ่ง คือ ค่า Difficulty น่ันเอง ซ่ึงส่วนใหญ่มักใช้ในการออกแบบ โครงสรา้ ง Block ของ Bitcoin คา่ Current Hash ของ Block กอ่ นหนา้ ซึง่ เปรียบไดก้ บั คา่ Digital Signature ของ Block กอ่ นหนา้ โดยจะถกู จดั เกบ็ อยใู่ นโครงสรา้ งของ Block ถดั ไปเสมอ และหากมกี ารแกไ้ ข ขอ้ มลู ใน Block กอ่ นหนา้ จะทำ� ใหค้ า่ Hash ของ Block ไมเ่ ทา่ กนั ทง้ั นใี้ นการออกแบบโครงสรา้ ง Block แตล่ ะแพลตฟอรม์ อาจ มกี ารใชช้ ื่อเรียกทแ่ี ตกตา่ งกนั ออกไป คา่ Hash ของขอ้ มลู ทงั้ หมดใน Block นนั้ ๆ รวมถงึ คา่ Previous Hash ของ Block ก่อนหน้าน้ันด้วย ท้ังนี้ในการออกแบบ โครงสร้าง Block แต่ละแพลตฟอร์มอาจมีการใช้ชือ่ เรยี ก ทแี่ ตกตา่ งกนั ออกไป บทน�ำ 13
Hash Value คา่ ผลลพั ธท์ ไ่ี ดจ้ ากกระบวนการทำ� Hash Function โดยการทำ� Hash Function คอื การนำ� ขอ้ มลู ตน้ ฉบบั ทต่ี อ้ งการแปลงขอ้ มลู มาผา่ นกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ซึง่ เปน็ ฟงั กช์ นั ทางเดยี ว ในการแปลงขอ้ มลู ใหอ้ ยใู่ นรปู แบบทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะของขอ้ มลู และมขี นาดความยาวทค่ี งทเ่ี สมอโดยขอ้ มลู ตน้ ฉบบั ทผ่ี า่ นการทำ� Hash Function แลว้ จะไมส่ ามารถดำ� เนนิ การยอ้ นกลบั เพอ่ื ใหไ้ ด้ ซง่ึ ขอ้ มลู เดมิ Consensus การกำ� หนดขอ้ ตกลงและความเหน็ ชอบรว่ มกนั ระหวา่ งสมาชกิ ในเครอื ขา่ ย Blockchain โดยสมาชกิ ตอ้ งยอมรบั กฎระเบยี บ ร่วมกัน ด้วยกลไกในการควบคุมความถูกต้องของข้อมูลใน ทกุ Node ผา่ นอลั กอริทมึ ตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหข้ อ้ มลู มคี วามถกู ตอ้ ง เทย่ี งตรงและเปน็ ขอ้ มลู ชดุ เดยี วกนั รวมทง้ั ขอ้ มลู มกี ารจดั เกบ็ ท่ีสอดคล้องและมีล�ำดับการจัดเก็บตรงกัน ทั้งน้ี กระบวน Consensus มอี ยูด่ ว้ ยกันหลายวิธี โดยการเลือกใชว้ ธิ ีใดนนั้ ขนึ้ อยกู่ บั ความเหมาะสมของ Blockchain ในแตล่ ะประเภท Proof-of-Work เปน็ กระบวนการ Consensus วิธหี นง่ึ โดยใชก้ ารแกป้ ญั หา ทางคณิตศาสตร์ซง่ึ มีความซับซ้อนและต้องใช้เวลาในการ แกป้ ญั หานน้ั ๆ จาก Nodes ตา่ ง ๆ ทอ่ี ยใู่ นเครอื ขา่ ยหรอื เรยี กวา่ “Miner” เพ่ือยืนยันความน่าเชอ่ื ถือของข้อมูลท่ีจะถูกบันทึก เขา้ มาในเครือขา่ ย โดย Miner จะไดร้ บั คา่ ตอบแทนจากการทำ� Proof-of-Work และดว้ ยวิธีการดงั กลา่ วทำ� ใหก้ ารแกไ้ ขขอ้ มลู ทถ่ี กู บนั ทกึ ลงในระบบ Blockchain แลว้ นนั้ ทำ� ไดย้ ากโดยทไี่ ม่ แกไ้ ขขอ้ มลู ใน Block ถดั ๆ ไป ซง่ึ จะตอ้ งทำ� Proof-of-Work ในทุกBlock ซงึ่ ค่อนข้างยุ่งยากและใช้เวลาในการค�ำนวณ พอสมควร อกี ทงั้ ยงั จะตอ้ งทำ� การแกไ้ ขทกุ Block ในเวลาเดยี วกนั ซ่ึงการจะแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ วในระยะเวลาทจี่ ำ� กดั จึงเปน็ เร่ืองท่ี เป็นไปได้ยากมากด้วยความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในปจั จบุ นั ดงั นน้ั เปา้ หมายการทำ� Proof-of-Work ในเทคโนโลยี Blockchain จงึ เป็นการป้องกันการโจมตีระบบด้วยการเพิ่ม ตน้ ทนุ ทางเศรษฐศาสตรใ์ หก้ บั ผโู้ จมตี เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความไมค่ มุ้ คา่ ทจ่ี ะทำ� การโจมตี 14 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
Proof-of-Stake เป็นกระบวนการ Consensus วิธหี นึ่ง โดยใช้หลักการ วาง “สนิ ทรพั ย”์ ของผตู้ รวจสอบ (Validator) ในการยนื ยนั ธรุ กรรม ผู้ตรวจสอบท่ีท�ำการวางสินทรัพย์จ�ำนวนมากจึงมีโอกาสสูง ทจ่ี ะไดร้ บั สทิ ธใิ์ นการเขยี นขอ้ มลู ธรุ กรรมบนBlockถดั ไปโดยผทู้ ี่ ท�ำการเขยี นข้อมูลบน Block ถัดไปจะได้รับค่าธรรมเนียม การดำ� เนนิ งานเปน็ รางวลั ตอบแทน Proof-of-Authority เปน็ กระบวนการ Consensus วิธหี นงึ่ โดยทำ� ขอ้ ตกลงรว่ มกนั ในการก�ำหนดสิทธผิ์ ู้ใช้งานหรอื องค์กรที่เชอ่ื ถือได้ ส�ำหรับ การท�ำธรุ กรรมด้วยวธิ กี ารระบชุ ื่อผใู้ ช้อย่างเปน็ ทางการให้กบั ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละ Node บนเครือข่าย Blockchain ในการทำ� ธรุ กรรมจะไดร้ บั การตรวจสอบสทิ ธิ์จากบญั ชีทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั ิ หรือเรียกวา่ ผตู้ รวจสอบ (Validator) ซ่งึ ทำ� หนา้ ทใ่ี นการรกั ษา ความปลอดภยั โดยใชร้ ปู แบบการหมนุ เวยี นสทิ ธิเพอื่ กระจาย ความรบั ผดิ ชอบ และเปน็ การสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งหนว่ ยงาน อยา่ งเปน็ ธรรม Practical Byzantine เปน็ กระบวนการ Consensus วิธหี นงึ่ โดยใชห้ ลกั การเสยี งขา้ งมาก Fault Tolerance ซง่ึ ตอ้ งมจี ำ� นวนผตู้ รวจสอบ (Validator) ทงั้ สนิ้ จำ� นวน 3f+1 (PBFT) Node เพอ่ื รบั ประกนั ความถกู ตอ้ งของระบบ โดย f คอื จำ� นวน ผตู้ รวจสอบทไ่ี มส่ ามารถทำ� งานไดใ้ นขณะนน้ั Public Blockchain/ Blockchain วงเปิดท่ีอนุญาตให้ทุกคนสามารถเข้าใช้งาน Permissionless ไมว่ า่ จะเปน็ การอา่ น หรอื การทำ� ธรุ กรรมตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งอสิ ระ Blockchain โดยไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งขออนญุ าต ตวั อยา่ งของระบบ Blockchain แบบเปดิ สาธารณะ เชน่ Bitcoin, Ethereum Private Blockchain/ Blockchain วงปิดท่ีเข้าใช้งานได้เฉพาะผู้ที่ได้รับอนุญาต Permission เทา่ นน้ั ซ่งึ สว่ นใหญเ่ ปน็ การสรา้ งขึ้นเพอ่ื ใชง้ านภายในองคก์ ร ดงั นนั้ ขอ้ มลู การทำ� ธรุ กรรมตา่ ง ๆ จะถกู จำ� กดั อยเู่ ฉพาะภายใน Blockchain เครือข่าย ซ่ึงประกอบไปด้วยสมาชิกที่ได้รับอนุญาตเทา่ นนั้ ตวั อยา่ งของระบบ Blockchain แบบปดิ เชน่ Hyperledger, Corda, Tendermint บทนำ� 15
Consortium Blockchain ทเี่ ปดิ ใหใ้ ชง้ านไดเ้ ฉพาะกลมุ่ เทา่ นนั้ ซง่ึ สว่ นมาก Blockchain จะเป็นการรวมตัวกันขององค์กรที่มีลักษณะธุรกิจเหมือนกัน และต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน ยกตัวอย่างเช่น เครือขา่ ยระหวา่ งธนาคาร ทใี่ ชใ้ นการแลกเปลยี่ นขอ้ มลู การทำ� ธุรกรรม หรอื แลกเปลี่ยนสินทรัพย์ภายในกลุ่มของธนาคาร เชน่ Japanese Bank และ R3CEV Merkle Root คา่ Hash ทอี่ ยบู่ นสดุ ของ Hash Tree โดยคา่ ดงั กลา่ วจะถกู แสดง ใน Block Information ซึง่ Hash Tree จะใชก้ บั การออกแบบ Block ทมี่ กี ารรวบเอา Transaction ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในเวลาไลเ่ ลยี่ กนั รวมเข้าไว้ใน Block เดียวกัน โดยท�ำการ Hash รายการ Transaction ทง้ั หมดใน Block ซ่ึงเปน็ วิธีการ Hash ขอ้ มลู ชดุ ใหญ่ โดยใชร้ ปู แบบ Hash Tree ซ่งึ จะ Hash Transactions ทง้ั หมดใน Block ใหก้ ลายเปน็ Hash Value ขนาด 32 ไบต์ Ethereum เปน็ Platform ของ Blockchain แบบเปดิ (Public Blockchain) โดย Ethereum มคี วามแตกตา่ งจาก Bitcoin เนอื่ งจาก Ethereum ถูกออกแบบมาเพ่ือให้สามารถปรับตัวได้และมีความยืดหยุ่น อกี ทงั้ ยงั เปน็ Open Source โดยความสามารถของ Ethereum ถอื วา่ ทดั เทยี มกบั Bitcoin แตส่ ง่ิ ทเ่ี พมิ่ ขึน้ มา คอื ฟเี จอรท์ เ่ี รียก วา่ Smart Contract ทอ่ี นญุ าตใหผ้ ใู้ ช้ หรือนกั พฒั นาโปรแกรม สามารถเขียนโปรแกรมลงไปในขอ้ มลู ของสกลุ เงิน Ether ได้ เพ่ือให้ท�ำงานอัตโนมัติเม่ือเงือ่ นไขเป็นไปตามท่ีก�ำหนด ในสญั ญาดงั นน้ั จงึ ทำ� ใหส้ ามารถสรา้ งApplicationตา่ งๆข้นึ มา บนเครือข่าย Ethereum อีกชั้นหนึ่งได้ ท�ำให้เกิดรูปแบบ ทห่ี ลากหลายในการใชง้ านซึ่งแตกตา่ งจาก Bitcoin ทเี่ นน้ การ ทำ� ธรุ กรรมเพยี งอยา่ งเดยี ว Cryptocurrency สกลุ เงนิ ดจิ ทิ ลั ซง่ึ มมี ลู คา่ เหมอื นกบั ธนบตั รในสกลุ เงินประเทศ ต่าง ๆ และถกู ใชเ้ ป็นส่ือกลางในการแลกเปลยี่ นแบบดจิ ทิ ลั โดยการแลกเปลย่ี นรปู แบบดจิ ทิ ลั ไดเ้ ร่ิมขน้ึ เมอ่ื ปี ค.ศ. 2009 ซงึ่ Blockchain Application ในกลมุ่ เงินดจิ ทิ ลั ไดถ้ กู พฒั นา ขน้ึ เพ่ือใช้ในธุรกิจการให้บรกิ ารทางการเงินทั้งการโอนและ การจา่ ยเงนิ ยกตวั อยา่ งเชน่ Bitcoin และ Ripple 16 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
Ledger บัญชีประวัติการท�ำธุรกรรมซง่ึ จะถูกบันทึกและท�ำส�ำเนา Oracle แจกจา่ ยใหก้ บั ทกุ Node ทอี่ ยใู่ นเครอื ขา่ ย Blockchain Smart Contract แหลง่ ขอ้ มลู ทเี่ ชอื่ ถอื ไดจ้ ากภายนอกระบบBlockchain(Trusted3rd Node Party Source) ซง่ึ Smart Contract จะนำ� มาอา้ งองิ เพอื่ บงั คบั ใช้ สัญญาตามที่เขียนโปรแกรมไว้ เช่น แหล่งข้อมูลระดับน้�ำ ของแตล่ ะพนื้ ทเี่ พอ่ื ใหก้ รมธรรมป์ ระกนั อทุ กภยั ทเ่ี ขยี นดว้ ย Smart Contract ใชส้ ำ� หรบั อา้ งองิ การเคลมประกนั แบบอตั โนมตั ิ สญั ญาอจั ฉรยิ ะโดยจะเกบ็ เงอ่ื นไขหรือขอ้ ตกลงของสญั ญาตา่ ง ๆ ไวใ้ นรปู แบบ Code คอมพวิ เตอร์ ซงึ่ จะถกู เกบ็ ไวใ้ นเครอื ขา่ ย Blockchain อุปกรณ์ในเครอื ข่าย Blockchain เปรยี บได้กับเครอ่ื ง คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ หรืออื่นๆ ท่ีสามารถเชอ่ื มต่อ อนิ เทอรเ์ นต็ และประมวลผลได้ ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ โครงสรา้ งพน้ื ฐาน ที่ส�ำคัญในการกระจายและเช่ือมโยงกันในเครอื ข่ายเพื่อให้ ระบบสามารถทำ� งานและประมวลผลได้ ทงั้ นปี้ ระเภทของ Node ในเครอื ขา่ ย Blockchain สามารถจำ� แนกไดเ้ ปน็ 1. Node ทท่ี ำ� หนา้ ทใ่ี นการจดั เกบ็ สำ� เนาขอ้ มลู เทา่ นนั้ ประกอบดว้ ย Full Node และ Light Node 2. Node ทที่ ำ� หนา้ ทตี่ รวจสอบความถกู ตอ้ งเทา่ นนั้ หรอื ทร่ี จู้ กั กนั ในชอ่ื Consensus Node บทนำ� 17
01 บทนำ�
เทคโนโลยี Blockchain Blockchain คือเทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูลแบบ Shared Database หรอื ท่ีรู้จักกันในชอ่ื “Distributed Ledger Technology (DLT)” โดยเป็นรูปแบบ การบันทึกข้อมูลที่รับประกันความปลอดภัยว่าข้อมูลท่ีถูกบันทึกไปก่อนหน้านั้น ไมส่ ามารถทจี่ ะเปลยี่ นแปลง หรือแกไ้ ขได้ ซ่ึงทกุ ผใู้ ชง้ านจะไดเ้ หน็ ขอ้ มลู ชดุ เดยี วกนั ท้ังหมด โดยใช้หลักการ Cryptography และความสามารถของ Distributed Computing เพ่ือสรา้ งกลไกความน่าเชอื่ ถือ (Yermack, 2017) จุดเริ่มต้นของเทคโนโลยี Blockchain เกิดข้นึ คร้ังแรกในปี 2008 โดยการ น�ำเสนอของ “Satoshi Nakamoto” จากเอกสาร Bitcoin: A Peer-to-Peer Electronic Cash System เป็นการนำ� เสนอแนวคดิ เกย่ี วกบั การสร้าง Platform ทสี่ ามารถสรา้ งความปลอดภยั ในการแลกเปลยี่ นเงนิ สกลุ ดจิ ิทลั ทม่ี ชี ่ือวา่ “Bitcoin” โดยใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับการท�ำ Cryptography และ Distributed Computing ดงั แสดงในรูปภาพที่ 1 Centralised Decentralised Distributed รูปภาพท่ี 1: ระบบแบบ Centralised, Decentralised และ Distributed ทม่ี า: ปรบั ปรงุ จาก (Baran, 1964) บทนำ� 19
ซึ่งไมจ่ �ำเป็นต้องมีคนกลางเข้ามาเก่ียวขอ้ ง เช่น ธนาคาร หรือหนว่ ยงานอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับกระบวนการจ่ายเงิน โดยได้รับความสนใจอย่างแพร่หลาย รวมท้ัง ไดร้ บั การยอมรบั จากผเู้ ชย่ี วชาญทว่ั โลกวา่ เปน็ เทคโนโลยที ม่ี ศี กั ยภาพ และสามารถ นำ� มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นภาคธรุ กจิ อนื่ ๆ ไดไ้ มจ่ ำ� เพาะแคภ่ าคธรุ กจิ การเงนิ และการธนาคาร เทา่ นน้ั แตย่ งั รวมถงึ ภาครฐั กไ็ ดม้ กี ารตน่ื ตวั และศกึ ษาเกย่ี วกบั เทคโนโลยี Blockchain กนั อยา่ งแพร่หลายเช่นกนั การทำ� งานของเทคโนโลยี Blockchain อาศยั การจดั เกบ็ ขอ้ มลู แบบกระจายศนู ย์ (Distributed Ledger Technology) โดยทุกข้อมูลจะมีการเช่ือมโยงกันท้ังระบบ และเม่ือมีรายการธุรกรรมใหม่เกิดขน้ึ จะต้องมีการประกาศบอกทุกเครื่องในระบบ ใหร้ บั รู้ ดังแสดงในรูปภาพที่ 2 CENTRALISED LEDGER รูปภาพท่ี 2: การเชอ่ื มโยงขอ้ มูล ของเทDIคSTโนRIโBลUยTEี BDlLoEcDGkEcRhain RALISED LEDGER ทีม่ า: ปรับปรงุ จาก (Belinky, Rennick, & Veitch, 2015) DISTRIBUTED LEDGER 20 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
นอกจากนี้รายการธุรกรรมดังกล่าวจะต้องผ่านการตรวจสอบ (Consensus) จากท้ังเครอื ข่ายเสียก่อน จงึ จะสามารถบันทึกข้อมูลเข้า Block ได้ ดังน้ัน เทคโนโลยี Blockchain จงึ ไม่จ�ำเป็นต้องมีตัวกลางคอยท�ำหน้าท่ีในการจัดเก็บ รายการธุรกรรม แต่ข้อมลู ทงั้ หมดจะถกู จดั เก็บอยภู่ ายใต้โครงสรา้ งของเทคโนโลยี Blockchain และถกู กระจายไปยงั เครอื่ งของสมาชกิ ทกุ คนในเครอื ขา่ ย และถา้ มคี น พยายามสร้างรายการธุรกรรมปลอมขึน้ มา ข้อมูลก็จะขัดแย้งกับข้อมูลในเครอื่ ง ของสมาชิกอน่ื ๆ ในเครือขา่ ย เนอื่ งจากทกุ เคร่ืองจะตอ้ งมขี อ้ มลู เหมอื นกนั ทงั้ หมด ดังน้ันระบบจะไม่อนุญาตให้สร้างรายการดังกล่าว โดยจะมีแต่รายการที่ทุกคน ในเครือขา่ ยยอมรบั เทา่ นนั้ ทจี่ ะสามารถบนั ทกึ เขา้ สรู่ ะบบ Blockchain ได้ และขอ้ มลู ท่ีถูกบันทึกเข้าสู่ระบบ Blockchain ไปแล้วจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไข ย้อนหลังได้ จึงท�ำให้เทคโนโลยี Blockchain ได้รับการยอมรับว่าเป็นเทคโนโลยี การจดั เกบ็ ข้อมูลท่มี คี วามนา่ เชือ่ ถือสูง บทนำ� 21
หลักการทำ� งานของเทคโนโลยี Blockchain หลักการท�ำงานของเทคโนโลยี Blockchain คือ ฐานข้อมูลจะถูกแชร์ให้กับ ทกุ Node1 ทอ่ี ยใู่ นเครือขา่ ยและการทำ� งานของเทคโนโลยี Blockchain จะไมม่ เี คร่อื ง ใดเคร่อื งหนึ่งเป็นศูนย์กลางหรอื เครื่องแม่ข่าย ซึ่งการท�ำงานแบบกระจายศูนย์นี้ จะไมถ่ กู ควบคมุ โดยคนเพยี งคนเดยี ว แตท่ กุ Node จะไดร้ บั สำ� เนาฐานขอ้ มลู เกบ็ ไว้ และจะมีการอัปเดตฐานข้อมูลแบบอัตโนมัติเมื่อมีข้อมูลใหม่เกิดข้ึน ท้ังนี้ส�ำเนา ฐานข้อมูลของทุกคนในเครือข่ายจะต้องถูกต้อง และตรงกันกับของสมาชิกคนอ่ืน ในเครอื ขา่ ย อกี ทง้ั การบนั ทกึ ขอ้ มลู เขา้ สู่ Block ยงั อาศยั หลกั การทำ� Cryptography และการทำ� Consensus2 จากสมาชกิ ในเครอื ขา่ ยดว้ ยกนั กอ่ นทำ� การบรรจขุ อ้ มลู ลง 1 Node คือ อุปกรณ์ในเครอื ข่าย Blockchain เปรยี บได้กับเครอื่ งคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ หรืออ่นื ๆ ที่สามารถเช่อื มตอ่ อินเทอรเ์ นต็ และประมวลผลได้ ซึ่งถือว่าเป็นโครงสร้างพน้ื ฐาน ทสี่ ำ� คญั ในการกระจายและเชื่อมโยงกนั ในเครอื ขา่ ยเพอื่ ใหร้ ะบบสามารถทำ� งานและประมวลผลได้ ทง้ั นี้ประเภทของ Node ในเครือขา่ ย Blockchain สามารถจ�ำแนกไดเ้ ปน็ 1) Node ท่ีท�ำหน้าที่ในการจัดเก็บส�ำเนาข้อมูลเท่าน้ัน ประกอบด้วย Full Node และ Light Node 2) Node ทท่ี ำ� หนา้ ทต่ี รวจสอบความถกู ตอ้ งเทา่ นนั้ หรือทรี่ จู้ กั กนั ในช่ือ Consensus Node 2 Consensus คือ การก�ำหนดข้อตกลงและความเห็นชอบร่วมกันระหว่างสมาชิกในเครอื ข่าย Blockchain โดยสมาชกิ ตอ้ งยอมรบั กฎระเบยี บรว่ มกนั ดว้ ยกลไกในการควบคมุ ความถกู ตอ้ ง ของข้อมูลในทุก Node ผ่านอลั กอรทิ มึ ตา่ ง ๆ เพือ่ ใหข้ อ้ มูลมคี วามถกู ตอ้ งเทยี่ งตรงและเป็น ข้อมูลชุดเดียวกัน รวมท้ังข้อมูลมีการจัดเก็บท่ีสอดคล้องและมีล�ำดับการจัดเก็บตรงกัน ทั้งน้ี กระบวน Consensus มอี ยดู่ ว้ ยกนั หลายวิธี โดยการเลอื กใชว้ ิธใี ดนน้ั ข้ึนอยกู่ บั ความเหมาะสม ของ Blockchain ในแต่ละประเภท 22 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
Block และเพมิ่ เขา้ สรู่ ะบบ Blockchain เพ่ือเปน็ การป้องกัน และรบั ประกันความ ปลอดภัยของข้อมูล โดยแต่ละเครอื ข่าย Blockchain จะมีการก�ำหนดกฎเกณฑ์ ในการตรวจสอบหรอื ที่เรยี กว่า “Consensus Protocol” หรือ “Consensus Mechanism” ขน้ึ มาเพ่ือใช้ในเครือข่าย โดยหลักการท�ำงานพื้นฐานที่ส�ำคัญ ของเทคโนโลยี Blockchain อย่างนอ้ ยจะต้องประกอบไปดว้ ย 4 ข้ันตอนหลัก ๆ ดังแสดงในรปู ภาพท่ี 3 HOW A BLOCKCHAIN WORKS The traonnsliancetaiosnais“brelopcreks”ented CREATE A wmaonntesytotosBend START BROADCAST evTehrey bplaorctyk iins tbhreoandectwasotrk ThefrmomoneeAy tmo oBves END VALIDATION Thotsheeintrathnesancettiwonorisk vaaplpidrove ADD TO CHAIN wThheicbhlopcrokvrteihdceeonsracdnaoinnfdbtreealinabsdlaedceatdniodtnotsrtahnescphaareinn,t รปู ภาพท่ี 3: หลักการท�ำงานของเทคโนโลยี Blockchain ทม่ี า: ปรบั ปรุงจาก (Veedvil, 2017) บทนำ� 23
ขน้ั ตอนท่ี 1 ข้ันตอนที่ 2 START CREATE BROADCAST คือ การสร้าง Block คือ ท�ำการกระจาย Block ใหมน่ ้ีให้กบั ทุก Node ท่บี รรจคุ ำ� ส่งั ขอทำ� รายการ ในระบบ และบันทกึ รายการธรุ กรรมลง Ledger ธุรกรรม ให้กับทกุ Node เพ่ืออปั เดตวา่ มี Block ใหม่เกิดขึ้นมา ข้ันตอนท่ี 3 VALIDATION คือ Node อืน่ ๆ ในระบบทำ� การยืนยันและตรวจสอบข้อมลู ของ Block นนั้ ว่าถกู ตอ้ งตามเง่อื นไข Validation โดยกระบวนการท�ำ Consensus ถอื ว่าเปน็ ส่วนหน่งึ ของกระบวนการท�ำ Validation ข้นั ตอนท่ี 4 END ADD TO CHAIN คอื นำ� Block ดังกล่าวมาเรยี ง ต่อจาก Block กอ่ นหน้าน้ี อย่างไรก็ดี ในการออกแบบการ ท�ำงานของระบบ Blockchain ใน การทำ� งานจรงิ อาจจะมกี ารออกแบบ ขนั้ ตอนการทำ� งานทแี่ ตกตา่ งไปจากนไี้ ด้ ข้ึนอยกู่ บั การออกแบบของแตล่ ะผผู้ ลติ หรอื แต่ละ Platform แต่อย่างน้อย จะต้องมี 4 ข้ันตอนหลักน้ีซ่งึ ถือได้ ว่าเป็นหัวใจส�ำคัญของการท�ำงาน Blockchain น่นั เอง 24 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
องค์ประกอบของเทคโนโลยี Blockchain องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี Blockchain ประกอบดว้ ย 4 องคป์ ระกอบสำ� คญั คอื 1) Block 2) Chain 3) Consensus และ 4) Validation ดงั แสดงในรปู ภาพท่ี 4 รปู ภาพที่ 4: องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี Blockchain ทม่ี า: ปรบั ปรงุ จาก (Veedvil, 2017) การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ของเทคโนโลยี Blockchain จะถกู จดั เกบ็ ในรปู แบบของ Block โดยแตล่ ะBlockจะเชือ่ มโยงเขา้ หาBlockกอ่ นหนา้ ดว้ ยคา่ HashFunctionของBlock กอ่ นหน้าน้ีเสมอ และจะเรยี งรอ้ ยตอ่ กันเปน็ Chain ท�ำให้ยากต่อการปลอมแปลง แกไ้ ข และสามารถตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ไดท้ กุ ๆ Block ตลอดทง้ั Chain ซึ่งสามารถตรวจสอบยอ้ นกลับไปจนถึง Block เร่มิ ตน้ หรือ Genesis Block ได้ (Yaga, Mell, Roby, & Scarfone, 2018) ดังแสดงในรปู ภาพที่ 5 บทนำ� 25
รูปภาพท่ี 5: โครงสร้างการเชอื่ มโยง Block ทมี่ า: ปรบั ปรุงจาก (Yaga, Mell, Roby, & Scarfone, 2018b) ดงั นน้ั Block คอื ชุดบรรจุข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนของ Block Header เพอ่ื ใชบ้ อกใหค้ นอนื่ ทราบวา่ ภายในบรรจขุ อ้ มลู อะไรไว้ และสว่ นของ Block Data เพ่ือใช้ในการบรรจุข้อมูลต่าง ๆ ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลจ�ำนวนเงิน ข้อมูล การโอนเงิน ข้อมูลประวัติการรักษาพยาบาล หรอื ข้อมูลอ่ืน ๆ โดยโครงสร้าง ของแต่ละ Block จะประกอบไปดว้ ยขอ้ มูล 7 ส่วน ดงั แสดงในรปู ภาพท่ี 6 26 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
รูปภาพท่ี 6: โครงสร้างภายใน Block ของ Bitcoin ทมี่ า: ปรบั ปรงุ จาก (Nakamoto, 2008) 1 หมายเลข Block คอื ตวั เลขจำ� นวนเตม็ เรยี งกนั ตงั้ แต่ 1, 2, 3, 4, 5 ไปเรอ่ื ย ๆ โดยมคี วามหมายแสดงถึงล�ำดบั ก่อนหลงั คอื Block หมายเลข 1 เกดิ ขน้ึ กอ่ น Block หมายเลข 2 และ Block หมายเลข 1 อยู่ตดิ กบั หมายเลข 2 เปน็ ตน้ 2 Timestamp คือ เวลาท่ี Block นัน้ ๆ ถูกสร้างขึน้ มา 3 Nonce คือ คา่ ที่ใช้ในการค้นหาค่า Hash ของ Block ตามกฎของระบบ ท่ไี ด้กำ� หนดไว้ ซ่ึงกฎดงั กล่าวคือ Proof-of-Work หมายความวา่ หากเรา ต้องการจะสร้าง Block ข้นึ มาสัก Block หน่ึงในระบบ Blockchain เราจะต้องแสดงให้คนอ่ืน ๆ ท่ีอยู่ในระบบเห็นว่า เราได้ท�ำการแก้ปัญหา หรือท�ำงาน (Work) ตามกฎทกี่ ำ� หนดไวแ้ ล้ว บทน�ำ 27
4 Difficulty Target คอื คา่ ระดบั ความยากทจี่ ะถกู ใชใ้ นการคน้ หาคา่ Nonce โดยค่า Hash ทไี่ ด้น้ันจะตอ้ งมคี ่าต่�ำกว่าค่า Difficulty Target น่ันเอง 5 Previous Hash คอื คา่ Current Hash ของ Block กอ่ นหนา้ ซ่งึ เปรยี บไดก้ บั คา่ Digital Signature ของ Block กอ่ นหนา้ โดยจะถกู จดั เกบ็ อยใู่ นโครงสรา้ ง ของ Block ถดั ไปเสมอ และหากมกี ารแกไ้ ขขอ้ มลู ใน Block กอ่ นหนา้ จะทำ� ให้ คา่ Hash ของ Block ไมเ่ ทา่ กนั ทงั้ นใี้ นการออกแบบโครงสรา้ ง Block แตล่ ะแพลตฟอรม์ อาจมกี ารใชช้ อื่ เรียกทแ่ี ตกตา่ งกนั ออกไป 6 Data คือ ข้อมลู ทถี่ กู บนั ทกึ อยใู่ น Block ซง่ึ ข้อมูลน้ีจะเป็นอะไรก็ไดท้ ่ีเรา จะบันทึก เช่น ขอ้ มูล Transaction ต่าง ๆ เปน็ ต้น 7 Merkle Root คือ ค่า Hash ของ Transactions ทั้งหมดใน Block ซึ่งเปน็ วิธีการ Hash ขอ้ มลู ชดุ ใหญ่ โดยใชร้ ปู แบบ Hash Tree ซงึ่ จะ Hash Transactions ทง้ั หมดใน Block ใหก้ ลายเปน็ Hash Value3 ขนาด 32 ไบต์ 3 Hash Value คือ ค่าผลลัพธ์ท่ีได้จากกระบวนการท�ำ Hash Function โดยการท�ำ Hash Function คอื การนำ� ขอ้ มลู ตน้ ฉบบั ทต่ี อ้ งการแปลงขอ้ มลู มาผา่ นกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ซ่ึงเป็นฟังก์ชันทางเดียวในการแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบท่ีมีลักษณะเฉพาะของข้อมูลและ มขี นาดความยาวทคี่ งทเี่ สมอโดยขอ้ มลู ตน้ ฉบบั ทผ่ี า่ นการทำ� Hash Function แลว้ จะไมส่ ามารถ ด�ำเนนิ การยอ้ นกลับเพือ่ ให้ได้ซง่ึ ขอ้ มลู เดิม 28 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
วธิ ีการคำ� นวณหาคา่ Nonce Nonce คอื ค่าท่ใี ช้ในการคน้ หาคา่ Hash ของ Block ซ่งึ จะต้องเปน็ ไป ตามกฎของระบบท่ไี ด้ก�ำหนดไว้ โดยค่า Hash ท่ไี ดน้ ้นั จะต้องมีคา่ ต่ำ� กว่าค่า Target หรอื อกี ชื่อหนึง่ คือ คา่ Difficulty น่ันเอง โดยคำ� สั่งดงั กล่าวกค็ ือ “จงท�ำให้ Hash ของ Block_Header มีค่า <= Target” โดยค่า Nonce จะถูกวางไวใ้ น Block Header ดังแสดงในรปู ภาพท่ี 7 เพื่อใหเ้ ราวนหาคา่ ไปเรอ่ื ย ๆ จนกว่าค่า Hash จะตำ่� กวา่ ค่า Target ดังนัน้ การหาค่า Nonce ก็คือ การเปล่ียนค่า Block Header จนกระทั่งได้ค่า Hash ท่ีต�่ำกว่า ค่า Target ให้ได้ ใครหาได้ก่อนคนนั้นชนะซ่งึ ก็คือ คนท่ีได้เป็นคนยืนยัน ความถูกต้องของ Block นั้น ๆ นั่นเอง ดังน้ันเม่ือได้ค่า Nonce แล้ว คา่ Hash ท่ไี ดจ้ ากการหาคา่ Nonce น้ันก็จะถูกใชเ้ ปน็ คา่ Hash ของ Block นัน้ ทนั ที ซ่ึงก็คือ Current Hash ของ Block น้นั ๆ นัน่ เอง บทน�ำ 29
ตวั อยา งการแสดง BLOCK INFORMATION ของ BITCOIN รูปภาพที่ 7: ตัวอยา่ งการแสดง Block Information ของ Bitcoin ท่มี า: ปรบั ปรงุ จาก (Nuuneoi, 2016) คา่ Target หรือ Difficulty จะถูกกำ� หนดโดยระบบภายใตส้ ตู ร Difficulty = 0x00ffff0000000000000000000000000000000000000000000000000000 CurrentTarget นอกจากนค้ี า่ Target หรอื Difficulty จะถกู คำ� นวณคา่ ใหมใ่ นทกุ 2016 Blocks (ประมาณ 2 สปั ดาห)์ และถูกคำ� นวณตรง ๆ เลย ถา้ 2016 Blocks ทผ่ี า่ นมาใช้ เวลาเกนิ 2 สปั ดาห์ ก็จะลดค่า Difficulty ลง แต่ถา้ ใชเ้ วลาน้อยกว่า 2 สปั ดาห์ ก็จะปรับค่า Difficulty ข้ึน 30 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
จากตัวอย่างการแสดง Block Information ในรูปภาพท่ี 7 ซงึ่ เป็นตัวอย่าง Block Information ของ Bitcoin จะเห็นคา่ Merkle Root ซ่งึ กค็ ือ ค่า Hash ของ Transactions ทั้งหมดใน Block ซ่ึงเป็นวธิ ีการ Hash ข้อมลู ชุดใหญ่ โดยใช้ รูปแบบ Hash Tree ซ่งึ จะ Hash Transactions ทงั้ หมดใน Block ให้กลายเป็น Hash Value ขนาด 32 ไบต์ ดงั แสดงในรปู ภาพที่ 8 Top hash Hash 0 Hash 1 Hash 0-0 Hash 0-1 Hash 1-0 Hash 1-1 Hash Hash Hash Hash Hash Hash Hash Hash 0-0-0 0-0-1 0-1-0 0-1-1 1-0-0 1-0-1 1-1-0 1-1-1 Data block Data block Data block Data block Data block Data block Data block Data block 000 001 002 003 004 005 006 007 รปู ภาพที่ 8: หลักการ Hash ขอ้ มูลชดุ ใหญ่โดยใชร้ ปู แบบ Hash Tree ทมี่ า: ปรับปรุงจาก (Futter, Hale, Elverston, & Waters, 2017) บทน�ำ 31
ดังนนั้ ค่า Merkle Root ก็คอื คา่ Hash ทอี่ ยบู่ นสุดของ Hash Tree นั่นเอง โดยค่าดังกล่าวจะถูกแสดงใน Block Information ซ่งึ Hash Tree จะใช้กับ การออกแบบ Block ท่ีมีการรวบ Transaction ท่ีเกิดข้ึนในเวลาไล่เลี่ยกันรวม เข้าไวใ้ น Block เดียวกนั เน่ืองจากการก�ำหนดให้ทุก ๆ Node จะต้องท�ำการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ (A Mathematical P u z z l e ) ห รอื ที่ รู ้ จั ก กั น ใ น ช่ือ \"Proof-of-Work\" โดย Block ที่ ถูกยอมรับจะต้องมีค�ำตอบของการ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ดังกล่าว รวมอยู่ใน Block ด้วยซง่ึ ก็คือการ หาคา่ Nonce นน่ั เอง ดงั นนั้ จงึ เปน็ ไป ไม่ได้ท่ีผโู้ จมตจี ะสร้าง Transaction ปลอมขึน้ มาโดยที่ไม่ท�ำการแก้ไข ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของ Block นนั้ ๆ รวมไปถงึ Block อน่ื ๆ ทอ่ี ยใู่ น Chain ด้วย อีกทั้งจะต้องท�ำ พรอ้ ม ๆ กันในทุก ๆ Block เพ่อื ให้ ได้รับการยอมรับจาก Node อื่น ๆ ซง่ึ เป็นส่ิงที่ยากและแทบจะเป็นไป ไม่ได้เลยด้วยความสามารถของ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน จงึ ท�ำให้ Blockchain ได้รับการ ยอมรับว่าเป็นรูปแบบของการบันทึก ขอ้ มลู ท่ีมีความปลอดภยั สงู 32 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
Chain Chain คอื หลักการจดจำ� ทุก ๆ ธรุ กรรมของทกุ ๆ คนในระบบและบันทึก ขอ้ มลู พรอ้ มจดั ทำ� เปน็ สำ� เนาบญั ชี Ledger แจกจา่ ยใหก้ บั ทกุ คนในระบบ สำ� เนา บัญชี Ledger ท่ีว่าน้ันจะถูกกระจายส่งต่อไปให้ทุกๆ Node ในระบบเพื่อให้ ทุกคนรับทราบว่ามีธุรกรรมอะไรเกิดขนึ้ มาบ้างต้ังแต่เปิดระบบ Blockchain น้ันขึ้นมา ถึงแม้ว่าจะมี Node ใด Node หนึ่งเสียหายไปก็สามารถยืนยัน หรือกขู้ อ้ มลู Ledger จาก Node อน่ื ๆ กลบั มาอปั เดตใหท้ ง้ั ระบบไดเ้ หมอื นเดมิ Consensus การกำ� หนดขอ้ ตกลงและความเหน็ ชอบรว่ มกนั ระหวา่ งสมาชกิ ในเครือขา่ ย Blockchain โดยสมาชกิ ต้องยอมรับกฎระเบียบร่วมกัน ด้วยกลไกในการ ควบคุมความถูกต้องของข้อมูลในทุก Node ผ่านอัลกอริทึมต่าง ๆ เพ่ือให้ ข้อมูลมีความถูกต้องเที่ยงตรงและเป็นข้อมูลชุดเดียวกัน รวมทั้งข้อมูลมีการ จัดเก็บท่ีสอดคลอ้ งและมีล�ำดบั การจดั เกบ็ ตรงกนั ท้งั นี้ กระบวน Consensus มอี ยู่ดว้ ยกนั หลายวิธี ยกตัวอยา่ งเชน่ บทนำ� 33
Proof-of-Work คอื กระบวนการทำ� Consensus โดยใช้การแก้ปญั หา ทางคณติ ศาสตรซ์ ึ่งมคี วามซบั ซอ้ นและตอ้ งใชเ้ วลาในการแกป้ ญั หานน้ั ๆ จาก Nodes ตา่ ง ๆ ท่อี ยู่ในเครอื ข่ายหรือเรยี กวา่ “Miners” เพอ่ื ยนื ยัน ความน่าเชือ่ ถือของข้อมูลที่จะถูกบันทึกเข้ามาในเครือข่าย โดย Miner จะไดร้ บั คา่ ตอบแทนจากการทำ� Proof-of-Work และดว้ ยวธิ ีการดงั กลา่ ว ท�ำให้การแก้ไขขอ้ มลู ที่ถูกบันทึกลงในระบบ Blockchain แล้วนั้นทำ� ได้ ยากโดยทไ่ี มแ่ กไ้ ขขอ้ มลู ใน Block ถดั ๆ ไป ยกตวั อยา่ งเชน่ Bitcoins ซง่ึ เป็น Public Blockchain ใช้วธิ กี ารยืนยนั รายการแบบ Proof-of-Work Proof-of-Stake คือ กระบวนการทำ� Consensus โดยใช้หลักการวาง “สนิ ทรพั ย”์ ของผตู้ รวจสอบ (Validator) ในการยนื ยนั ธรุ กรรม ผตู้ รวจสอบ ท่ีท�ำการวางสินทรัพย์จ�ำนวนมากจงึ มีโอกาสสูงท่ีจะได้รับสิทธิใ์ น การเขียนข้อมูลธุรกรรมบน Block ถัดไป โดยผู้ที่ท�ำการเขียนข้อมูล บน Block ถัดไปจะได้รับค่าธรรมเนียมการด�ำเนินงานเป็นรางวัล ตอบแทน ยกตัวอย่างเช่น Ethereum ซงึ่ เป็น Public Blockchain ใชว้ ิธกี ารยืนยนั รายการแบบ Proof-of-Stake 34 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
Practical Byzantine Fault Tolerance (PBFT) คือ กระบวนการท�ำ Consensus โดยใช้หลักการเสยี งข้างมาก ซึ่งต้องมจี �ำนวนผตู้ รวจสอบ (Validator) ท้ังส้ินจ�ำนวน 3f+1 node เพื่อรับประกันความถูกต้อง ของระบบ โดย f คือ จ�ำนวนผู้ตรวจสอบที่ไม่สามารถท�ำงานได้ ในขณะนนั้ ยกตวั อยา่ งเชน่ HyperLedger ซึ่งเปน็ Private Blockchain ใชว้ ธิ กี ารยนื ยนั รายการแบบ PBFT Proof-of-Authority คือ กระบวนการ Consensus โดยใช้การท�ำ ข้อตกลงร่วมกันในการก�ำหนดสิทธผิ ู้ใช้งานหรอื องค์กรที่เช่อื ถือได้ ส�ำหรับการท�ำธุรกรรมด้วยวิธกี ารระบุชื่อผู้ใช้อย่างเป็นทางการให้กับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละ Node บนเครือข่าย Blockchain ในการท�ำ ธุรกรรมจะได้รับการตรวจสอบสิทธจ์ิ ากบัญชที ่ีได้รับอนุมัติหรอื เรยี กว่า ผู้ตรวจสอบ (Validator) ซง่ึ ท�ำหน้าที่ในการรักษาความปลอดภัย โดยใช้รูปแบบการหมุนเวียนสิทธเิ พ่ือกระจายความรับผิดชอบ และ เปน็ การสร้างความสัมพนั ธ์ระหวา่ งหนว่ ยงานอย่างเป็นธรรม จากตวั อยา่ งทไ่ี ดก้ ลา่ วมาขา้ งตน้ นนั้ เปน็ Consensus Mechanisms ที่ได้รับการยอมรับและถูกน�ำไปใช้ ในเครอื ขา่ ยBlockchainทม่ี ชี อ่ื เสยี งหลายๆเครือขา่ ย ด้วยกัน แต่วิธีการดังกล่าวก็เป็นเพียงส่วนหน่ึง ของ Consensus Mechanisms เทา่ นนั้ ซ่งึ ในการ ใชง้ านจริงยงั มอี กี หลายวธิ ี เชน่ Ledger Based, Proprietary Distributed Ledger Consensus, Federated Consensus, N2N, Delegated Proof of Stake และ Round Robin โดยการเลือกใช้ วิธีใดนนั้ ขึน้ อยกู่ บั ความเหมาะสมของ Blockchain ในแต่ละประเภท รวมถึงแนวทางการออกแบบ ระบบ Blockchain บทน�ำ 35
Validation Validation คือ การตรวจสอบความถูกต้องแบบทบทวนทั้งระบบและทุก Node ในระบบ Blockchain เพอ่ื ใหแ้ นใ่ จวา่ จะไมม่ ขี อ้ ผดิ พลาดเกดิ ข้นึ ไมว่ า่ จะมา จากสว่ นใดกต็ าม ซ่ึงกค็ อื สว่ นหนง่ึ ของ Consensus ทเี่ รียกวา่ Proof-of-Work ซ่ึงในหลกั การแล้วการทำ� Validation นนั้ มีจดุ ประสงค์อยู่ 3 ประการคือ 1 วธิ กี ารในการยอมรบั /ปฏเิ สธ รายการใน Block นั้น ๆ 2 วธิ กี ารตรวจสอบท่ที กุ คนในระบบยอมรับรว่ มกัน 3 วิธตี รวจสอบความถูกต้องของแตล่ ะ Block ยกตัวอย่างเชน่ หมายเลข Block โดยตรวจสอบ Block กอ่ นหนา้ ทต่ี ดิ กนั กอ่ นวา่ เปน็ Block ทถ่ี ูกตอ้ งหรือไม่โดยเวลาที่ Block ถูกสรา้ งขึ้นตอ้ งมากกว่า เวลาของ Block กอ่ นหนา้ คา่ Nonce โดยการตรวจสอบคา่ Nonce ซงึ่ กค็ อื คา่ Hash ของ Block ทไี่ ดม้ าจากการทำ� Proof-of-Work น่ันเอง คา่ Previous Hash และ คา่ Current Hash โดยการตรวจสอบสถานะ เริม่ ต้นใน Block ต้องมีข้อมูลตรงตามสถานะสุดท้ายของ Block กอ่ นหน้า แต่อย่างไรก็ดีวธิ กี ารตรวจสอบความถูกต้องของแต่ละ Block หรือการท�ำ Validation น้ันอาจจะมีขั้นตอนมากกว่าน้ีขน้ึ อยู่กับการออกแบบการเก็บข้อมูล ใน Block ของแต่ละค่ายนั่นเอง ยกตวั อย่างเช่น ค่าย Ethereum นัน้ จะมขี ัน้ ตอน การ Validation ถงึ 5 ขนั้ ตอนดว้ ยกนั ซึง่ จะตอ้ งสมั พนั ธก์ บั การเกบ็ ขอ้ มลู ใน Block 36 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
ประเภทของ Blockchain Blockchain สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 3 ประเภท โดยพิจารณาจากขอ้ กำ� หนด ในการเขา้ รว่ มเปน็ สมาชกิ ของเครอื ขา่ ย คอื Blockchain แบบเปดิ สาธารณะ (Public Blockchain) Blockchain แบบปดิ (Private Blockchain) และ Blockchain แบบ เฉพาะกล่มุ (Consortium Blockchain) Public Blockchain Public Blockchain คอื Blockchain วงเปิดที่อนญุ าตใหท้ กุ คนสามารถ เข้าใชง้ านไม่วา่ จะเปน็ การอ่าน หรือการทำ� ธุรกรรมต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งอิสระ โดย ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งขออนญุ าต หรือรจู้ กั กนั ในอกี ชอื่ คอื Permissionless Blockchain ดงั แสดงในรูปภาพที่ 9 PUBLIC BLOCKCHAIN รปู ภาพที่ 9: Public Blockchain ทมี่ า: ปรบั ปรุงจาก (Kohut, 2018) บทนำ� 37
โดยทกุ คนในเครือขา่ ยสามารถเหน็ ขอ้ มลู รายการธรุ กรรมได้ ซึง่ รายการธรุ กรรม ทเ่ี กดิ ข้ึนใหมจ่ ะตอ้ งผา่ นกระบวนการทำ� Consensus จากสมาชิกในเครอื ขา่ ยเสยี กอ่ น ตัวอย่างของระบบ Blockchain แบบเปิดสาธารณะ ยกตัวอย่างเช่น Bitcoin, Ethereum 38 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
Private Blockchain Private Blockchain คือ Blockchain วงปิดที่เข้าใช้งานได้เฉพาะผู้ท่ี ไดร้ บั อนุญาตเทา่ นั้น ซง่ึ ส่วนใหญถ่ กู สรา้ งขึน้ เพ่อื ใช้งานภายในองคก์ ร ดังน้นั ข้อมลู การทำ� ธุรกรรมตา่ ง ๆ จะถกู จ�ำกัดอยู่เฉพาะภายในเครอื ข่ายซึ่งประกอบ ไปดว้ ยสมาชกิ ท่ีได้รบั อนญุ าตเท่านน้ั ดังแสดงในรูปภาพที่ 10 PRIVATE BLOCKCHAIN รปู ภาพที่ 10: Private Blockchain ท่มี า: ปรับปรุงจาก (Kohut, 2018) โดยภายในเครือขา่ ยจะมี Node หลกั คอยทำ� หนา้ ท่ีเป็นผู้ตัดสนิ ใจเลอื กเกณฑ์ สำ� หรบั การตรวจสอบความถกู ตอ้ ง รวมถงึ การบนั ทกึ และการทำ� ธรุ กรรมของทกุ Node ซ่งึ ผู้เข้าร่วมในกลุ่มสามารถตกลงที่จะเปล่ียนแปลงเกณฑ์ส�ำหรับตรวจสอบและ บันทึกรายการได้ จึงเหมาะสมส�ำหรับการประยุกต์ใช้เพ่ือเก็บข้อมูลท่ีเป็นความลับ หรอื ข้อมูลที่ไม่ต้องการเผยแพร่ให้ผู้ไม่เก่ียวข้องภายนอกองค์กรทราบ อย่างไร ก็ตามหน่วยงานที่มีการสร้าง Blockchain แบบปิดเป็นของตนเอง จ�ำเป็นต้องมี บทน�ำ 39
การลงทุนในด้านโครงสร้างพื้นฐาน ของอุปกรณ์ ระบบเครอื ข่ายใน การเช่อื มต่อองค์ความรู้เก่ียวกับ ระบบ Blockchain ท่ีน�ำมาใช้งาน รวมทั้งการดูแลรักษา เพื่อให้ระบบ สามารถด�ำเนินการต่อไปได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ซึ่งโดยสว่ นมากมักใช้ ในงานระหว่างองค์กรธุรกิจหรอื ระหว่างองค์กรภาครัฐ ตัวอย่าง ของระบบ Blockchain แบบปิด ยกตัวอย่างเช่น Hyperledger, Corda, Tendermint Consortium Blockchain Consortium Blockchain คอื Blockchain ท่เี ปิดให้ใชง้ านได้เฉพาะกลมุ่ เทา่ นน้ั โดยเปน็ การผสมผสานแนวคดิ ระหวา่ ง Public Blockchain และ Private Blockchain ซ่ึงส่วนมากเป็นการรวมตัวกันขององค์กรท่ีมีลักษณะธุรกิจ เหมอื นกนั และตอ้ งมีการแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ระหว่างกันอย่างสม่�ำเสมออยแู่ ล้ว มารวมตัวกันตั้งวง Blockchain ข้ึนมา ท้ังน้ีเน่ืองจากธุรกรรมและข้อมูล ท่ีจดั เกบ็ เปน็ ขอ้ มลู ท่ีเป็นความลับ หรือข้อมลู ส่วนตวั ภายในองคก์ ร สง่ ผลให้ ไม่สามารถเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวทั้งหมดแก่สาธารณชนได้ ดังน้ันผู้เข้าร่วม Blockchain เฉพาะกลุ่ม จ�ำเป็นต้องได้รับการอนุญาตจากตัวแทนเสียก่อน จงึ จะสามารถเขา้ ใชง้ านได้ ยกตวั อยา่ งเชน่ เครอื ขา่ ยระหวา่ งธนาคาร ทใ่ี ชใ้ นการ แลกเปล่ียนข้อมูลการท�ำธุรกรรม หรอื แลกเปล่ียนสินทรัพย์ภายในกลุ่ม ของธนาคาร ยกตวั อยา่ งเช่น Japanese Bank และ R3CEV (Buterin, 2014) 40 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
ตารางที่ 1: ตารางเปรยี บเทยี บคณุ สมบตั ขิ องเทคโนโลยี Blockchain ในแต่ละประเภท Private Public Public Permissionless คณุ ลกั ษณะ Permissioned Permissioned: Permissioned: (Public (Characteristic) (Private Single Industry Multi-Industry Blockchain) Blockchain) ผู้มีอำ� นาจ การบริหาร การจัดการบัญชี การจดั การบญั ชี การจดั การบญั ชี (Authority), จัดการบัญชี แยกประเภท แยกประเภท แยกประเภท การควบคมุ แยกประเภท โดยมีประโยชน์ โดยมีประโยชน์ โดยเครือขา่ ย (Control) และ ภายในเพียง อตุ สาหกรรม อตุ สาหกรรม แบบกระจาย ความนา่ เช่อื ถือ องค์กรเดียว เป็นส�ำคญั เปน็ ส�ำคัญ และ ศนู ยไ์ มม่ รี ะบบ (Trust) (Centralized และเปิดใช้ เปิดการใชแ้ บบ ขอ้ มลู กลาง กับรูปแบบ สาธารณะ (Distributed Trust) สาธารณะอยา่ ง (Semi- Consensus) จำ� กัดภายใน Centralized อุตสาหกรรม Trust) (Semi- Centralized Trust) บรบิ ททางธุรกจิ การใชง้ าน การใชง้ าน การใชง้ าน บริษัทและ (Business ภายในองค์กร ระหว่างบริษัท ระหว่างบริษทั บคุ คลทั่วไป Context) เทา่ นน้ั หรอื ภายใน หรือขา้ ม สาธารณะท่ี อตุ สาหกรรม อุตสาหกรรม อยูร่ ะหวา่ ง (Intra- (Inter- (Inter- เครือขา่ ยหรอื Company) Company) Company) ระบบนิเวศของ Blockchain (Inter-Entity) สิทธก์ิ ารเข้าถึง การอนุญาต การอนญุ าต การกำ� หนด อนญุ าตให้ (Access สิทธิก์ ารใช้งาน ให้ใช้สทิ ธิ์ใน สทิ ธ์ใิ น ผู้เข้าร่วมหลาย Rights) วัตถุประสงค์ อตุ สาหกรรม อุตสาหกรรม/ อุตสาหกรรม/ เดียวของหน่ึง เดีย่ ว วตั ถุประสงค์ ผู้เข้าร่วมการ องค์กร หลายแบบ ศึกษาคน้ คว้า และผทู้ ี่ต้องการ ใชง้ านหลาย ประเภท บทน�ำ 41
Private Public Public Permissionless คุณลักษณะ Permissioned Permissioned: Permissioned: (Public (Characteristic) (Private Single Industry Multi-Industry Blockchain) Blockchain) การเปน็ สมาชกิ Static Static Semi-Static Fluid (Membership) ความรับผดิ ผรู้ ับผดิ ชอบ ผ้ทู ่รี ับผิดชอบ ผ้ทู ่รี บั ผิดชอบ ผทู้ ร่ี บั ผิดชอบ ชอบ ตามกฎหมาย ตามกฎหมาย ตามกฎหมาย จำ� กดั /ไมม่ ี (Accountability), และอาจไดร้ บั และอาจไดร้ บั กฎหมายรับรอง สถานะทาง การควบคมุ การควบคมุ และผใู้ ช้ กฎหมาย ไม่ได้รบั (Legal การควบคมุ Standing) รูปแบบการน�ำ อาจแก้ไขได้ ก่งึ สามารถ กึ่งสามารถ สว่ นใหญ่ ไปใช้ แก้ไขได้ แก้ไขได้ ไม่สามารถ (Deployment แกไ้ ขได้ Style) รูปแบบการ อาจแกไ้ ขได้ กงึ่ สามารถ กึ่งสามารถ สว่ นใหญ่ บันทึก แก้ไขได้ แก้ไขได้ ไมส่ ามารถ ความไม่ แกไ้ ขได้ เปลยี่ นแปลง (Record Immutability) Consensus Proof of Stake, Proof of Stake, Proof of Stake, Proof of Mechanism Federated Practical Practical Work Byzantine Fault Byzantine Fault Byzantine Fault Tolerance Tolerance, Tolerance, Agreement, Deposit-Based, Deposit-Based, Proof of Federated Federated Authority, Proof Byzantine Byzantine of Identity Agreement Agreement (Ethereum Kovan Testnet, POA Chain, (Bitcoin, R3 (Banks), EWF Ethereum, (Energy), B3i (Insurance), Corda) etc..) 42 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
Private Public Public Permissionless คุณลักษณะ Permissioned Permissioned: Permissioned: (Public (Characteristic) (Private Single Industry Multi-Industry Blockchain) Blockchain) ขอ้ ดี 1. การรบั รองความถกู ต้องและการรักษา 1. ขอ้ มลู (Advantages) ความปลอดภัยดว้ ยสทิ ธขิ องผ้ใู ช้ท่ีไวว้ างใจ ทงั้ หมด จะเป็นขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งนา่ เช่ือถือ สาธารณะ 2. การปรับปรงุ หรือเพ่ิมประสิทธิภาพของโปรโตคอล 2. ความสามารถ และเครือขา่ ยได้ ในการ 3. คา่ ใช้จ่ายในการจดั การระบบเครอื ข่ายและ ป้องกัน การถูกโจมตี การจดั การใชง้ านร่วมกนั 4. การกำ� กับดแู ลและการบงั คบั ใช้นโยบาย 3. ไม่มี 5. การก�ำกับดแู ลกฎระเบยี บ ศูนย์กลาง 6. การพัฒนามาตรฐานและการควบคุม ในการ 7. ความสามารถในการทำ� งานทร่ี วดเร็วขึ้น ควบคมุ 8. การปกป้องขอ้ มลู สินค้า บริการ หรอื กลยุทธ์ (No Centralized) ทางธุรกจิ ให้มีเสถียรภาพม่นั คงและปลอดภัย 4. ไม่มกี าร แยกผใู้ ช้ ออกจาก นกั พัฒนา Application 5. การเตบิ โต ของระบบ นิเวศ ผา่ นทาง เครอื ข่าย 6. โอเพ่นซอร์ส (Opensource) 7. การมี นกั พฒั นา ซอฟตแ์ วร์ ร่วมกัน พัฒนา บทนำ� 43
Private Public Public Permissionless คณุ ลกั ษณะ Permissioned Permissioned: Permissioned: (Public (Characteristic) (Private Single Industry Multi-Industry Blockchain) Blockchain) ขอ้ เสยี 1. จุดเดียวของความล้มเหลว 1. ปญั หา (Disadvantages) (Single Point of Failure) ความสามารถ ในการรองรบั 2. อาจไม่สามารถเปดิ แหล่งทม่ี าได้ การปรับ 3. การเสรมิ สร้างรปู แบบธุรกิจ ขยายขนาด ธุรกรรม และชดุ กระบวนการทม่ี อี ยู่ ท�ำใหเ้ กดิ 4. การทตี่ อ้ งดแู ลระบบและคา่ ใช้จา่ ยตา่ ง ๆ ความล่าชา้ 5. ผ้จู ัดหาเป็นศนู ย์ขอ้ มูลกลาง ในการท�ำ ธุรกรรม (ในกรณผี ้ซู ้ือหรอื ลกู ค้าเป็นศูนย์กลาง) 6. การจดั หาทรัพยากรบุคคลสำ� หรับพฒั นาซอฟตแ์ วร์ 2. การกำ� กับ ดแู ลท่ี ทีม่ อี ยู่จ�ำกัด ซับซ้อน 7. การใช้งานต้องมีมตหิ รอื ขอ้ ตกลงเป็นเอกฉนั ท์ 3. การมสี ว่ นรว่ ม ขององคก์ ร ของผเู้กย่ี วขอ้ ง ทไ่ี ม่นา่ เชอ่ื ถอื 4. ศักยภาพ ในการ ตรวจสอบ ธรุ กรรม (Minner) 5. ศกั ยภาพ บางประการ ท่อี าจ ผดิ กฎหมาย 6. ส่งิ จูงใจ ทางการเงิน ทต่ี ้องใช้ เพ่อื รกั ษา เครือข่าย ทมี่ า: ปรบั ปรุงจาก (Zheng, Xie, Dai, & Wang, 2016) 44 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
คุณลักษณะพื้นฐานทส่ี �ำคัญของเทคโนโลยี Blockchain การจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของ Block โดยเช่ือมต่อแต่ละ Block ด้วย Hash Function และกระจายให้ทุก ๆ Node เก็บ ท�ำให้เกิดคุณสมบัติท่ีส�ำคัญ ของ Blockchain 3 ประการ คอื ความถกู ตอ้ งเทย่ี งตรงของขอ้ มลู (Data Integrity) ความโปร่งใสในการเข้าถึงขอ้ มลู (Data Transparency) และความสามารถในการ ท�ำงานได้อย่างตอ่ เน่อื งของระบบ (Availability) (Serrano, 2017) ความถกู ตอ้ งเที่ยงตรงของข้อมลู (Data Integrity) เน่ืองจากการเช่อื มโยง Block ปจั จุบันและ Block ก่อนหนา้ ด้วย Hash Function และท�ำการกระจายให้ทกุ Node เก็บ ทำ� ใหข้ ้อมลู ท่ถี ูกบันทกึ ลงใน Blockchain แล้วไมส่ ามารถแกไ้ ข หรอื เปลยี่ นแปลงข้อมูลได้ (Immutability) ดงั นน้ั หากมคี วามพยายามในการแกไ้ ขหรือเปลย่ี นแปลงขอ้ มลู ทถี่ กู บนั ทกึ ลงใน Block แลว้ จะท�ำให้ทราบไดท้ นั ทีเน่ืองจากข้อมูลใน Node ดงั กลา่ วจะมีขอ้ มูล ทต่ี ่างออกไปจาก Node อ่ืน ๆ ในระบบ และไม่สามารถสร้าง Consensus กบั Node อ่ืนได้ ทำ� ให้ถูกแยกออกจาก Chain หลกั ไปในที่สุด ความโปรง่ ใสในการเข้าถงึ ขอ้ มลู (Data Transparency) เนอ่ื งจากทกุ Node ในระบบ Blockchain จะเกบ็ ขอ้ มลู เดยี วกนั ทงั้ หมด โดยไมม่ ี Node ใด Node หนง่ึ เปน็ ตัวกลางที่มีอ�ำนาจแต่เพยี งผูเ้ ดยี วในการ เก็บข้อมูล ดังนั้นการเข้าถึงข้อมูลใด ๆ จงึ ท�ำได้จาก Node ตัวเองทันที โดยไม่จ�ำเป็นต้องร้องขอข้อมูลจากตัวกลาง จึงเรยี กว่าเป็นระบบท่ีมีความ โปรง่ ใสในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู สงู มาก บทน�ำ 45
ความสามารถในการท�ำงานไดอ้ ย่างต่อเนื่องของระบบ (Availability) เนอ่ื งจากทกุ Node ในระบบ Blockchain จะเกบ็ ขอ้ มลู เดยี วกนั ทงั้ หมด จงึ สามารถทำ� งานทดแทนกนั ไดเ้ มอ่ื มี Node ทไี่ มส่ ามารถใหบ้ ริการไดใ้ นขณะนน้ั โดยระบบจะท�ำการคัดลอกส�ำเนาข้อมูลให้เป็นข้อมูลชุดเดียวกันเม่ือ Node กลบั ขน้ึ มาใหบ้ ริการไดอ้ กี ครงั้ 46 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
เกณฑ์การพิจารณาเลือกใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain เกณฑใ์ นการพจิ ารณาเลอื กใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain เพอ่ื พจิ ารณาความเหมาะสม และความจ�ำเป็นในมิติต่าง ๆ ตามข้อค�ำถามทั้ง 6 ค�ำถาม ส�ำหรับใช้ในการ ตัดสินใจเพื่อให้องค์กรสามารถเลอื กใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain ได้อยา่ งเหมาะสม อกี ท้ังยงั สามารถนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใช้เพอื่ แกป้ ญั หาการทำ� งานในอดตี และกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การวางแผนการทำ� งานในอนาคตได้ ดงั แสดงในรปู ภาพที่ 11 เร�ม 6 คำถามกอ นตัดสนิ ใจใช เทคโนโลยี Blockchain คณุ ตองการแชรขอ มลู ชุดเดียวกนั ไมใช คณุ ไมจาํ เปน ตอ งใชเ ทคโนโลยี Blockchain เน่อื งจาก Blockchain ใหกบั ผูทมี่ ีสวนเกย่ี วขอ งทัง้ ระบบใชห ร�อไม? จะชว ยใหค ณุ สามารถเกบ็ ขอมูลท่มี ีความถกู ตองตรงกันได โดยรบั ประกนั วา ขอ มลู จะไมถ กู เปลย่ี นแปลง/ ถกู แกไขเมอ่ื เวลาผา นไป ใช ไมใช ถา ขอมลู ของคณุ ถูกสรา งข้�นโดยคน /องคก รใดองคกรหนึ่งเทานั้น คุณไมจ ำเปน ตอ งใชเทคโนโลยี Blockchain เนอ่ื งจาก Blockchain การสรางรายการขอ มลู ของคุณ ถูกสรางข�้นมาเพ�่อแกป ญ หาความไมไววางใจระหวางกนั (Trustless) มีผูเก่ียวขอ งมากกวา 1 ราย ใชห รอ� ไม? ถา ขอมูลของคุณเปน ขอมูลที่ตอ งมกี ารอพั เดต / เปลยี่ นแปลงแกไข รายการอยูเสมอๆ คณุ ไมควรใชเ ทคโนโลยี Blockchain เนอ่ื งจาก ใช ไมใช ขอ มลู ทถ่ี กู เกบ็ บน Blockchain แลว ไมส ามารถเปลย่ี นแปลงหรอ� แกไขได ไมใช ถา ขอมลู ของคณุ เปนขอมูลท่มี คี วามละเอยี ดออ น / ขอมลู ท่ีสามารถ คณุ ตอ งการบนั ทกึ รายการขอ มลู ท่ไี มส ามารถเปลย่ี นแปลง ไมใช ระบตุ วั บคุ คลได (Personally Identifiable Information: Pll) คณุ ไมค วร แกไข หร�อลบไดน อกจากเพ�มรายการขอ มลู ใหม ไมใช ใชเ ทคโนโลยี Blockchain ถึงแมข อ มูลดงั กลา วจะถูกเขา รหัสก็ตาม (Immutability) ใชห ร�อไม? ถา คณุ เชอ่ื ถอื / ไวใจ คนท่มี ีสว นเกีย่ วขอ งในการสรา งขอมลู ของคุณ อยแู ลว คณุ ไมจำเปนตองใชเ ทคโนโลยี Blockchain เนื่องจาก ใช Blockchain ถกู ออกแบบมาเพอ่� แกป ญ หาความไมเ ชอ่ื ใจกนั (Trustless) โดยไมจำเปนตองมคี นกลางมาคอยสรางความนาเชอื่ ถอื ขอมูลของคุณทีต่ อ งการบันทึกเขาสรู ะบบน้นั ตอ งไมเ ปน ถา คณุ ไมต อ งการพส� จู นท ราบวา มอี ะไรเกดิ ขน้� กบั ขอ มลู ของคณุ บา ง / ขอมลู ท่มี ีความละเอยี ดออ น / ขอ มูลทส่ี ามารถระบุ ขอ มลู มกี ารถกู แกไข (Data Provenance) หรอ� ไม คณุ ไมจ ำเปน ตอ งใช ตวั บุคคลไดใชห รอ� ไม? เทคโนโลยี Blockchain ใช คณุ ตองการระบบทีส่ ามารถสรางความเช่อื ใจระหวาง ผทู มี่ ีสวนเก่ยี วของในการสรา งขอ มลู โดยไมจำเปน ตองมคี นกลางมาคอยควบคมุ ใชหร�อไม? ใช คุณตองการระบบทรี่ ับประกันไดว าขอมลู ทผ่ี า น การอนุมตั ิรวมกนั แลว จะไมสามารถถูกปลอมแปลง หร�อแกไขไดใชห ร�อไม? ควรใชเ ทคโนโลยี Blockchain รูปภาพที่ 11: กระบวนการตดั สนิ ใจกอ่ นการน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้งาน ทม่ี า: ปรบั ปรุงจาก (Yaga, Mell, Roby, & Scarfone, 2018a) บทน�ำ 47
รปู แบบการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain ในปัจจุบันเทคโนโลยี Blockchain ถือได้ว่าอยู่ในช่วงเรม่ิ ต้นของการ นำ� ไปใชง้ าน โดยอา้ งองิ ขอ้ มลู จาก World Economic Forum Survey (2015) พบวา่ มูลค่ารวมของธุรกรรมที่มีการใช้งานอยู่บนเทคโนโลยี Blockchain รวมไปถึง Bitcoin นน้ั ยงั มปี รมิ าณคอ่ นขา้ งนอ้ ยเมอ่ื เทยี บกบั GDP ของโลก โดยมปี รมิ าณเพยี ง 0.025% หรอื คิดเป็นมูลค่าประมาณสองหม่ืนล้านเหรยี ญสหรัฐนั่นเอง (Global GDP มีมูลค่า 80 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ) แต่จากรายงาน ได้แสดงให้เห็นว่า การใช้งานเทคโนโลยี Blockchain มีแนวโน้มจะเป็นไปอย่างก้าวกระโดดภายใน 10 ปีนี้ เนื่องจากภาคธุรกิจต่าง ๆ ได้เห็นถึงประโยชน์และความส�ำคัญของการ น�ำเทคโนโลยี Blockchain ไปใชง้ าน โดยในปี 2015 มีตัวเลขการลงทุนในธุรกจิ ที่เก่ียวข้องกับเทคโนโลยี Blockchain สูงถึง 474 ล้านดอลลาร์สหรัฐซึ่งโตขน้ึ 48 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
ถึง 59% จากปีก่อนหน้าน้ี โดยในปัจจุบันได้มีการน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใชง้ านกนั อยา่ งกวา้ งขวางมากขน้ึ ไมจ่ ำ� เพาะแคเ่ พยี งภาคการเงินและการธนาคาร เท่านน้ั ดังแสดงในรปู ภาพที่ 12 ไม่ว่าจะเปน็ ธุรกจิ Supply Chain ธรุ กจิ ประกันภยั ธุรกิจเกี่ยวกับสุขภาพสถาบันการศึกษา หรอื แม้แต่ธุรกิจเพลงออนไลน์ รวมไปถึง ภาครฐั กไ็ ดใ้ หค้ วามสนใจเกยี่ วกบั การทำ� เทคโนโลยี Blockchain ไปใชใ้ นการบรหิ าร งานภาครฐั กนั มากขึน้ เชน่ กนั สถาบนั การศึกษา งานวจ� ยั และคาดการณ (EDUCATION) (RESEARCH AND FORECASTING) การออกเสยี ง (VOTING) การชำระและโอนเงน� ธุรกิจออนไลนเพลง (PAYMENT AND TRANSFER SYSTEM) (MUSIC ONLINE) ความปลอดภยั ทางไซเบอร ธรุ กิจการแชรร ถรวมกัน (CYBERSECURITY) (RIDE SHARING) การเชา และซ้อื ขายรถ ภาครัฐ (CAR RENTAL AND (GOVERNMENT SECTOR) TRADING SYSTEM) การเงน� การธนาคาร เคร�อขา ยและอินเตอรเน็ตในทกุ สง�ิ (FINANCE AND BANKING) (NETWORKING AND INTERNET OF THING: IOT) การซ้อื ขายหนุ บัตรกํานัลและโปรแกรม (STOCK TRADING) สรางความภกั ดี อสังหาร�มทรพั ย (GIFT CARDS AND (REAL ESTATE) LOYALTY PROGRAMS) การบรห� ารจัดการหวงโซอปุ ทาน ธุรกิจพลังงาน (ENERGY (SUPPLY CHAIN MANAGEMENT) BUSINESS) แหลง เก็บขอมลู แบบออนไลน (CLOUD STORAGE) ธรุ กิจประกันภัย ธุรกิจกีฬา (INSURANCE) (SPORT BUSINESS) ธุรกจิ สขุ ภาพ (HEALTHCARE) รปู ภาพท่ี 12: การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain ในภาคสว่ นต่าง ๆ บทนำ� 49
ดังนั้นจากข้อมูลการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain ในภาคส่วนต่าง ๆ ดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้นทำ� ให้สามารถจัดกลุ่มการพัฒนา Application ท่ีท�ำงาน อย่บู นพนื้ ฐานของเทคโนโลยี Blockchain ไดเ้ ปน็ 4 กลุ่มดงั แสดงในรปู ภาพท่ี 13 Key Blockchain Application Groupings Transfers Identity Wagers Transportation Payments Ownership Bounties Healthcare Tips Membership Family trust Online Storage Crowd Funding Voting Escrows Mesh Networks Examples: Examples: Examples: Examples: Bitcoin, OneName, (Ethereum) Mist, Lo Zooz, Storj, Coinbase, Mine, Streamium SmartContract, MaidSafe, etc, OpenBazaar, Secure Asset OpenGarden, Swarm Exchange Bitnation Increasing complexity and time-to-delivery รปู ภาพที่ 13: การจ�ำแนกกลมุ่ Blockchain Application ที่มา: ปรับปรงุ จาก (Umeh, 2016) 50 BLOCKCHAIN for GOVERNMENT SERVICES
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192