Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่อง การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและหลักการศาสนาอิสลาม

เรื่อง การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและหลักการศาสนาอิสลาม

Description: คู่มือเสรืมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่คู่สมรส มารดาหลังคลอดและครอบครัว เรื่อง การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและหลักการศาสนาอิสลาม-EditMA

Search

Read the Text Version

คูม อื เสรมิ สรา งความรูความเขา ใจ แกคูสมรส มารดาหลังคลอด และครอบครวั เร่ือง การสรา งเสรมิ ภมู คิ มุ กนั โรค และหลักการศาสนาอิสลาม สําหรับคณะกรรมการอิสลามประจาํ จังหวัดและเจา หนาทส่ี าธารณสุข ผเู ขยี น ดร.ประภาภรณ หลงั ปเู ตะ ดร.ฆอซาลี เบ็ญหมดั ซารนี ะฮ ระนี คมู ือฉบับนไี้ ดร ับการสนับสนุนจาก ศูนยอํานวยการบรหิ ารจังหวดั ชายแดนใต (ศอ.บต.) และสถาบนั วคั ซนี แหง ชาติ



คูม อื เสรมิ สรา งความรูความเขา ใจแกคสู มรส มารดาหลงั คลอด และครอบครัว เร่อื ง การสรา งเสรมิ ภมู คิ มุ กนั โรค และหลักการศาสนาอิสลาม สําหรับคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดและเจา หนา ทสี่ าธารณสขุ ผูเขียน ดร.ประภาภรณ หลงั ปเู ตะ ดร.ฆอซาลี เบญ็ หมัด ซารนี ะฮ ระนี คมู ือฉบับน้ีไดร บั การสนับสนนุ จาก ศนู ยอาํ นวยการบรหิ ารจังหวัดชายแดนใต (ศอ.บต.) และสถาบนั วัคซนี แหงชาติ

ISBN : 978-616-235-338-3 พมิ พค ร้ังท่ี : 1 จํานวนพมิ พ : 3,000 เลม ปทีพ่ ิมพ : 2562 ผเู ขยี น : ดร.ประภาภรณ หลังปเู ตะ ดร.ฆอซาลี เบญ็ หมดั จดั พมิ พโดย : ซารนี ะฮ ระนี ออกแบบรปู เลม : ศนู ยอ ํานวยการบริหารจงั หวดั ชายแดนใต (ศอ.บต) พมิ พท ่ี : หสม. เพน ทบ อ็ กซ ครเี อทีฟ สตูดิโอ หสม. เพน ทบ็อกซ ครเี อทฟี สตูดโิ อ 0815996575, 0820212200 การผลติ และการลอกเลยี นแบบหนังสือเลมน้ไี มว า รูปแบบใด ๆ ตอ งไดร ับอนญุ าตเปน ลายลักษณอักษรจากผูเขียน ยกเวนกรณีการอางอิงเน้ือหาเพ่ือการศึกษาคนควาเชิงวิชาการ เทา นั้น

คํานาํ ขอความสันตจิ งมีแดท ุกทา น คูมือ “การสรางเสริมภูมิคุมกันโรคและหลักการศาสนาอิสลาม” ฉบับน้ี จัดทําข้ึนเพื่อเปนคูมือสําหรับคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดและเจาหนาท่ี สาธารณสขุ ในพนื้ ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใต ในการจดั อบรมใหค วามรแู กค สู มรส มารดา หลังคลอดและครอบครัวมุสลิมในพ้ืนที่ เพ่ือเสริมสรางความรูและความเขาใจที่ ถูกตองเกี่ยวกับการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค และหลักการศาสนาอิสลาม โดยมี เปาหมายเพื่อปองกันการแพรระบาด ความเจ็บปวย และการเสยี ชีวิตจากโรคตดิ ตอ ทีป่ องกันไดด วยวคั ซนี ในเด็กอายุ 0-5 ปในพ้ืนท่จี งั หวดั ชายแดนใต คมู อื ฉบบั นี้ ไดก ลา วถงึ เนอื้ หาหลกั ไดแ กค วามรพู นื้ ฐานเกย่ี วกบั การสรา งเสรมิ ภูมิคุมกันโรค และหลักการศาสนาอิสลามเกี่ยวกับการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ซึ่งเขียนโดยนักวิชาการดานการแพทยและการศาสนาที่มีประสบการณการทํางาน ในพืน้ ทีจ่ งั หวดั ชานแดนใต ตลอดจนแนวทางการวินจิ ฉัย (ฟต วา) ปญ หาศาสนาของ องคกรตาง ๆ ในโลกมุสลิม โดยไดรับการสนับสนุนจากสถาบันวัคซีนแหงชาติ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนใต (ศอ.บต) โดยมี นายประเวศ หมีดเส็น ผชู ว ยเลขาธิการ ศอ.บต. (ดา นสาธารณสขุ ) และนายดํารงค อนิ โท เจา พนักงานสาธารณสุขอาวโุ ส ปฏบิ ตั หิ นาทผี่ ูอาํ นวยการกลงุ งานสง เสรมิ การ ศึกษาและเสริมสรางโอกาสทางสังคม กองสงเสริมและสนับสนุนงานพัฒนาฝาย พลเรอื น ศนู ยอํานวยการบริหารจงั หวัดชายแดนภาคใต เปน ผูประสานงาน ผูเขยี น ดร.ประภาภรณ หลงั ปเู ตะ ดร.ฆอซาลี เบญ็ หมัด ซารนี ะฮ ระนี

สารบัญ คาํ นํา สารบญั บทท่ี 1 8 ความรูพ้นื ฐานเก่ยี วกับการสรา งเสรมิ ภมู ิคุมกันโรค 8 กลไกการตอบสนองทางภมู ิคุม กนั ของรา งกาย 8 ชนดิ ของการสรา งเสรมิ ภูมคิ ุมกนั โรค 9 ภมู ิคมุ กนั หมู 13 ความหมายและประเภทของวคั ซีน 15 วัคซนี พ้นื ฐาน 16 โรคท่ีปอ งกนั ไดด วยวัคซนี 20 สง่ิ ทคี่ วรแจง ใหเ จาหนา ทีท่ ราบกอ นฉดี วคั ซนี 20 คาํ แนะนําในการปฏบิ ตั ติ วั ภายหลงั ไดรบั วคั ซนี 21 อาการแทรกซอ นทีไ่ มพ ึงประสงคภ ายหลังไดร บั วคั ซีน 22 บรรณานุกรม บทที่ 2 25 หลกั การศาสนาเกี่ยวกบั การสรางเสรมิ ภมู ิคุมกนั โรค 26 หลักการอสิ ลามกับการดแู ลสุขภาพ 31 อสิ ลามกับการปองกนั โรค 32 หลกั มะกอซิดชาริอะหหรือเจตนารมณแ หง บทบญั ญัตอิ ิสลาม 33 ขอ สงสยั เกย่ี วกับการใหวัคซนี 35 เงือ่ นไขใหว ัคซีนกรณีจาํ เปนสุดวสิ ัย ภาคผนวก 37 ฟตวาของศนู ยก ฎหมายอิสลามนานาชาติ กรณีใหวคั ซนี ปอ งกนั โปลิโอและอ่ืน ๆ 43 ฟต วาของคณะกรรมการถาวรเพอ่ื การฟตวาและการวจิ ัย ในประเทศซาอุดิอาระเบีย 43 ฟตวาของชัยคอบั ดลุ อาซีซ บนิ บาซ ผูน ําศาสนาอสิ ลามในประเทศซาอดุ อิ าระเบยี 45 ฟต วาของมฟุ ตียป ระเทศอียปิ ต 45 ฟต วาของจฬุ าราชมนตรี ท่ี 06/2556 เรื่อง การใหวัคซนี เพื่อปองกันโรคโปลิโอและโรคอ่ืน ๆ 47 ฟต วาของ ดร.ยซู ฟุ กอรฏอวยี  47 ฟต วาของมฟุ ตียรัฐเปรัก มาเลเซีย 47 ฟตวาของสภาอุลามาอแ อฟริกา 48 ประวัติผเู ขียน

บทท่ี 1 ความรูพนื้ ฐาน เกีย่ วกบั การสรา งเสรมิ ภูมิคมุ กันโรค

บทที่ 1 ความรูพ ้ืนฐานเกี่ยวกับการสรางเสรมิ ภมู คิ ุม กนั โรค ดร.ประภาภรณ หลงั ปเู ตะ ซารนี ะฮ ระน1ี กลไกการตอบสนองทางภมู คิ มุ กนั ของรางกาย เมอื่ รา งกายไดรับวคั ซีนเปน คร้งั แรก รางกายจะตอบสนองโดยสรา งภมู คิ มุ กนั ข้ึนอยา ง รวดเร็ว และรางกายก็จะจดจําเชื้อในวัคซีนนี้ไว ดังน้ันเม่ือไดรับเช้ือหรือวัคซีนน้ีอีกรางกายจะ ตอบสนองเรว็ กวา และสรา งภมู คิ มุ กนั ไดม ากกวา อยนู านกวา และมปี ระสทิ ธภิ าพดกี วา ครง้ั แรก จึงเปนท่ีมาของการใหวัคซีนหลายคร้ัง ท้ังนี้เพื่อใหรางกายสรางภูมิคุมกันโรคไดนานหลายป แมวา เด็กจะมารับวัคซีนลา ชากวา กําหนด ก็ไมจ ําเปนตองเริม่ ตน ใหมไมว าจะนานเทา ใด เพราะ รางกายยังจะจําเช้ือนั้นไดจึงสามารถสรางภูมิคุมกันไดทันที แตถาใหวัคซีนใกลกันเกินไปอาจ ทาํ ใหเ กดิ ภมู คิ ุมกนั ในระดบั ตํา่ กวาทคี่ วรจะเปน เพราะระดบั ภูมคิ มุ กนั ในรา งกายทเ่ี กิดจากการ ไดร ับวคั ซีนคร้ังแรกยงั คงสงู อยู จึงเขาไปจับกบั เชือ้ ในวคั ซนี ทีไ่ ดรบั เขา ไปใหมท าํ ใหก ารกระตนุ ภูมคิ มุ กนั ไมมีประสิทธิภาพ รา งกายสรางสารภูมคิ ุม กนั กระตุนใหรา งกายสรางภมู คิ ุมกัน เพ่ือตอ สกู ับเชื้อโรค ดวยการใหวคั ซีน จดจําเชื้อไว เมอื่ มกี ารตดิ เชือ้ ซํ้ารา งกายกส็ ามารถ จดั การกับเชื้อโรคไดอยา งรวดเรว็ ชนิดของการสรา งเสริมภูมิคุมกนั โรค การสรา งภูมิคมุ กันของรางกาย แบง เปน 2 ชนดิ ไดแ ก 1) การกระตุน ใหร างกายสรา งภูมคิ ุมกนั ขึ้นเอง เชน การเกดิ ภมู ิคุม กนั ภายหลงั การ ตดิ เชือ้ ตามธรรมชาติ และการเกิดภูมคิ มุ กนั ภายหลงั ไดร ับวัคซนี 8(1) คมู ือเสอรามิ จสารรา งยค โวคามรงรคูกวาารมจเขดั าตใจ้งั แคกณค ูสะมพรยสามบาารลดศาหาลสงั ตครล อมดหแาลวะทิครยอาบลคยั รฟัวาฏอนี เรอ่ื ง การสรางเสริมภูมิคุมกนั โรค และหลักการศาสนาอิสลาม

2) การใหภ ูมิคุมกันตอโรคโดยตรงเพ่อื ปอ งกนั ไมใ หเกดิ โรค คือ การไดรบั ภูมิคุมกนั โดยตรง โดยรา งกายไมไ ดส รา งเอง เชน ทารกในครรภจ ะไดร บั ภมู คิ มุ กนั บางชนดิ ผา นรกจากแม สลู กู และการไดร บั ภมู คิ มุ กันสําเรจ็ รูป เชน การไดร บั เซรมุ หรอื แกรมมา โกลบลู ิน ภูมิคุม กนั หมู การใหวัคซีนเปน วธิ ีท่ดี ีท่สี ุดทีจ่ ะชว ยใหร างกายสรางภูมิคมุ กนั เลยี นแบบธรรมชาติ แต ในความเปนจริงยังมีประชาชนบางสวนไมเขาใจอยางถองแทถึงประโยชนท่ีจะไดรับจากวัคซีน จงึ ไมใ สใ จพาบตุ รหลานของตนเองไปรบั วคั ซนี ตามกาํ หนด นอกจากนย้ี งั มเี ดก็ เกดิ ใหม มคี นยา ย ภมู ลิ ําเนาอยูเ สมอ และมีคนบางคนท่เี จ็บปว ยหรือมสี ภาพรา งกายไมพ รอมทจี่ ะไดรับวัคซนี จึง ทําใหมีโอกาสท่ีจะปวยดวยโรคติดตอที่ปองกันไดดวยวัคซีน เน่ืองจากไมมีภูมิคุมกัน ดังน้ันจึง ตองอาศัยการปองกันโรคจากกลุมประชากรท่ีมีภูมิคุมกันตอโรคแลว ซึ่งเรียกวาการสราง ภูมคิ มุ กันหมู (Herd immunity หรอื Community immunity) ภมู คิ มุ กนั หมู จะเกดิ ขน้ึ ไดต อ เมอื่ โรคนนั้ เปน โรคทตี่ ดิ ตอ จากคนสคู น หรอื ไมม แี หลง รงั โรคอืน่ นอกจากในคน ดงั น้ันการสรางภมู คิ ุมกนั หมจู งึ ไมส ามารถปองกันการระบาดของโรคทุก โรค เพราะโรคบางโรคไมไดตดิ ตอ จากคนสูคน เชน โรคบาดทะยกั ซ่ึงเกดิ จากการไดร บั เชือ้ โรค จากสิง่ แวดลอมโดยผา นทางบาดแผล ดังนน้ั เราจึงตองสรางภมู ิคมุ กันใหแกตนเอง 9คมู อื เสรมิ สรา งความรูความเขาใจแกคสู มรส มารดาหลงั คลอด และครอบครวั เร่ือง การสรางเสรมิ ภมู ิคมุ กันโรค และหลักการศาสนาอิสลาม

ภมู คิ มุ กันหมู ทม่ี า: ดัดแปลงจาก The National Institute of Allergy and Infectious Disease (NIAID) 10 คมู ือเสริมสรา งความรูค วามเขา ใจแกคสู มรส มารดาหลังคลอด และครอบครัว เรื่อง การสรา งเสริมภมู คิ ุมกนั โรค และหลักการศาสนาอสิ ลาม

ทง้ั นค้ี า รอ ยละทนี่ อ ยทส่ี ดุ ทปี่ ระชากรควรไดร บั วคั ซนี ปอ งกนั โรคนนั้ ๆ มคี า แตกตา งกนั ตามแตล ะชนดิ ของโรค (ดงั ตารางท่ี 1) ความแตกตา งดงั กลา วขน้ึ อยกู บั ความสามารถในการแพร กระจายของเชอื้ โรควา ผปู ว ย 1 ราย จะแพรเ ชอ้ื ตอ ใหผ อู นื่ ไดก รี่ าย เชน โรคหดั มคี า ความสามารถ ในการแพรก ระจายโรค 12-18 หมายความวาผปู ว ยหดั 1 คน สามารถทาํ ใหผอู ่ืนตดิ เช้ือหัดได อกี 12-18 คน ตารางที่ 1 ความสามารถในการแพรก ระจายโรค และคารอยละทน่ี อ ยที่สดุ ทปี่ ระชากรควรไดร ับวคั ซีนโรคนน้ั ๆ โรค การถา ยทอดโรค ความ คา รอ ยละท่ี สามารถใน นอ ยทส่ี ุดที่ หดั การแพร ประชากรควร ไอกรน กระจายโรค ไดรบั วัคซีน คอตีบ โรคนั้น ๆ ระบบทางเดิน 12-18 83-94% หายใจ 12-17 92-94% ระบบทางเดิน 6-7 85% หายใจ ระบบทางเดนิ หายใจ โปลิโอ ผานเขาทางปาก 5-7 80-86% หัดเยอรมัน ระบบทางเดนิ 5-7 80-85% หายใจ คางทูม ระบบทางเดนิ 4-7 75-86% หายใจ ทีม่ า: ดดั แปลงจาก © Tangled Bank Studios; data from Epidemiologic Reviews 1993 11คมู อื เสริมสรา งความรูความเขา ใจแกค สู มรส มารดาหลังคลอด และครอบครัว เร่ือง การสรา งเสริมภมู คิ ุมกนั โรค และหลกั การศาสนาอิสลาม

12 คูมอื เสรมิ สรา งความรคู วามเขา ใจแกคูสมรส มารดาหลังคลอด และครอบครัว เรื่อง การสรา งเสรมิ ภมู คิ ุม กันโรค และหลกั การศาสนาอสิ ลาม

ความหมายและประเภทของวคั ซนี วคั ซนี หมายถงึ ชวี วตั ถทุ ผ่ี ลติ ขน้ึ เพอื่ ใชก ระตนุ ใหร า งกายสรา งภมู คิ มุ กนั โรค สามารถ จาํ แนกไดเ ปน 3 ประเภท ไดแ ก ประเภทที่ 1 ทอกซอยด เปน วัคซนี ที่ไดจากพษิ ของเช้อื แบคทเี รียมาปรับแตงทําให สิ้นพิษ แตยังสามารถกระตุนใหรายกายสรางภูมิคุมกันได เชน วัคซีนคอตีบ และวัคซีน บาดทะยกั โดยท่ัวไปจะทาํ ใหม ไี ขหรือปฏิกริ ยิ าเฉพาะท่ี เชน อาการบวมแดง เจบ็ บรเิ วณท่ี ฉดี และมีไขได ทมี่ า: ดดั แปลงจาก HealthSolf, Inc. ประเภทที่ 2 วคั ซนี ชนดิ เชือ้ ตาย แบง เปน 2 ชนิด ไดแก 2.1 วัคซีนท่ีทาํ จากแบคทเี รยี หรอื ไวรสั ทั้งตัวทที่ าํ ใหตาย โดยวคั ซนี ที่ทํามาจากเชอ้ื แบคทีเรียมักจะทําใหเกิดปฏิกิริยาบริเวณท่ีฉีด บางครั้งอาจมีไขดวย วัคซีนในกลุมน้ีไดแก วัคซีนไอกรน วัคซีนโปลิโอชนดิ ฉดี วัคซีนไขส มองอักเสบเจอีชนดิ น้าํ 13คมู อื เสรมิ สรางความรคู วามเขา ใจแกคูสมรส มารดาหลงั คลอด และครอบครัว เร่ือง การสรางเสรมิ ภูมคิ ุมกันโรค และหลักการศาสนาอสิ ลาม

2.2 วคั ซนี ทีท่ าํ จากบางสวนของแบคทเี รียหรอื ไวรัส วัคซนี ในกลมุ นี้ มกั มีปฏกิ ิรยิ าหลัง ฉีดนอ ย เชน วัคซีนตบั อกั เสบบี วคั ซีนไขหวดั ใหญ วคั ซนี ฮบิ และวคั ซีนไอกรนชนดิ ไรเ ซลล ท่ีมา: ดดั แปลงจาก slidePlayer: Vaccines by Jeffry Davis สืบคนเมอ่ื 9 ก.ย. 2562 จาก https://slideplayer.com/slide/11879901/ ประเภทท่ี 3 วัคซีนชนิดเชื้อเปนออนฤทธิ์ ทําจากเช้ือที่ยังมีชีวิตอยูแตทําใหฤทธ์ิ ออ นลงแลว เชน วคั ซนี วณั โรค (BCG) วคั ซนี โปลโิ อชนดิ กนิ และวคั ซนี รวมหดั -คางทมู -หดั เยอรมนั วัคซีนในกลุมนี้เมื่อใหเขาไปในรายกายแลวจะยังไมมีปฏิกิริยาทันทีหลังฉีด แตอาจมีอาการ ขา งเคียงเล็กนอ ยหลงั จากรบั วัคซนี แลวประมาณ 1 สัปดาห 14 คมู อื เสริมสรางความรูความเขา ใจแกคสู มรส มารดาหลังคลอด และครอบครวั เรอ่ื ง การสรางเสรมิ ภมู คิ มุ กนั โรค และหลักการศาสนาอสิ ลาม

วัคซนี พ้ืนฐาน เชอื้ โรคสามารถเขา สรู า งกายได 6 ทาง ไดแ ก ระบบทางเดนิ หายใจ ระบบทางเดนิ อาหาร ผวิ หนัง เย่อื บุตา ง ๆ ระบบอวัยวะสืบพนั ธุ และสายสะดอื ซง่ึ การใหว ัคซีนเปนวิธหี น่งึ ทน่ี ยิ มนาํ มาใชใ นการปอ งกนั โรคและควบคมุ โรคหลายชนดิ โดยทก่ี ระทรวงสาธารณสขุ กาํ หนดใหเ ดก็ ไทย ทกุ คนตอ งไดร บั วัคซนี พนื้ ฐานท่จี ําเปน จํานวน 14 ชนดิ ซงึ่ เปนวัคซนี ปอ งกันโรคสาํ คญั ๆ ท่ี ติดตอไดงาย หรือโรคที่กอใหเกิดอาการรุนแรงอันตรายในเด็ก และวัคซีนที่อาจใหเสริมหรือ ทดแทนโดยไดแ บง ฉดี ในชวงอายตุ า ง ๆ ตามตารางตอ ไปนี้ ทมี่ า: สมาคมโรคตดิ เชือ้ ในเด็กแหงประเทศไทย, 2562 การใหว คั ซนี ปอ งกนั โรคเหลา นส้ี ามารถทาํ ไดโ ดยการกนิ การฉดี เขา ในผวิ หนงั ใตผ วิ หนงั หรอื กลา มเนอ้ื ซงึ่ การใหว คั ซนี ดว ยวธิ กี ารใดขน้ึ อยกู บั ชนดิ ของวคั ซนี และขอ กาํ หนด ไดแ ก อายุ ที่ควรไดรับวคั ซนี จาํ นวนคร้ังท่ตี อ งใหว คั ซนี และระยะเวลาทไี่ ดร บั วัคซีนกอนหนา เปนตน 15คูม ือเสรมิ สรา งความรคู วามเขาใจแกค สู มรส มารดาหลังคลอด และครอบครัว เรอ่ื ง การสรา งเสรมิ ภูมิคุมกันโรค และหลักการศาสนาอิสลาม

โรคที่ปอ งกนั ไดด วยวัคซนี สาระสําคัญของโรคตา ง ๆ ท่ปี องกนั ไดด ว ยวัคซีนสรุปไดด งั นี้ 1. วัณโรค มีสาเหตุจากแบคทีเรีย Myco- ตัวเหลือง ในรายที่เจ็บปวยรุนแรงมาก อาจ bacterium tuberculosis เชื้อนี้ ตดิ ตอจาก ทําใหเกิดภาวะตับวายและเสียชีวิต เด็กแรก คนสูคนทางละอองฝอยของเสมหะและลอง เกดิ ถงึ หนง่ึ ปท ต่ี ดิ เชอ้ื ไวรสั ตบั อกั เสบบี มกั ไมม ี ลอยในอากาศไดน าน ผตู ดิ เชอื้ สว นมากจะไมม ี อาการแสดงแตมีโอกาสติดเช้ือเรื้อรังไดสูงถึง อาการ เรียกวา วณั โรคระยะแฝง แตสามารถ รอ ยละ 80-90 เกิดเปนโรคในภายหลังไดหากรางกายไม แข็งแรง อาการท่ีพบไดเร็วท่ีสุดประมาณ 3. โรคคอตบี 1-6 เดือน ไดแก ไขเ รอื้ รงั เบื่ออาหาร ซึม น้ํา มีสาเหตุจากแบคทีเรีย Coryne- หนกั ลด ซดี ไอเรอื้ รงั และตอ มาอาจลกุ ลามไป ยังอวัยวะอ่ืน เชน เยื่อหุมสมอง กระดูก bacterium diphtheria โรคนี้ติดตอไดจาก และตอ มนํา้ เหลอื ง เปนตน การรบั เชอื้ ทอ่ี ยใู นละอองเสมหะ นา้ํ มกู นา้ํ ลาย ของผูปวยเขา สูร างกายทางระบบหายใจ และ อาจไดร บั เชอ้ื จากการใชภ าชนะรว มกนั ได เมอื่ ติดเชื้อจะทําใหมีไขและอาการคลายหวัดใน ระยะแรก ไอเสียงกอง เจ็บคอ เบื่ออาหาร ตรวจในคอจะพบเย่ือสีขาวปนเทาที่บริเวณ ทอนซลิ และลน้ิ ไก พษิ ของเชอื้ นจ้ี ะทาํ ใหก ลา ม เนอื้ หวั ใจและปลายประสาทอักเสบได ท่ีมา สมาคมอุรเวชชแหง ประเทศไทย สบื คนเมอ่ื 9 ก.ย. 2562 จาก https://www.thoracicsocietythai. org/2018/06/22/tb-interesting-facts/ 2. โรคตบั อักเสบบี ท่มี า : Medthai สบื คน เม่อื 9 ก.ย. 2562 มีสาเหตุจากเชื้อไวรัส Hepatitis B จาก https://medthai.com/%E0%B9%82% E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%84%E โรคนต้ี ดิ ตอ ทางเลอื ดและทางเพศสมั พนั ธแ ละ 0%B8%AD%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0 จากมารดาสทู ารกในขณะคลอด ผตู ดิ เชอ้ื จะมี %B8%9A/ อาการออนเพลีย มีไข เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดใตช ายโครงขวา ปสสาวะสีเขม ตาเหลอื ง 16 คมู ือเสริมสรา งความรคู วามเขาใจแกคสู มรส มารดาหลังคลอด และครอบครวั เรือ่ ง การสรางเสรมิ ภมู คิ ุมกนั โรค และหลกั การศาสนาอิสลาม

4. โรคไอกรน 7. โรคหดั มีสาเหตุจากแบคทีเรีย Bordetella มสี าเหตุจาก Measles virus โรค pertussis การตดิ ตอ ของโรคเกิดจากการหายใจเอา หัดติดตอไดงายมากโดยการสูดดมละออง ละอองเสมหะ นาํ้ มูก นํ้าลายของผูปว ยเขา สูรา งกาย ฝอยของสารคัดหล่ัง จากระบบทางเดิน ผปู ว ยจะมอี าการนา้ํ มกู ไหล คดั จมกู ไอถ่ี ๆ ตดิ ตอ กนั หายใจทั้งเสมหะ น้ํามูก นํ้าลายของผูปวย เปนชดุ และหายใจเขาลึก ๆ เปน เสยี งวปู (Whoop) เขาสูรางกาย อาการเดนของโรค คือ ไข ซ่งึ ทําใหผปู ว ยขาดอากาศหายใจและตายได นา้ํ มกู ไหล ไอ ตาแดง และผน่ื แดงทกี่ ระจาย 5. โรคบาดทะยัก ไปท่ัวตัว อาจมีโรคแทรกซอนได เชน หู อกั เสบ ปอดอกั เสบ และสมองอกั เสบ ซง่ึ ใน มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย Clostridium เดก็ เลก็ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ถา ขาดวติ ามนิ เอ tetani ผปู ว ยโรคนไี้ ดร บั เชอ้ื ผา นทางบาดแผลลกึ และ อาจเสียชีวิตจากโรคแทรกซอนทางปอด ปด เชน ถกู หนาม หรอื ตะปตู าํ หรือแผลจากการตัด และสมองได สายสะดือดวยของมีคมที่ไมสะอาด อาการท่ีสําคัญ คือ ขากรรไกรแข็งอาปากไมได หนาแบบยิ้มแสยะ ท่มี า https://th.theasianparent.com กลา มเนอ้ื แขนขาเกรง็ หลงั แขง็ และแอน ถา มเี สยี งดงั หรือจับตองตัวจะชักกระตุกมากข้ึน หนาเขียวและ 8. โรคคางทมู เสยี ชวี ติ ได มีสาเหตุจากเชื้อ Mumps virus 6. โรคโปลิโอ โรคนต้ี ดิ ตอ โดยการหายใจเอาละอองฝอยท่ี มสี าเหตจุ ากเชอ้ื Polio virus โรคนต้ี ดิ ตอ มีเช้ือ ซ่ึงอยูในลําคอนํ้าลายของผูปวยท่ีไอ โดยการรบั เชอื้ ทปี่ นเปอ นมากบั อจุ จาระของผปู ว ย หรือจามออกมา หรือ สัมผัสโดยตรงกับ เขา สรู า งกายทางปาก อาการทสี่ าํ คญั คอื มอี าการ น้ําลายของผูติดเชื้อ ทําใหมีตอมน้ําลาย อมั พาต กลา มเนอื้ แขนขาลบี ไดห ากเปน อมั พาตท่ี อักเสบบวมโต ซึ่งสวนใหญเ ปน ตอ มนาํ้ ลาย กลา มเน้ือกระบงั ลม ผปู วยอาจเสียชวี ิตได หนาหู อาจเกิดอัณฑะอักเสบในผูชายซ่ึง ทาํ ใหเ ปน หมนั ได และรงั ไขอ กั เสบในผหู ญงิ ทีม่ า www.wikimedia.org (by CDC, USAID) ซงึ่ มกั พบในเดก็ โตหรอื ผใู หญ โรคแทรกซอ น ที่สําคญั ไดแก เยือ่ หุมสมองอักเสบ สมอง อกั เสบ หูหนวกเสน ประสาทหอู ักเสบ 17คมู อื เสริมสรางความรูความเขา ใจแกค สู มรส มารดาหลงั คลอด และครอบครัว เรือ่ ง การสรางเสริมภมู ิคมุ กันโรค และหลักการศาสนาอิสลาม

18 คูมอื เสรมิ สรา งความรคู วามเขา ใจแกคูสมรส มารดาหลังคลอด และครอบครัว เรื่อง การสรา งเสรมิ ภมู คิ ุม กันโรค และหลกั การศาสนาอสิ ลาม

9. โรคหดั เยอรมัน 12. โรคไขหวดั ใหญ มสี าเหตจุ ากเชอื้ Rubella virus หาก มีสาเหตุจากเชื้อไวรัส Influenza หญิงต้ังครรภติดเช้ือหัดเยอรมันระหวาง 3 virus ติดตอโดยการหายใจเอาละอองฝอย เดอื นแรกของการตัง้ ครรภ เชอ้ื ไวรสั จะผา นไป เขาไป หรือสัมผัสโดยตรงกับน้ําลายของผูติด ยังทารกในครรภ ทําใหทารกที่คลอดออกมามี เชอ้ื มอี าการสาํ คญั ไดแ ก ไขส งู หนาวสนั่ ปวด ความพกิ ารทางหู ตา หวั ใจและสมอง ดงั นน้ั ควร เม่ือยกลา มเนื้อ ไอ เจบ็ คอ ออนเพลีย ผูปวยท่ี ฉดี วคั ซนี ปอ งกนั โรคกอ นตง้ั ครรภห รอื หลกี เลยี่ ง มีอาการแทรกซอนรุนแรงอาจมีอาการหายใจ การฉดี วคั ซนี นใ้ี นขณะตง้ั ครรภ การตดิ เชอื้ เกดิ หอบเหน่ือยจากการมีปอดอักเสบ อันเปน จากการหายใจเอาละอองเสมหะ นาํ้ มกู นาํ้ ลาย สาเหตุของการเสียชีวิต ในบุคคลทั่วไปผูปวย ของผปู วยเขาสูรางกาย อาการสําคัญ คือ มไี ข มักหายไดเองใน 5-7 วัน และไมมีอาการ และผื่นขึ้นทั่วตัวคลายหัด แตตอมน้ําเหลืองท่ี แทรกซอนรุนแรง แตในผูท่ีมีปญหาทาง หลงั หู ทายทอย และหลงั คอโตดว ย สุขภาพ ผูสูงอายุ และหญิงต้ังครรภอาจเกิด 10. โรคไขสมองอักเสบเจอี อาการปวยรนุ แรงได มีสาเหตุจากเช้ือ Japanese B 13. โรคตดิ เชอ้ื ฮิบ encephalitis virus โรคนี้มียุงรําคาญเปน มีสาเหตุจากการติดเช้ือแบคทีเรีย พาหะ และมหี มเู ปน แหลง รงั โรคทสี่ าํ คญั อาการ Haemophilus influenzae type B ซงึ่ เปน ที่สําคัญ คอื มไี ข ปวดศีรษะ อาเจียน ซมึ จน เช้ือกอโรครุนแรงในเด็กเล็กหลายโรค โดย ไมร สู กึ ตวั ชกั เกรง็ และอาจเสยี ชวี ติ ได หากรอด เฉพาะเดก็ ท่อี ายุต่ํากวา 2 ป เชน โรคเยอ่ื หุม ชีวติ ผปู ว ยมักมีความพกิ ารทางสมองตามมา สมองอกั เสบ โรคปอดอักเสบ ภาวะติดเชื้อใน กระแสเลอื ด โรคขอ อกั เสบ และโรคหชู นั้ กลาง 11. โรคมะเรง็ ปากมดลูก อกั เสบ สวนใหญมีสาเหตุจากเช้ือ Human papillomavirus โดยเฉพาะสายพนั ธุ 16 และ 14. โรคอจุ จาระรว งจากไวรสั โรตา 18 ท่เี ปนสาเหตใุ หเกิดมะเรง็ ปากมดลูกในคน มสี าเหตจุ ากเชอื้ Rotavirus ซงึ่ มกั ตดิ ไทยถึงรอยละ 70-90 และนับเปนโรคติดตอ เชอื้ จากการรบั เชอื้ ไวรสั เขา ทางปาก แลว ทาํ ให ทางเพศสัมพันธ โดยผูที่มีความเสี่ยงตอการ เกดิ โรคอจุ จาระรว ง อาการสาํ คญั คอื มไี ข ถา ย เกดิ โรคไดแ ก ผทู ่ีมเี พศสมั พนั ธตงั้ แตอายุนอย เหลว อาเจียน เกิดภาวะขาดนํ้า จนทาํ ใหเ สีย มีคูนอนหลายคน และผูที่มีภูมิตานทานต่ํา ชีวิตจากภาวะชอค มักพบบอยในเด็กอายุต่ํา ผปู ว ยโรคมะเรง็ ปากมดลกู ในระยะแรกมกั ไมม ี กวา 5 ป อาการ แตจะแสดงอาการอยูในระยะลุกลาม โดยอาการที่สําคญั คือ เลือดออกผิดปกติทาง ชองคลอด ออ นเพลยี ปวดทอ งนอ ย ปวดหลงั ปวดขา เปนตน 19คูมอื เสริมสรา งความรคู วามเขา ใจแกค ูส มรส มารดาหลังคลอด และครอบครัว เรื่อง การสรา งเสรมิ ภูมิคมุ กันโรค และหลกั การศาสนาอสิ ลาม

สงิ่ ท่ีควรแจง ใหเจา หนาที่ทราบกอนฉีดวคั ซีน 1. ประวัติความเจ็บปวยในระยะ 1 สัปดาหท่ีผา นมา เพื่อประเมนิ ระดับความรนุ แรง หาก พบวามอี าการเล็กนอ ย เชน เปนหวดั ไอ ไขต าํ่ ๆ สามารถใหว ัคซนี ไดตามปกติ 2. ประวตั ิการแพย าหรอื สารอาหาร เชน ไขขาว หรืออาการผดิ ปกติภายหลงั ไดร บั วคั ซนี ใน ครั้งทีผ่ า น ๆ มา หากพบอาการเลก็ นอ ย เชน ผน่ื ขึ้น สามารถใหว คั ซีนไดต ามปกตแิ ละสังเกตอาการ หลงั ไดร บั วคั ซนี อยา งใกลช ิด แตถา เคยมีอาการแพร นุ แรง เชน หายใจลําบาก หมดสติ อาจตอ งงด วคั ซีนหรือเปลยี่ นชนดิ ของวัคซีน 3. ประวตั โิ รคประจาํ ตัวหรือภาวะเจ็บปวยเรอ้ื รงั 4. ประวตั ชิ กั หรอื มอี าการทางระบบประสาท เดก็ ทม่ี ปี ระวตั ชิ กั จากไข สามารถใหว คั ซนี ชนดิ นั้นตอไปได แตเด็กที่มีอาการชักจากความผิดปกติทางระบบประสาทตองงดรับวัคซีนชนิดนั้นหรือ เปลี่ยนชนดิ วคั ซนี 5. ประวตั กิ ารเจบ็ ปว ยดว ยโรคหรอื การรกั ษาทท่ี าํ ใหภ มู คิ มุ กนั ของรา งกายตา่ํ เชน ผทู ต่ี ดิ เชอ้ื HIV หรือ AIDS เด็กที่มีภูมคิ มุ กันผิดปกตแิ ตก ําเนิด ผูทไ่ี ดรบั ยากดภมู ิคุม กนั ผทู ไี่ ดรับรังสีรักษาหรอื ยา เคมีบาํ บดั 6. ประวตั ิการไดรับอมิ มูโนโกลบูลิน พลาสมา เลอื ดหรือผลิตภัณฑจ ากเลือด 7. การต้งั ครรภ ควรแจง ใหเจาหนา ท่ที ราบกอนฉีดวคั ซนี หากอยูในระหวา งตง้ั ครรภ คาํ แนะนําในการปฏบิ ตั ิตวั ภายหลงั ไดร บั วคั ซนี ภายหลงั จากทไี่ ดรบั วัคซีนตอ งสังเกตอาการ 30 นาทีกอนกลับบา น อาการไมพงึ ประสงคท ี่ อาจพบไดภายหลังฉีดวคั ซีนและการดแู ลรกั ษา มดี งั นี้ 1) ปวด บวมแดง หรอื มกี อนแข็งบริเวณที่ฉดี วคั ซนี หากมีอาการปวดมาก ใหร ับประทาน ยาแกปวดตามคําสั่งแพทย และใหประคบเยน็ บริเวณทีฉ่ ดี วคั ซีน ในวนั แรก หลัง 24 ช่ัวโมงไปแลวให ประคบอนุ เพอ่ื ลดอาการบวม ดแู ลทาํ ความสะอาด และไมค วรนาํ ยาตา งๆไปทาบรเิ วณทฉ่ี ดี วคั ซนี หรอื นาํ ยาผงชนดิ ตา ง ๆ ไปทาบรเิ วณทฉ่ี ดี วคั ซนี และหากเกดิ กอ นแขง็ บรเิ วณทฉ่ี ดี วคั ซนี ใหป ระคบอนุ ตอ เนอ่ื ง ประมาณ 2-3 เดือน กอ นแข็งจะยบุ ลง 2) ไข มักพบบอยหลังจากฉีดวัคซีน คอตบี ไอกรน บาดทะยัก 1-2 วัน และอาจเกิด ขึน้ ไดหลังฉีดวัคซีนรวม หดั หดั เยอรมนั คางทมู ไปแลว ประมาณ 5-10 วนั ใหด แู ลดว ยการเชด็ ตวั ลดไขด ว ยนาํ้ อนุ และรบั ประทานยาลดไขป ระเภท พาราเซตามอลตามคาํ ส่ังแพทย 20 คูม อื เสรมิ สรางความรูค วามเขาใจแกค ูสมรส มารดาหลังคลอด และครอบครัว เรอื่ ง การสรางเสริมภมู ิคุมกันโรค และหลกั การศาสนาอสิ ลาม

3) ชัก อาการชกั มักไมเกิดจากผลของวัคซีนโดยตรง แตอาจเกดิ จากไขส ูงมากเกนิ ไป ดงั นน้ั การปอ งกนั ไมใ หม ไี ขส งู จงึ มคี วามสาํ คญั และเมอ่ื เกดิ อาการชกั ใหจ บั เดก็ นอนตะแคงหนา ไมค วรนาํ สงิ่ ใดมางัดหรือใสในปากขณะเด็กกําลังชักเกร็งเน่ืองจากอาจทําใหเกิดการบาดเจ็บในชองปากหรือฟน หลดุ เขาไปอดุ ในหลอดลม ซึ่งจะเปน อันตราย และควรนําสง โรงพยาบาลทันที 4) ผ่ืนขึ้นหลังจากฉีดวคั ซีน อาจเกิดไดจ ากการแพสว นประกอบในวคั ซนี หรอื ตัวเช้อื ที่อยูในวคั ซีนโดยตรง เชน หดั เยอรมัน คางทมู อสี ุกอใี ส เน่ืองจากเชอ้ื เหลานที้ าํ ใหเกดิ ไขอ อก ผน่ื อยแู ลว ผนื่ ทขี่ น้ึ จากการฉดี วคั ซนี มกั ไมอ นั ตราย อาจขนึ้ หลงั จากฉดี ไปแลว 5-10 วนั รว มกบั อาการมไี ขด ว ย แตห ลงั จากนนั้ ประมาณ 1 สปั ดาหก จ็ ะหายไปเอง แนะนาํ ใหส วมเสอ้ื ผา ทรี่ ะบาย อากาศไดดี หากผืน่ ข้ึนนานเกิน 7 วนั หรือเปน ผนื่ จากสาเหตุการแพรว มกบั อาการบวมรอบตา รมิ ฝปาก หายใจไมออก ควรรบี ไปพบแพทยทนั ที 5) ตมุ หนอง ที่เกิดจากวคั ซีนปอ งกนั ท่มี า : shuterstock.com วัณโรค (บีซีจี) จะพบบริเวณหัวไหลทารกได หลงั ฉดี ประมาณ 2-3 สปั ดาห และเปน ๆ ยบุ ๆ อยู 3-4 สัปดาหสามารถยุบหายเองได ไม จําเปนตองใสยาหรือปดแผล ใหร ักษาบริเวณ ตุมหนองใหสะอาด โดยใชสําลีสะอาดชุบนํ้า สะอาดเชด็ ผิวหนังรอบ ๆ ตุมหนองแลวปลอย ใหแหงไมใหเจาะ บงตุมหนอง หรือทายาฆา เช้ือ หากมีตุมหนองเกิดขึ้นเปนบริเวณกวาง ลามถงึ รกั แร หรอื ตอ มนาํ้ เหลอื งโต หรอื เกดิ ตมุ หนองบรเิ วณทฉี่ ีดวัคซนี อนื่ ๆ เชน ทห่ี นาขา ควรพามาพบแพทย อาการแทรกซอนทไ่ี มพงึ ประสงคภายหลังไดรบั วคั ซนี แมว า วคั ซนี จะผา นการตรวจสอบคณุ ภาพและความปลอดภยั แลว ยงั มโี อกาสในการกอ ใหเ กดิ อาการแพอ ยา งรนุ แรงจนถงึ ขนั้ ทาํ ใหเ สยี ชวี ติ ได ซง่ึ เปน ความผดิ ปกตทิ างการแพทยท เี่ กดิ ข้ึนภายหลังไดรับการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค และไมจําเปนตองมีสาเหตุจากการไดรับวัคซีน อาการผิดปกติท่เี กดิ ขน้ึ จําแนกไดเ ปน 2 ประเภท ดงั น้ี 1. อาการทไ่ี มร นุ แรง ไดแก อาการเฉพาะท่ี เชน ปวด บวม แดง บรเิ วณทฉี่ ีด อาการที่ เกดิ จากปฏิกริ ิยาตอระบบตา ง ๆ เชน มไี ข ผื่น ปวดกลามเนือ้ เปนตน 2. อาการทรี่ นุ แรง เชน ชกั เกลด็ เลอื ดตาํ่ อาการแพอ ยา งรนุ แรง (Anaphylaxis) เปน ตน แตพบไดนอย 21คมู อื เสรมิ สรางความรคู วามเขาใจแกคูส มรส มารดาหลังคลอด และครอบครวั เรื่อง การสรางเสรมิ ภูมิคุมกันโรค และหลักการศาสนาอิสลาม

สาเหตุของการเกิดอาการภายหลงั ไดรับการสรา งเสริมภูมิคุมกันโรค จําแนกไดเ ปน 5 ประการ ไดแ ก 1) เกิดจากวคั ซีน (Vaccine reactions) 2) ความผิดพลาดในการบริหารจดั การ (Programmatic error) 3) ความกังวลหรอื ความกลวั ตอ การฉดี วคั ซนี (Injection reactions) 4) เกิดขนึ้ โดยบงั เอญิ (Coincidental events) 5) ไมท ราบสาเหตุ (Unknown) การปอ งกนั คอื การใหข อ มลู หรอื ประวตั ติ า ง ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ งแกเ จา หนา ทท่ี กุ ครงั้ กอ นรบั วัคซีน และการเฝาระวังอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นภายหลังจากการไดรับวัคซีนอยางใกลชิด อยางนอ ย 30 นาที สังเกตความผดิ ปกติอยา งตอเนอ่ื งเม่อื กลับบา นไปแลว และรบี กลับมาพบ เจาหนาทีห่ ากมีความผิดปกตเิ กิดข้ึน เชน มีฝบริเวณที่ฉีด อมั พาตเฉยี บพลนั อาการแพ ปวดขอ ตาง ๆ เปน ตน บรรณานกุ รม กลุ กัญญา โชคไพบลู กจิ , เกษวดี ลาภพระ, จุฑารัตน เมฆมัลลิกา, ฐิติอร นาคบญุ นํา และอจั ฉรา ตั้งสถาพรพงษ บรรณาธกิ าร. (2558) ตําราวัคซนี และการสรางเสรมิ ภูมิคมุ กนั โรค พ.ศ. 2556. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา. ชษิ นุ พันธุเจริญ, สุธีรา ฉัตรเพริดพราย, ธันยวีร ภธู นกจิ , จรงิ จติ ร งามไพบูลย. คูม ือ Vaccine 2010 และประเด็นในการสอ่ื สาร. กรุงเทพฯ: ธนาเพรส. สมาคมโรคตดิ เชอื้ ในเดก็ แหง ประเทศไทย. (2562). ตารางการฉดี วคั ซนี ในเดก็ ไทยปกต.ิ กรงุ เทพฯ: สมาคมโรคติดเช้ือในเด็กแหง ประเทศไทย สถาบันวัคซีนแหงชาติ (องคกรมหาชน) (2561). หลักสูตรเชิงปฏิบัติการสําหรับเจา หนาท่สี รา งเสรมิ ภมู คิ ุมกันโรค. กรงุ เทพ. อมรินทรพริ้นต้งิ แอนด พับลิชชง่ิ โอฬาร พรหมาลิขิต, อัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ และอุษา ทิสยากร. (2558). วัคซีน. กรุงเทพฯ: นพชัยการพิมพ 22 คมู ือเสรมิ สรา งความรคู วามเขาใจแกคูสมรส มารดาหลังคลอด และครอบครัว เรือ่ ง การสรางเสริมภูมิคุมกันโรค และหลักการศาสนาอสิ ลาม

บทท่ี 2 หลกั การศาสนา เกี่ยวกับการสรางเสริม ภูมคิ มุ กนั โรค 23คูมือเสริมสรางความรคู วามเขาใจแกค สู มรส มารดาหลงั คลอด และครอบครวั เรือ่ ง การสรางเสริมภมู คิ มุ กันโรค และหลกั การศาสนาอิสลาม

24 คูมอื เสรมิ สรา งความรคู วามเขา ใจแกคูสมรส มารดาหลังคลอด และครอบครัว เรื่อง การสรา งเสรมิ ภมู คิ ุม กันโรค และหลกั การศาสนาอสิ ลาม

บทที่ 2 หลกั การศาสนาเก่ียวกับ การสรา งเสรมิ ภมู ิคุม กันโรค ดร.ฆอซาลี เบญ็ หมัด2 การใหวัคซีนถือเปนวิธีการท่ีสําคัญอยางย่ิงในการปองกันผลรายและการระบาดของ โรครา ยแรงทงั้ หลาย และเปน วธิ กี ารทส่ี อดคลอ งกบั หลกั การอสิ ลามทไี่ ดร บั การรบั รองโดยองคก ร หลักทางวิชาการอิสลามในระดับโลกมุสลิม จนอาจกลาวไดวาไมมีองคกรวิชาการอิสลามใด ๆ หรืออุลามาอทานใดท่ีปฏิเสธการใหวัคซีน และการใชวัคซีนในการสรางภูมิคุมกันโรคเปนสวน หนึ่งของยุทธศาสตรดานสาธารณสุข ป 2014 – 2023 ขององคก รความรว มมอื อิสลาม หรือ OIC3ตลอดจนมกี ารบญั ญตั กิ ฎหมายบงั คบั การใหว คั ซนี ในหลาย ๆ ประเทศ บางประเทศถอื เปน เง่อื นไขในการแจงเกดิ หรือเง่อื นไขในการเขา เรียน อยางไรกต็ าม สงั คมมสุ ลิมบางสวนท้งั ในประเทศไทย หรือประเทศอืน่ ๆ ก็ยังมีความ กงั วลในการใหวัคซีน โดยเฉพาะอยา งยงิ่ ในกรณกี ารใหวัคซนี ท่ีทําจากวตั ถุดิบทีเ่ ปน นะยสิ 4 วา มี ความถกู ตอ งตามหลกั การศาสนา หรอื ไมเ พยี งใด เปน การฝา ฝน ตอ ความเชอ่ื มน่ั ศรทั ธาตอ อลั ลอฮฺ และการมอบหมายตอ พระองคห รอื ไม เนอ้ื หาในบทนจี้ ะอธบิ ายหลกั การอสิ ลามในกรณดี งั กลา ว โดยใชแนวทางของปราชญอิสลามที่เปนเสาหลักทางวิชาการอิสลามในสมัยตาง ๆ ตลอดจน แนวทางการวนิ จิ ฉยั ปญ หาศาสนาขององคก รฟต วาในโลกมสุ ลมิ เพอื่ เปน แนวทางในการทาํ ความ เขาใจกรณีดังกลา วพอเปนสังเขป (2) อาจารยค ณะอสิ ลามศึกษาและนติ ิศาสตร มหาวิทยาลยั ฟาฏอนี (3) Organization of the Islamic Cooperation. The OIC Strategic Health Programme of Action 2014-2023 (OIC-SHPA), Ankara, The Statistical, Economic and Social Research and Training Centre for Islamic Countries (SESRIC), 63-64. (4) นะยสิ หมายถึง ส่งิ ทศ่ี าสนาอสิ ลามถอื วา เปน สิ่งสกปรก 25คมู ือเสริมสรา งความรูความเขา ใจแกคสู มรส มารดาหลังคลอด และครอบครัว เรือ่ ง การสรางเสรมิ ภมู คิ ุมกันโรค และหลกั การศาสนาอิสลาม

หลกั การอิสลามกบั การดแู ลสขุ ภาพ การมีสุขภาพพลานามัยที่ดีถือเปนหัวใจสําคัญของศาสนา ทําใหคน ๆ หน่ึงสามารถ ประกอบศาสนกจิ และดาํ รงชวี ติ ประจาํ วนั ไดอ ยา งปกตสิ ขุ หลกั การอสิ ลามกบั การดแู ลสขุ ภาพ มดี ังน้ี 1. การดูแลรกั ษาสขุ ภาพถอื เปน หนาที่ การมสี ขุ ภาพพลานามยั ทสี่ มบรู ณแ ขง็ แรง เปน รากฐานทสี่ าํ คญั ของการพฒั นาคณุ ภาพ ชวี ติ และกระบวนการพฒั นาในทกุ ดา น ดงั ทที่ า นนบมี ฮุ มั มดั ศอลฯ ไดก ลา วถงึ คณุ คา ของสขุ ภาพ ไววา ، ‫ ُﻣ َﻌﺎ ًﰱ ِﰲ َﺟ َﺴ ِﺪ ِه‬، ‫َﻣ ْﻦ َأ ْﺻ َﺒ َﺢ ِﻣ ْﻨ ُﻜ ْﻢ آ ِﻣ ًﻨﺎ ِﰲ ِ ْﴎ ِﺑ ِﻪ‬ ‫ َﻓﻜَﺄَ ﱠ َﺎ ِﺣﻴ َﺰ ْت َﻟ ُﻪ اﻟ ﱡﺪﻧْ َﻴﺎ‬، ‫ِﻋ ْﻨ َﺪ ُه ُﻗﻮ ُت ﻳَ ْﻮ ِﻣ ِﻪ‬ “ผูใ ดท่ตี นื่ เชา ข้ึนมา มีความปลอดภัยในชีวิต ไมมีโรคภยั ในรา งกาย และมอี าหาร สําหรับบรโิ ภคในวันนั้น ก็ประหนึ่งวา เขาผูนนั้ ไดครองโลกไวท งั้ ใบแลว”5 อิสลามถือวาการดูแลรกั ษาสุขภาพนัน้ เปน หนาที่ (วาญบิ ) สําหรับมนุษย ดังท่ีทานนบี มุฮมั มัด ศอลฯ ไดก ลาววา ‫إن ﻟﺒﺪﻧﻚ ﻋﻠﻴﻚ ﺣﻘﺎ‬ “และรางกายของทานนนั้ มสี ทิ ธิเหนือพวกทาน”6 ทงั้ นี้ เพราะวา การมสี ขุ ภาพทแ่ี ขง็ แรงสมบรู ณ เปน ความโปรดปราน (เนยี๊ ะมตั ) ทอ่ี ลั ลอฮฺ ทรงประทานใหแ กมนษุ ย ดงั ท่ีทา นนบีมุฮมั มดั ศอลฯ กลา ววา ‫ اﻟﺼﺤﺔ واﻟﻔﺮاغ‬: ‫ﻧﻌﻤﺘﺎن ﻣﻐﺒﻮن ﻓﻴﻬ ﻛﺜ ﻣﻦ اﻟﻨﺎس‬ “เนี๊ยะมัต (ความโปรดปราน) 2 ประการ ท่ีคนสวนใหญม ักจะหลงลืม คอื การมีสุขภาพท่ดี ีและการมีเวลาวา ง”7 (5) ติรมีซีย อบิ นิมายะฮ และอัลบุคอรี (6) อัลบคุ อรีและมสุ ลิม (7) อัลบคุ อรี 26 คมู อื เสรมิ สรา งความรูค วามเขา ใจแกค สู มรส มารดาหลงั คลอด และครอบครัว เรือ่ ง การสรางเสริมภูมิคุมกนั โรค และหลกั การศาสนาอสิ ลาม

















เง่ือนไขใหวัคซนี กรณีจาํ เปนสดุ วสิ ยั 1. เปน ความจาํ เปน ทแ่ี ทจ รงิ เกดิ ขน้ึ แลว ไมใ ชเ ปน เพยี งคาดการณว า อาจจะอนั ตรายตอ ชวี ติ และทรพั ยส ิน 2. กรณคี าดการณจ ะตอ งเปน การคาดการณท ม่ี นี าํ้ หนกั ตามทศั นะของผทู มี่ ปี ระสบการณ และความเชย่ี วชาญ 3. ผทู อ่ี ยใู นสภาวะจาํ เปน จะตอ งไมม ที างอนื่ ทศี่ าสนาอนญุ าตใหใ ชเ พอื่ การปกปอ ง อันตราย อลั อซิ ซ บินอบั ดลุ สาลาม27 ปราชญใ หญใ นมัซฮับชาฟอ ยี ก ลาววา “การปอ งกันรกั ษา โรคสําคัญกวา การหลกี หา งจากนะยิส” ดว ยเหตุน้ี บรรดานกั วิชาการอิสลามจากหนวยงานดังกลา ว ตา งเหน็ พอ งกันวา วัคซนี ปองกนั โปลโิ อ วัณโรค โรคคอตบี บาดทะยกั ไอกรน ไวรสั ตบั อักเสบ โรคหัด และโรครายแรง อน่ื ๆ เปน สงิ่ วาญบิ และเปน หนา ทขี่ องผปู กครองของเดก็ อนั จะถอื วา เปน บาปหากมกี ารละเลย การใหวัคซีนดังกลาว เปนวาญิบสําหรับผูปกครองเด็กเริ่มต้ังแตวันท่ีต้ังครรภกระท่ังเติบใหญ โดยจะตองปฏิบตั ติ ามวนั เวลาท่ีกําหนดในตารางการใหวัคซนี อยางเครงครัด มฉิ ะน้นั จะทาํ ให ลูก ๆ มีโอกาสไดรบั ภัยอนั ตรายรายแรงถงึ ชวี ิต ดงั ทีท่ านนบมี ฮุ ัมมดั ศอลฯ กลาววา ‫ﻛﻔﻰ ﺑﺎﳌﺮء إ ﺎ أن ﻳﻀﻴﻊ ﻣﻦ ﻳﻌﻮل‬ “เปนบาปท่หี นักหนาเพียงพอสาํ หรับคน ๆ หนงึ่ ดวยการทําใหผ ูทีอ่ ยูในการรบั ผิดชอบสญู เสยี ” วคั ซนี ตา ง ๆ เหลา นแ้ี ละวคั ซนี โรคอน่ื ๆ เปน ความปลอดภยั ของอลั ลอฮใฺ หแ กม วลมนษุ ย อนั จะเปน การปองกันรกั ษาโรคระบาดเหลานี้ จนสญู หายไปเฉกเชน โรคราย เชน กาฬโรค หรือ ไขท รพิษ ที่มนุษยชาตเิ คยประสบมากอ นในอดตี (27) มชี ีวติ อยูชว ง ค.ศ.1181 - 1262 เปนปราชญอ ิสลาม คนสาํ คญั ในยุคการปกครองของราชวงศมัมลูกในอยี ิปต 35คมู ือเสรมิ สรางความรูความเขาใจแกค สู มรส มารดาหลงั คลอด และครอบครัว เรื่อง การสรา งเสริมภมู คิ มุ กันโรค และหลักการศาสนาอสิ ลาม

36 คูมอื เสรมิ สรา งความรคู วามเขา ใจแกคูสมรส มารดาหลังคลอด และครอบครัว เรื่อง การสรา งเสรมิ ภมู คิ ุม กันโรค และหลกั การศาสนาอสิ ลาม

ภาคผนวก ฟตวาของศนู ยก ฎหมายอสิ ลามนานาชาติ กรณีใหว คั ซนี ปอ งกนั โปลิโอและอน่ื ๆ ศูนยกฎหมายอิสลามนานาชาติ ขององคกรความรวมมืออิสลาม (โอไอซี) ไดออก แถลงการณ กรณีใหวคั ซนี ปอ งกนั โปลโิ อและอนื่ ๆ วา “ขอสรรเสริญตออัลลอฮฺ ขอพรแดทานนบีมุฮัมมัด ศอลฯ ตลอดจนครอบครัว และซอฮาบะฮท ุกทา น ศนู ยก ฎหมายอสิ ลามนานาชาติ ขององคก รความรว มมอื อสิ ลาม (โอไอซี ) ถอื เปน แหลง อางอิงกางกฎหมายอิสลามขององคกรและของประชาชาติอิสลาม ตลอดจนความตระหนักใน ภาระหนา ท่ีของอุลามาอทจ่ี ะตองใหค ําแนะนํา หลงั จากทไ่ี ดร บั รายงานถงึ ความสาํ เรจ็ ในการใหว คั ซนี ในประเทศมสุ ลมิ ทส่ี ามารถยบั ยงั้ การแพรหลายของโรคโปลิโอในเด็กได ยกเวนบางประเทศ เชน ปากีสถาน ไนจีเรีย และ อฟั กานิสถาน พรอมกบั การรณรงคค รง้ั ใหมของรัฐบาลในประเทศเหลา นัน้ ในการเรียกรอ งใหผู ปกครองทําการใหวัคซีนแตบุตรชายและบุตรหญิงของพวกเขา เพื่อเปนการปองกันโรคโปลิโอ ซงึ่ เปน ทยี่ อมรบั แลว วา วคั ซนี นม้ี คี วามสาํ คญั สามารถชว ยเหลอื พวกเขาดว ยการอนมุ ตั ขิ องอลั ลอฮฺ ใหพน จากโรครา ยแรงที่ไมมยี ารกั ษานไี้ ด หากทวา จะทําใหพ วกเขาพิการตลอดชีวิตและทาํ ลาย ความสุขในชวี ติ ของพวกเขา ดังน้นั การใหวัคซนี จึงเปน สิ่งจาํ เปน ตามหลักศาสนาและเปนหนา ทข่ี องผปู กครองของ เด็ก อันจะถือวาเปนบาปหากมีการละเลยการใหวัคซีนดังกลาว และมีการยืนยันของหลาย ๆ ฝา ยในโลกมสุ ลมิ วา วคั ซนี เหลา นน้ั ปราศจากสว นประกอบทไ่ี ดจ ากหมู และยนื ยนั แลว วา ไมม ตี วั ยาท่ีจะทําใหบุตรหญิงเปนหมันในอนาคต ท้ังนี้ นานาชาติรวมถึงประเทศมุสลิม เห็นพองตอง กันท่ีจะใหวัคซีนดังกลาวแกเด็กโดยไมมีการรายงานถึงผลเสียอันเปนผลขางเคียงจากวัคซีนดัง กลา ว หนา ทนี่ เี้ ปน สง่ิ จาํ เปน สาํ หรบั ผปู กครองของเดก็ เรม่ิ ตง้ั แตว นั ทเ่ี ดก็ คลอดออกมา กระทง่ั อายไุ ด 6 ขวบ โดยจะตอ งปฏบิ ตั ติ ามวนั เวลาทกี่ าํ หนดในตารางการใหว คั ซนี อยา งเครง ครดั เพอื่ การประกันประสิทธิภาพของวัคซีน ทั้งนี้ นอกจากวัคซีนปองกันโปลิโอแลว ยังรวมถึงวัคซีน ปองกนั วัณโรค และแบคทีเรียทงั้ สาม อนั ไดแก โรคคอตีบ บาดทะยกั ไอกรน ตลอดจนไวรัสตับ อักเสบ และโรคหัด วคั ซนี ตา ง ๆ เหลา นแ้ี ละวคั ซนี โรคอน่ื ๆ เปน ความปลอดภยั ของอลั ลอฮใฺ หแ กม วลมนษุ ย เนือ่ งจากโรคระบาดเหลา นี้ไดสูญหายไป ตลอดจนโรครายท่ีมนษุ ยชาติเคยประสบมากอ น เชน กาฬโรคหรือไขท รพิษ 37คมู ือเสริมสรางความรคู วามเขา ใจแกคสู มรส มารดาหลังคลอด และครอบครัว เรอ่ื ง การสรางเสรมิ ภูมิคมุ กันโรค และหลกั การศาสนาอสิ ลาม

ศูนยกฎหมายอิสลามนานาชาติเห็นวา อนุญาตใหผูนําประเทศ อันหมายถึงรัฐบาลที่ ศาสนาถือวามีภาระหนาที่จะตองดูแลรักษาผลประโยชนและปองกันอันตรายตาง ๆ ออก กฎหมายบังคับใหประชาชนปอ งกันโรค ทง้ั โดยการดูแลควบคมุ และปองกนั ไมใหร ะบาด ในเอกสารสว น (ข) มาตรา 3 ศนู ยก ฎหมายอิสลามนานาชาติไดม มี ตเิ ลขที่ 67 (7/5) 1412/1992 กรณกี ารรกั ษาโรค มคี วามวา อนญุ าตใหผ นู าํ ทาํ การบงั คบั ใหใ ชย าในบางกรณี เชน กรณีโรคระบาดและการใหยาเพอื่ การปอ งกนั โรค นักวิชาการของศูนยกฎหมายอิสลามนานาชาติ อันประกอบไปดวยตัวแทนของโลก มุสลิมตองการเห็นคนรุนใหมของประชาชาติอิสลามและเยาวชนมีสุขภาพท่ีดี ดวยความ โปรดปรานของอลั ลอฮฺ และมพี ลานามยั ทส่ี มบรู ณต ลอดไป สามารถทจ่ี ะเขา ไปสอู นาคตทดี่ งี าม ตราบใดทเ่ี ดก็ ๆ ทง้ั ชายและหญงิ มสี ขุ ภาพดี อนาคตของประชาชาตยิ อ มจะดกี วา ศนู ยก ฎหมาย อสิ ลามนานาชาติเรียกรองใหส งั คมโลกท้งั มวล ถอื วา กรณนี ้ีเปน กรณแี หงมนษุ ยชาตทิ จี่ ะตอ งให ความสําคญั เปน อนั ดับแรก และเรียกรองใหป ระเทศอสิ ลาม และองคกรตาง ๆ ถอื วากรณีนีเ้ ปน กรณีหน่ึงของประชาชาติท่ีจะตองใหความสําคัญสูงสุด และกําจัดอุปสรรคปญหาทั้งมวลท่ีขัด ขวาง ศนู ยก ฎหมายอสิ ลามนานาชาตไิ ดเ คยเอกสารแถลงการณ ในป ฮ.ศ. 1430 / ค.ศ. 2009 สนบั สนนุ การใหว คั ซนี ปอ งกนั โรคโปลโิ อ ระบรุ ายละเอยี ด ประกอบดว ยบทบญั ญตั แิ ละหลกั ฐาน ทางศาสนาท่ีเปนที่มาของการวินิจฉัยวาการใหวัคซีนเปนขอบังคับทางศาสนา เหตุผลดังกลาว สรปุ ไดพอเปน สงั เขปดังน้ี 1. คนหนง่ึ มหี นา ทป่ี กปอ งรกั ษารา งกายของตนเอง และผทู อี่ ยภู ายใตก ารดแู ลใหม คี วาม ปลอดภยั ใหพ น จากสงิ่ ทเ่ี ปน อนั ตรายทกุ อยา งเทา ทส่ี ามารถกระทาํ ได เนอ่ื งจากอลั ลอฮกฺ ลา ววา َ ‫َوﻻَ ﺗُ ْﻠ ُﻘﻮاْ ِﺑﺄَ ْﻳ ِﺪﻳ ُﻜ ْﻢ إِ َﱃ اﻟ ﱠﺘ ْﻬﻠُﻜَ ِﺔ َو َأ ْﺣ ِﺴ ُﻨ َﻮاْ إِ ﱠن اﻟﻠّ َﻪ ﻳُ ِﺤ ﱡﺐ ا ْﻟ ُﻤ ْﺤ ِﺴ ِﻨ‬ “ทานอยาไดท าํ อันตรายตอ ตวั เอง จงทําดี แทจ ริงอัลลอฮฺรกั ผกู ระทาํ ความด”ี 28 นอกจากนั้นการดูแลรักษารางกายใหพนจากสิ่งที่เปนภัยอันตรายถือเปนส่ิงท่ีจําเปน สูงสุดประการหน่ึงตามหลักการศาสนาอิสลาม เน่ืองจากมีหลักกฎหมายอิสลาม-กออิเดาะฮ ฟก ฮ ขอ หน่งึ กําหนดวา “ไมมีการทาํ อนั ตรายตอตัวเองและตอผอู ่ืน” อนั เปนหลกั ทีม่ าจากหะ ดษี ทีท่ า นนบมี ฮุ มั มัด ศอลฯ ไดก ลา ววา (28) อัลบะกอเราะฮ : 195 38 คูม อื เสริมสรา งความรูความเขา ใจแกคูส มรส มารดาหลังคลอด และครอบครัว เรอ่ื ง การสรางเสรมิ ภมู ิคมุ กนั โรค และหลกั การศาสนาอิสลาม