Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือผู้ตัดสินกีฬาเทนนิส

คู่มือผู้ตัดสินกีฬาเทนนิส

Description: คู่มือผู้ตัดสินกีฬาเทนนิส

Search

Read the Text Version

ชนิดของแรงจงู ใจ แรงจูงใจอาจแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คอื 1. แรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation) หมายถึง แรงจูงใจท่ีเกิดข้ึนภายในตัวของ บุคคล การที่บุคคลกระท�ำส่ิงหนึ่งเพ่ือตนเอง เกิดจากแรงจูงใจภายใน เช่น การเรียนหนังสือเพื่อ ความรู้ การเข้ารว่ มการเล่นกฬี าเพ่ือความสนกุ สนาน ความพึงพอใจ การพฒั นาทักษะของตนเอง สุขภาพ การลดนำ�้ หนัก ความสมบรู ณท์ างกาย การทา้ ทายตนเอง การประสบความส�ำเรจ็ แห่งตน และอื่นๆ 2. แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation) หมายถึง แรงจูงใจท่ีเกิดข้ึนจาก ภายนอก การท่ีบุคคลพยายามท�ำกิจกรรมหนึ่งเพื่อสิ่งของที่จะได้รับจากการกระท�ำน้ัน เกิดจาก แรงจูงใจภายนอก เช่น การเรียนหนังสือเพ่ือเกรด A การเข้าร่วมการเล่นกีฬาเพื่อการยอมรับ การมีช่อื เสยี ง เงนิ รางวัล ถว้ ยรางวัล และอ่นื ๆ โดยทั่วไปแรงจูงใจภายในเป็นส่ิงท่ีพึงปรารถนามากกว่าแรงจูงใจภายนอก เพราะ แรงจูงใจภายในจะท�ำให้พฤติกรรมด�ำเนินต่อไปและมีประสิทธิภาพเป็นเวลานาน ในขณะท่ี แรงจูงใจภายนอกมีผลต่อพฤติกรรมชั่วระยะหนึ่งเท่าน้ัน ถ้าไม่ได้รับแรงจูงใจพฤติกรรมนั้นก็จะ ลดลงและหยุดไปในที่สุด สังคมของเราอยู่ภายใต้อิทธิพลของแรงจูงใจภายนอกตลอดเวลา เราไดร้ ับรางวลั เป็นส่ิงของตง้ั แต่เปน็ เดก็ เลก็ อยา่ งไรกต็ ามเราควรตระหนักว่าในหลายสถานการณ์ ทัง้ แรงจงู ใจภายในและแรงจงู ใจภายนอกมีอทิ ธิพลตอ่ พฤติกรรมของเรา ก ารต้ังเปา้ หมาย (Goal Setting) การต้ังเป้าหมาย หมายถึง การก�ำหนดส่ิงท่ีบุคคลก�ำลังพยายามที่จะกระท�ำหรือกระท�ำ ให้ส�ำเรจ็ หรืออีกความหมายหน่งึ การตง้ั เปา้ หมาย คอื การคาดหวงั ทีจ่ ะบรรลุมาตรฐานของความ สามารถในกรอบเวลาทีก่ �ำหนด ศิลปชัย สุวรรณธาดา (2535) กล่าวว่า การตั้งเป้าหมายเป็นเทคนิคการให้แรงจูงใจ อยา่ งหน่งึ เปน็ การตัง้ ระดับของความส�ำเร็จทผ่ี ู้เรยี นคาดว่าจะได้รับในอนาคต คอ็ กซ์ (Cox, 1990) กล่าวว่า ผไู้ ดร้ ับการฝึกเกยี่ วกับการตงั้ เป้าหมายในการแสดงทักษะ จะมโี อกาสท่จี ะประสบความส�ำเรจ็ มากกว่าผู้ท่ไี ม่ไดร้ ับการฝกึ การตงั้ เปา้ หมาย ชนิดของเป้าหมาย (Type of Goals) นักจติ วทิ ยา ไดแ้ บง่ เป้าหมายออกเปน็ หลายชนดิ ดว้ ยกัน แมคคลีเมนท์ (Mc Clements, 1982) ไดแ้ บ่งเป้าหมาย ออกเป็น 3 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ คมู่ ือผ้ตู ดั สนิ กีฬาเทนนสิ 43

1. เป้าหมายเชิงอัตนัย (Subjective Goal) เป็นเป้าหมายที่มีลักษณะเป็นนามธรรม กวา้ งๆ เช่น เพอ่ื ความสนุกสนาน เพือ่ ความสมบูรณข์ องรา่ งกาย พยายามท�ำดีทสี่ ดุ 2. เป้าหมายเชิงปรนัยทั่วไป (General Objective Goal) เป็นเป้าหมายท่ีมีลักษณะ เปน็ รูปธรรมมากขึ้น แตม่ ีลักษณะกว้าง 3. เป้าหมายเชิงปรนัยเฉพาะ (Specific Objective Goal) เป็นเป้าหมายที่มีลักษณะ เจาะจง เช่น ยงิ ประตลู ูกโทษบาสเกตบอลเขา้ 8 ลกู จาก 10 ลกู เสิร์ฟเทนนิสลูกแรกลง 8 ครง้ั จาก 10 คร้งั นอกจากนี้ มาร์เตน และคณะ (Martens et al, 1981) และเบอร์ตัน (1983, 1989) ไ ด้แบง่ เปา้ หมายออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. เป้าหมายผลลัพธ์ (Outcome Goal) หมายถงึ เปา้ หมายของความสามารถทีม่ ุง่ เนน้ ผลลพั ธใ์ นการแขง่ ขนั เชน่ การชนะ การเฆี่ยนคู่ตอ่ สู่ 2. เป้าหมายการกระท�ำ (Performance Goal) หมายถึง เป้าหมายที่มุ่งเน้นถึง พัฒนาการของการแสดงความสามารถที่สัมพันธ์กับการแสดงความสามารถท่ีผ่านมา เช่น ลดความเร็วในการวิ่ง 100 เมตร เป็นเวลา 3/10 วินาที ลดความเร็วในการว่ายน้�ำท่าผีเสื้อ 50 เมตร เป็นเวลา 1/10 วนิ าที การจินตภาพ (Imagery) การจินตภาพ (Imagery) หมายถึง การสร้างภาพในใจของบุคคล วัตถุ ส่ิงของ สถานท่ี การเคลอ่ื นไหวและอื่นๆ การจินตภาพเกี่ยวข้องกับความรู้สึก (Sensation) ต่างๆ ของร่างกาย แม้ว่า การจินตภาพ (Imagery) หมายถึง การมองเห็นภาพในใจ (Visualization) แต่ไม่ได้ หมายความว่า การมองเห็นเป็นความรู้สึกที่ส�ำคัญ ความรู้สึกต่อไปน้ีมีความส�ำคัญ ได้แก่ 1) ความรู้สึกของการมองเห็น (Visual Sensation) 2) ความรู้สึกของการได้ยิน (Auditory Sensation) 3) ความรู้สึกของการสัมผัส (Tactile Sensation) 4) ความรู้สึกภายในเก่ียวกับ การเคล่ือนไหวของร่างกาย (Proprioceptive Sensation) 5) ความรู้สึกของกล่ิน (Olfactory Sensation) 6) ความรู้สึกของรส (Taste Sensation) และ 7) ความรู้สึกเก่ียวข้องกับ ประสบการณใ์ นสถานการณ์น้ันๆ 44 คมู่ ือผ้ตู ดั สินกีฬาเทนนิส

ประโยชน์ของการจนิ ตภาพ การจินตภาพมปี ระโยชนด์ ังตอ่ ไปน้ี 1. ช่วยในการจ�ำส่ิงที่เรียนรู้ได้นาน การสร้างภาพในใจของส่ิงต่างๆ เป็นการบันทึก ความจ�ำในลักษณะของภาพ จะท�ำให้การคงอยู่ของการเรียนรู้ได้นาน และช่วยในกระบวนการ เรยี นรู้ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากขึน้ 2. ช่วยพัฒนาความตั้งใจและสมาธิต่อส่ิงที่ก�ำลังกระท�ำอยู่ การจินตภาพเป็นการ สร้างภาพของความจ�ำข้ึนมาใหม่ และอาจเป็นการสร้างสิ่งใหม่จากการผสมผสานข้อมูลต่างๆ อยใู่ นความทรงจ�ำ ซง่ึ ต้องใช้กระบวนการความจ�ำและสมาธเิ ป็นเครอ่ื งมือ 3. ช่วยในการผ่อนคลายลดความวิตกกังวล การจินตภาพเป็นเทคนิคการผ่อนคลาย ความวิตกกังวลที่มีประสิทธิภาพ ด้วยการจินตภาพตนเองอยู่ในสถานท่ีพักผ่อนและในสภาวะ ที่ผ่อนคลาย นอกจากนกี้ ารแขง่ ขันท่ีมคี วามส�ำคัญจะก่อให้เกดิ ความวติ กกังวลในระดับสูง จ�ำเป็น ที่จะต้องลดระดบั ความวติ กกงั วลใหอ้ ยู่ในระดบั พอเหมาะ 4. ชว่ ยในการคาดการณ์ล่วงหนา้ สร้างความคุน้ เคยกับเหตุการณท์ ีไ่ มเ่ คยประสบมาก่อน คู่มือผตู้ ดั สนิ กฬี าเทนนิส 45

บทที่ 5 ก ติกาเทนนิส กติกาเทนนสิ อา้ งอิงจาก International Tennis Federation (ITF) ปี 2014 ข้อ 1. สนามเทนนสิ (THE COURT) เดิมขอ้ 1 และ ข้อ 34 สนามต้องเป็นรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า ยาว 78 ฟุต (23.77 ม.) กว้าง 27 ฟุต (8.23 ม.) ส�ำหรับการเลน่ เด่ยี ว และกว้าง 36 ฟตุ (10.97 ม.) ส�ำหรับการเลน่ คู่ สนามจะถูกแบ่งขวางตรงก่ึงกลางด้วยตาข่ายที่แขวนอยู่บนเชือกหรือลวดโลหะ ท่ีพาดผ่านเสาหรือยึดติดกับเสา 2 ต้น ท่ีความสูง 3 ½ ฟุต (1.07 ม.) ตาข่ายต้องกั้นขวาง ตลอดแนวระหว่างเสาทั้งสอง และต้องมีขนาดช่องตาข่ายเล็กพอที่จะกันลูกไม่ลอดผ่านได้ ความสูงตาข่ายต้องเปน็ 3 ฟุต (0.914 ม.) ตรงจุดกงึ่ กลางซึง่ มีแถบผา้ ร้ังลงมาใหต้ งึ มแี ถบปลอกผา้ คลุมเหนือเชือกหรือลวดโลหะและด้านบนสุดของตาข่ายแถบผ้าท่ีใช้ร้ังและแถบปลอกผ้าต้องเป็น สีขาวตลอดทงั้ ผืน ◎ เชือกหรือลวดโลหะต้องมเี ส้นผา่ ศูนย์กลางสูงสุดไมเ่ กิน 1/3 น้ิว (0.8 ซม.) ◎ แถบผ้าทใ่ี ชร้ งั้ ต้องมีความกว้างสูงสุดไมเ่ กนิ 2 นิ้ว (5 ซม.) ◎ แถบปลอกผ้าจะต้องห้อยต�่ำลงมาระหว่าง 2-2½ นิ้ว (5.00-6.35 ซม.) ทั้งสองด้าน ของตาข่าย สำ� หรบั การเลน่ คู่ จดุ กง่ึ กลางของเสาขงึ ตาขา่ ยตอ้ งอยหู่ า่ งจากขอบนอกของสนามคู่ 3 ฟตุ (0.914 ม.) ท้งั สองขา้ ง ส�ำหรับการเล่นเดี่ยว ถ้าใช้ตาข่ายสนามเดี่ยว จุดก่ึงกลางของเสาขึงตาข่ายต้องอยู่ ห่างจากขอบนอกของสนามเดี่ยว 3 ฟุต (0.914 ม.) ท้ังสองข้าง แต่ถ้าใช้ตาข่ายส�ำหรับสนามคู่ จะต้องใช้ไม้ค�้ำสองอัน ค้�ำยันตาข่ายให้มีความสูง 3½ ฟุต (1.07 ม.) โดยที่จุดกึ่งกลางของไม้ค้�ำ ตอ้ งอยูห่ า่ งจากขอบนอกของสนามเด่ยี ว 3 ฟุต (0.914 ม.) ท้งั สองขา้ ง ◎ เสาขึงตาข่าย ต้องมีขนาดไม่เกิน 6 นิ้ว (15 ซม.) ส่ีเหล่ียมจัตุรัส หรือเสากลม เส้นผา่ ศูนยก์ ลางไม่เกิน 6 นิ้ว (15 ซม.) 46 ค่มู ือผู้ตัดสินกีฬาเทนนิส

◎ ไม้ค�้ำตาข่าย ต้องมีขนาดไม่เกิน 3 นิ้ว (7.5 ซม.) ส่ีเหล่ียมจัตุรัส หรือเสากลม เส้นผา่ ศนู ยก์ ลางไม่เกนิ 3 น้วิ (7.5 ซม.) ◎ ส่วนเกินของเสาหรือไม้ค้�ำตาข่ายท่ียื่นเลยส่วนบนสุดของเชือกตาข่ายต้อง ไม่เกนิ 1 นิ้ว (2.5 ซม.) ◎ เส้นท่ีปลายสุดของสนามเรียก “เส้นหลัง” (Base-Lines) และเส้นท่ีอยู่ด้านข้าง ของสนามเรยี ก “เส้นขา้ ง” (Side-Lines) จะมีเสน้ ที่ลากจากเสน้ ขา้ งของสนามเด่ียว ขนานกับตาขา่ ย ท่ีระยะหา่ ง 21 ฟุต (6.40 ม.) จากตาข่ายทง้ั สองดา้ น เสน้ ท้งั สองน้ี เรียก “เส้นเสิร์ฟ” (Service-Lines) พื้นท่ีภายในเส้นเสิร์ฟกับตาข่ายทั้งสองด้าน จะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนเท่าๆ กัน ด้วยเส้นก่ึงกลางเส้นเสิร์ฟ (Centre- Service-Lines) เรยี กวา่ “พนื้ ทเ่ี สริ ฟ์ ” เสน้ กง่ึ กลาง เสน้ เสริ ฟ์ ขนานและอยตู่ รงกงึ่ กลาง ของเสน้ ขา้ งท้งั สอง ◎ เสน้ หลัง แตล่ ะเส้นถกู แบง่ คร่ึงด้วย เส้นกึ่งกลางเสน้ หลงั (Centre-mark) ยาว 4 นว้ิ (10 ซม.) ที่ลากขนานกับเสน้ ข้างเข้าไปในสนาม ◎ เส้นก่งึ กลางเส้นเสิร์ฟ และขดี กึ่งกลางเสน้ หลงั ต้องมขี นาดความกว้าง 2 น้ิว (5 ซม.) ◎ เส้นอ่ืนๆ ในสนามจะต้องมีความกว้างระหว่าง 1 น้ิว (2.5 ซม.) ถึง 2 นิ้ว (5 ซม.) ยกเวน้ เส้นท้ายสนามทมี่ คี วามกว้างไดถ้ ึง 4 น้ิว (10 ซม.) การวัดขนาดสนามทั้งหมดจะวัดไปถึงขอบนอกของเส้น และเส้นทุกเส้นของสนาม ต้องมีสเี ดยี วกนั และมีสตี ัดกับสีของพ้ืนสนาม ไม่อนุญาตให้มีการโฆษณา บนพื้นสนาม ตาข่าย แถบร้ัง ปลอกคลุมสายขึงตาข่าย เสาหรือไมค้ ำ้� ตาข่าย ยกเวน้ จากทกี่ �ำหนดอยู่ในภาคผนวก 4 ข้อ 2. สิ่งตดิ ตั้งถาวร (PERMANENT FIXTURES) สง่ิ ตดิ ตงั้ ถาวรของสนามเทนนสิ ไดแ้ ก่ วสั ดกุ นั ลกู ทางดา้ นหลงั และดา้ นขา้ งผชู้ ม อฒั จนั ทร์ ที่นั่งส�ำหรับผู้ชม อุปกรณ์อื่นๆ ที่อยู่รอบๆ และเหนือสนาม กรรมการผู้ตัดสิน ผู้ก�ำกับเส้น ผ้กู �ำกับตาขา่ ย และเดก็ เก็บลูกบอลเม่ืออย่ตู ามทีก่ �ำหนด เม่ือใช้ตาข่ายคู่และไม้ค้�ำตาข่ายในการเล่นเด่ียว เสาและส่วนของตาข่ายที่อยู่เลย ไมค้ �้ำตาขา่ ยออกไปถอื เปน็ สิ่งติดต้ังถาวร ไมถ่ อื วา่ เปน็ เสาตาขา่ ย หรอื สว่ นของตาข่าย คมู่ ือผู้ตัดสินกฬี าเทนนสิ 47

ขอ้ 3. ลกู เทนนิส (THE BALL) ลูกเทนนิสที่ได้รับการรับรองส�ำหรับใช้ในการแข่งขันภายใต้กติกาเทนนิส ต้องเป็นไป ตามขอ้ ก�ำหนดในภาคผนวก 1 สหพันธ์เทนนิสนานาชาติ (ITF) จะเป็นผู้ช้ีขาดว่าลูกเทนนิสหรือลูกเทนนิสแบบใด เป็นไปตามขอ้ ก�ำหนดในภาคผนวก 1 หรือไม่ หรือได้รับการรบั รองหรอื ไม่ได้รับการรบั รองส�ำหรบั ในการแข่งขัน การช้ีขาดน้ีอาจจะเกิดจากความต้องการของสหพันธ์เทนนิสนานาชาติ (ITF) เอง หรือได้รับการย่ืนค�ำร้องโดยผู้มีส่วนเก่ียวข้องที่มีจุดประสงค์อันบริสุทธ์ิ ซ่ึงอาจเป็นนักกีฬา ผู้ผลติ อปุ กรณก์ ีฬา หรือสมาคมแห่งชาติหรือสมาชกิ สมาคมนน้ั ค�ำชขี้ าด และค�ำร้องจะต้องเปน็ ไป ตามวธิ พี จิ ารณาทบทวนและไต่สวนของสหพันธ์เทนนิสนานาชาติ (ITF) ผจู้ ัดการแขง่ ขนั ต้องประกาศล่วงหนา้ กอ่ นการแข่งขันว่า : ก. จ�ำนวนลูกเทนนิสทจี่ ะใช้ (2 3 4 หรือ 6 ลูก) ข. การเปลยี่ นลกู เทนนิส (ถา้ มี) การเปลี่ยนลูกเทนนิส (ถ้ามี) อาจเลอื กใช้วธิ ใี ดวิธีหน่ึงดังตอ่ ไปนี้ : 1. หลังจากเล่นได้จ�ำนวนเกมรวมเป็นจ�ำนวนค่ีตามที่ตกลงกันไว้ก่อนในกรณีนี้ การเปล่ียนคร้ังแรกจะเปล่ียนเร็วขึ้นกว่าการเปล่ียนครั้งต่อๆ ไปในการแข่งขัน 2 เกม เพ่ือเผ่ือ ส�ำหรับการวอร์มก่อนแขง่ ขัน การเลน่ เกมไท-เบรก ใหน้ ับเป็น 1 เกม ส�ำหรับการเปล่ยี นลูกเทนนสิ ต้องไม่เปล่ียนลูกเทนนิสก่อนจะเร่ิมเล่นไท-เบรก ในกรณีน้ีจะเล่ือนการเปลี่ยนลูกเทนนิสไปเป็น ตอนท่จี ะเร่ิมเลน่ เกมที่ 2 ของเซตถัดไป 2. ตอนเริ่มแต่ละเซต ถา้ ลกู เทนนสิ แตกขณะเล่น ตอ้ งเล่นคะแนนน้นั ใหม่ กรณีที่ 1 : ถา้ ลูกเทนนสิ น่มิ ตอนจบคะแนน ควรเลน่ คะแนนนนั้ ใหมห่ รือไม่ ? คำ� วินจิ ฉัย : ถ้าลูกเทนนิสน่มิ แตไ่ มแ่ ตก ไมต่ อ้ งเลน่ คะแนนนั้นใหม่ หมายเหตุ : ลูกเทนนิสท่ีใช้ในการแข่งขันตามกติกาเทนนิส จะต้องมีชื่อปรากฏอยู่ในบัญชีรายช่ือ ลูกเทนนสิ ท่ไี ด้รบั การรบั รองจากสหพนั ธ์เทนนสิ นานาชาติ (ITF) ขอ้ 4. ไมเ้ ทนนสิ (THE RACKET) ไม้เทนนิสที่ได้รับการรับรองให้ใช้ในการแข่งขันภายใต้กติกาเทนนิส ต้องสอดคล้องกับ ขอ้ ก�ำหนดในภาคผนวก 2 48 คมู่ ือผตู้ ัดสนิ กีฬาเทนนิส

สหพันธ์เทนนสิ นานาชาติ (ITF) จะเป็นผชู้ ขี้ าดว่าไมเ้ ทนนสิ หรอื ไม้เทนนสิ ต้นแบบอนั ใด ที่สอดคล้องกับภาคผนวก 2 ซ่ึงก็คือไม้เทนนิสนั้นๆ จะได้รับการรับรอง หรือไม่ได้รับการรับรอง ให้ใช้ในการแข่งขันได้ การช้ีขาดน้ันอาจจะเกิดจากความต้องการของสหพันธ์เทนนิส นานาชาติ (ITF) เอง หรือการยื่นค�ำร้องของผู้มีส่วนเก่ียวข้องที่มีความประสงค์อันบริสุทธ์ิ ซึง่ รวมถึงนกั เทนนิส หรือผู้ผลิตอปุ กรณ์กีฬา หรอื สมาคมแห่งชาตใิ ดๆ กไ็ ด้ การชขี้ าดนน้ั ๆ จะต้อง เปน็ ไปตามวธิ พี จิ ารณาทบทวนและไตส่ วนของสหพันธ์เทนนิสนานาชาติ (ITF) กรณีท่ี 1 : จะอนญุ าตใหใ้ ช้เอน็ มากกวา่ 1 ชุด ขงึ บนพ้นื ผิวของไม้เทนนิสที่ใช้ในการตี ได้หรือไม่ ? คำ� วินิจฉยั : ไมไ่ ด้ ในกตกิ าได้ใช้ค�ำว่าชดุ เดยี ว ไม่ใชห่ ลายชุด (ดูในภาคผนวก 2) กรณที ี่ 2 : การขึงเอ็นบนไม้เทนนิสอันหน่ึงจะถือว่าแบนเรียบและคงที่หรือไม่ ถ้าเอ็นอยูใ่ นระนาบมากกวา่ 1 ระนาบ คำ� วินจิ ฉยั : ไม่ กรณที ี่ 3 : จะติดตัวกันสะเทือนบนเอ็นของไม้เทนนิสได้หรือไม่? ถ้าได้ จะติดได้ บริเวณใด ? ค�ำวินิจฉยั : ได้ แตต่ ้องตดิ นอกเสน้ ท่ีไขว้กันของเอน็ เท่าน้ัน กรณที ี่ 4 : ในระหว่างคะแนน ถ้านักเทนนิสผู้หน่ึงท�ำเอ็นขาดด้วยเหตุบังเอิญ นักกฬี าผูน้ นั้ จะสามารถใชไ้ ม้อันนน้ั เล่นในคะแนนอน่ื อกี ได้หรือไม่ ค�ำวินิจฉยั : ได้ นอกจากวา่ ผจู้ ดั การแขง่ ขันได้ก�ำหนดห้ามเอาไว้ กรณีท่ี 5 : อนุญาตนักกีฬาผู้หนึ่งสามารถใช้ไม้เทนนิสมากกว่าหน่ึงอันในเวลาเดียวกัน ระหว่างการเล่นได้หรือไม่ ? ค�ำวนิ จิ ฉัย : ไมไ่ ด้ กรณที ่ี 6 : สามารถใช้แบตเตอร่ที ม่ี ผี ลตอ่ ลกั ษณะในการเล่นไมเ้ ทนนิสได้หรือไม่ ? ค�ำวินิจฉยั : ไม่ได้ ไม่ให้ใช้แบตเตอรี่ เพราะเป็นแหล่งพลังงาน เช่นเดียวกับเซล แสงอาทติ ย์ และอุปกรณอ์ ่ืนๆ ท่คี ลา้ ยกนั คมู่ ือผู้ตัดสินกฬี าเทนนสิ 49

ขอ้ ท่ี 5. การนับคะแนนในแต่ละเกม (SCORE IN A GAME) ก. เกมปกติ ในเกมปกติ จะปรากฏคะแนนดงั ต่อไปน้ี โดยขานคะแนนของผเู้ สิร์ฟกอ่ น : ไมม่ คี ะแนน - ศนู ย์ คะแนนแรก - 15 คะแนนท่ี 2 - 30 คะแนนท่ี 3 - 40 คะแนนที่ 4 - เกม นอกจากว่านักกีฬาท้ังสองหรือทีมท้ังสองได้ 3 คะแนนเท่ากัน คะแนนจะเป็น “ดิวซ์” หลังจากคะแนนดิวซ์ คะแนนจะเป็น “ได้เปรียบ” ของนักกีฬาหรือทีมที่ได้คะแนนถัดไป ถ้านักกีฬาหรือทีมเดิมชนะคะแนนต่อจากน้ัน นักกีฬาหรือทีมก็ชนะได้ “เกม” แต่ถ้านักกีฬา หรือทีมอีกฝ่ายหน่ึงได้คะแนน คะแนนก็จะเป็น “ดิวซ์” อีก นักกีฬาหรือทีมต้องชนะ 2 คะแนน ติดตอ่ กันหลงั จากคะแนนเป็น “ดิวซ์” จงึ จะชนะได้ “เกม” ข. เกมไท-เบรก ในระหวา่ งเกมไท-เบรก คะแนนจะเป็น “ศนู ย์” “1” “2” “3” เรอ่ื ยๆ ไป นักกฬี า หรอื ทีมท่ที �ำได้ 7 คะแนนกอ่ นจะเป็นผ้ชู นะได้ “เกม” และ “เซต” โดยตอ้ งมีคะแนนมากกวา่ คูต่ อ่ สู้ (อย่างน้อย) 2 คะแนนถ้าจ�ำเป็น การเล่นไท-เบรกจะด�ำเนินต่อไปจนกว่าจะมีอีกฝ่ายท่ีท�ำได้ 2 คะแนน นักกีฬาถึงรอบที่จะเสิร์ฟ จะเป็นฝ่ายเสิร์ฟคะแนนแรกของเกมไท-เบรก ฝ่ายผู้แข่งขัน จะเป็นผู้เสิร์ฟ อีก 2 คะแนนถัดไป (ในการเล่นคู่ นักกีฬาของทีมฝ่ายตรงข้างจะเป็นผู้เสิร์ฟ) หลังจากน้ันแต่ละฝ่ายจะผลัดกันเสิร์ฟฝ่ายละ 2 คะแนนติดต่อกันไปจนกว่าจะจบเกมไท-เบรก (ในการเลน่ คลู่ �ำดบั การหมนุ เวยี นคนเสิร์ฟของแต่ละทีมจะด�ำเนินไปเหมอื นตอนเลน่ ในเซตนนั้ ) นกั กฬี าหรอื ทมี ทถ่ี งึ รอบทจี่ ะเสริ ฟ์ เปน็ คนแรกในเกมไท-เบรก จะตอ้ งเปน็ ผรู้ บั ลกู เสริ ฟ์ ของเกมแรกในเซตถดั ไป วิธีการนับสกอร์เพม่ิ เตมิ แบบอ่นื ๆ ท่ีได้รบั การรับรองในภาคผนวก 5 ขอ้ 6. การนับคะแนนในแต่ละเซต (SCORE IN SET) มวี ธิ กี ารนบั คะแนนในเซตหลายแบบ สองวธิ หี ลกั คอื “เซตไดเ้ ปรยี บ” และ “เซตไท-เบรก” จะใชว้ ธิ หี นึง่ วิธีใดก็ได้แต่ต้องประกาศล่วงหนา้ กอ่ นรายการแข่งขันจะเรม่ิ ถ้าใช้วิธี “เซตไท-เบรก” จะตอ้ งประกาศให้ทราบด้วยว่าในเซตสดุ ทา้ ยจะใช้ “เซตไท-เบรก” หรือ “เซตได้เปรียบ” ก. “เซตได้เปรยี บ” 50 คูม่ ือผู้ตดั สินกฬี าเทนนิส

นักกีฬาหรือทีมที่ชนะ 6 เกม ชนะได้เซตน้ัน โดยที่ต้องได้มากกว่าคู่ต่อสู้ 2 เกม ถา้ 6 เกมเท่ากนั จะตอ้ งเล่นเซตน้ันตอ่ ไปจนกวา่ จะมีผไู้ ด้เกมมากกว่าค่แู ขง่ ขนั 2 เกม จึงจะเปน็ ผู้ชนะไดเ้ ซตนัน้ ข. “เซตไท-เบรก” นักกีฬาหรือทีมท่ีชนะ 6 เกม ชนะได้เซตน้ัน โดยท่ีต้องได้มากกว่าคู่ต่อสู้ 2 เกม ถา้ ผลการแขง่ ขนั 6 เกมเทา่ กันจะตอ้ งเล่น ไท-เบรก วิธกี ารนับสกอร์เพ่มิ เตมิ แบบอน่ื ๆ ท่ไี ด้รับรองหาไดใ้ นภาคผนวก 5 ขอ้ 7. การนับคะแนนในแตล่ ะแมทซ์ (SCORE IN MATCH) สามารถเล่นแมทซเ์ ป็นแบบ 2 ใน 3 เซต (นกั กีฬาหรอื ทีมต้องชนะ 2 เซตจงึ จะชนะแมทซ์) หรอื 3 ใน 5 เซต (นกั กีฬาหรอื ทีมต้องชนะ 3 เซตจึงจะชนะแมทซ)์ วธิ กี ารนบั ผลการแขง่ ขนั เพ่มิ เติมแบบอื่นๆ ที่ไดร้ ับรองหาได้ในภาคผนวก 5 ข้อ 8. ผเู้ สิรฟ์ และผู้รับ (ลกู เสริ ฟ์ ) (SERVER AND RECEIVER) นักกีฬาหรอื ทีมต้องอยคู่ นละขา้ งของตาข่าย ผ้เู สริ ฟ์ คอื ผู้ทเี่ ริ่มตลี ูกเทนนิสในคะแนนแรก ผรู้ ับลูกเสิร์ฟคือ ผู้ทจ่ี ะตโี ตล้ กู ทผ่ี ูเ้ สริ ์ฟตกี ลบั ไป กรณที ี่ 1 : อนุญาตให้ผูร้ บั ลกู เสิร์ฟยืนอยนู่ อกเสน้ ของสนามได้หรือไม่ ? คำ� วนิ จิ ฉยั : ได้ ผู้รบั จะยนื อยู่ในหรือนอกเสน้ ทางด้านของตนเองตรงบรเิ วณไหนก็ได้ ขอ้ 9. การเลอื กข้างและเลอื กเสิร์ฟ (CHOICE OF END AND SERVER) การเลือกข้างและการเลือกผู้เสิร์ฟในเกมแรก ตัดสินด้วยการเสี่ยงโยนเหรียญก่อนจะเร่ิม การวอรม์ นกั กฬี าหรือทีมทีช่ นะการเสีย่ ง สามารถเลือก : ก. เป็นผู้เสิร์ฟหรือผู้รับลูกเสิร์ฟในเกมแรกของแมทซ์ ในกรณีน้ีคู่แข่งขันจะเป็นฝ่าย เลอื กขา้ งส�ำหรับเกมแรกของแมทซ์ ข. เลือกข้างส�ำหรับเกมแรกของแมทซ์ ในกรณีนี้ฝ่ายคู่แข่งขันเลือกเป็นผู้เสิร์ฟหรือผู้รับ ลูกเสริ ์ฟส�ำหรบั เกมแรกของแมทซ์ ค. ใหฝ้ ่ายคู่แขง่ ขันเปน็ คนเลอื กข้อใดขอ้ หน่ึงดงั กลา่ ว คู่มอื ผ้ตู ดั สนิ กีฬาเทนนิส 51

กรณีที่ 1 : นักกีฬาหรือทีมทั้ง 2 ฝ่ายมีสิทธิ์เลือกใหม่หรือไม่ ถ้าการวอร์มหยุดลง และนกั กฬี าตอ้ งออกจากสนาม คำ� วนิ จิ ฉัย : มสี ิทธิ์ แตผ่ ลของการเสี่ยงยงั คงเดิม และสามารถเลอื กใหม่ได้ทัง้ 2 ฝ่าย ข ้อ 10. การเปลย่ี นขา้ ง (CHANGE OF ENDS) นักกีฬาต้องเปลี่ยนข้างเม่ือจบเกมแรก เกมที่ 3 และเกมท่ีเป็นจ�ำนวนคี่ต่อจากน้ัน ในแต่ละเซต นักกีฬาต้องเปล่ียนข้างเม่ือจบแต่ละเซต ยกเว้นเม่ือรวมเกมในเซตนั้นเป็นจ�ำนวนคู่ ในกรณนี ้นี ักกฬี าจะเปลี่ยนข้างตอนจบเกมแรกของเซตถัดไป ระหวา่ งการเล่นเกมไท-เบรก นักกฬี าจะเปล่ียนขา้ งทกุ ๆ 6 แตม้ ข ้อ 11. ลกู อยู่ในการเลน่ (BALL IN PLAY) นอกจากขานเสีย หรือ เล็ท ลูกเทนนิสถือว่าอยู่ในการเล่นนับตั้งแต่ผู้เสิร์ฟตีลูกเทนนิส และคงอยู่ในการเลน่ จนกระท่ังคะแนนนั้นถกู ตัดสิน ข้อ 12. ลูกทต่ี กบนเส้น (BALL TOUCHES A LINE) ถ้าลกู ที่ตกบนเสน้ สัมผัสเส้นสนาม ลกู น้ันยงั ถอื วา่ อยใู่ นการเลน่ ขอ้ 13. ลกู สมั ผัสสิ่งติดตัง้ ถาวร (BALL TOUCHES A PERMANENT FIXTURE) ถ้าลูกเทนนิสท่ีอยู่ในการเล่นกระทบสิ่งติดต้ังถาวรหลังจากตกในสนามที่ถูกต้อง นกั กฬี าท่ีตีลกู ไปเป็นผชู้ นะในคะแนนน้ัน ถ้าลกู กระทบสิ่งติดต้ังถาวรก่อนตกถึงพ้นื นกั กีฬาทตี่ ลี ูก ไปเสยี คะแนนน้นั ข้อ 14. ล�ำดบั การเสริ ฟ์ (ORDER OF SERVICE) เม่ือจบเกมปกติแต่ละเกม ผู้รับลูกเสิร์ฟจะเป็นผู้เสิร์ฟและผู้เสิร์ฟจะเป็นผู้รับลูกเสิร์ฟ ในเกมถัดไปในการเล่นคู่ทีมที่ถึงรอบต้องเสิร์ฟในเกมแรกของแต่ละเซตจะต้องเลือกว่าจะให้ คนใดเป็นคนเสิร์ฟในเกมนั้น ท�ำนองเดียวกัน ก่อนจะเร่ิมเกมท่ี 2 ฝ่ายตรงข้ามจะเป็นผู้เลือกว่า จะให้ใครเสิร์ฟในเกมน้ัน คู่ของนักกีฬาที่เสิร์ฟในเกมแรกจะเป็นคนเสิร์ฟในเกมท่ี 3 และคู่ของ นกั กีฬาทีเ่ สิร์ฟในเกมท่ี 2 จะเปน็ คนเสริ ์ฟในเกมท่ี 4 จะหมุนเวียนต่อไปเชน่ นจี้ นจบเซตน้ัน 52 คู่มือผู้ตดั สนิ กฬี าเทนนสิ

ขอ้ 15. ล�ำดับของการรับลูกเสิร์ฟในการเล่นคู่ (ORDER OF RECEIVING IN DOUBLES) ทีมใดที่รับลูกเสิร์ฟในเกมแรกของเซตสามารถจะเลือกให้ใครเป็นผู้รับลูกเสิร์ฟ ในคะแนนแรกของเกมน้ัน ท�ำนองเดียวกัน ก่อนจะเร่ิมเกมท่ี 2 ฝ่ายทีมคู่แข่งขันสามารถ จะเลือกใหใ้ ครรบั ลกู เสริ ฟ์ ในคะแนนแรกของเกมน้ัน และคู่ของนกั กีฬาท่ีรับลกู เสริ ฟ์ ในคะแนนแรก ของเกมนั้นจะเป็นผู้รับลูกเสิร์ฟ ในคะแนนท่ี 2 จะหมุนเวียนต่อไปเช่นน้ีจนจบเกมและเซตนั้น หลงั จากผ้รู ับตลี กู กลับไปแลว้ คนใดคนหน่งึ ในทีมจะตคี รง้ั ต่อไปก็ได้ กรณีที่ 1 : อนุญาตให้นักกีฬาคนใดคนหน่ึงในทีมคู่ เล่นเพียงคนเดียวกับทีม คแู่ ข่งขันไดห้ รือไม่ ค�ำวนิ ิจฉยั : ไม่ได้ ขอ้ 16. วธิ ีเสิรฟ์ (THE SERVICE) ก่อนเร่ิมเคล่ือนไหวตัวเสิร์ฟ ผู้เสิร์ฟจะต้องยืน โดยท่ีเท้าท้ัง 2 ข้างอยู่ด้านหลัง (ห่างออกไปจากตาข่าย) เส้นหลังอยู่ระหว่างแนวที่ต่อออกไป (แนวเส้นสมมุติ) จากขีดก่ึงกลาง กบั เส้นข้าง จากนั้นผู้เสิร์ฟจะโยนลูกด้วยมือไปในทิศทางใดก็ได้แล้วตีลูกด้วยไม้เทนนิสก่อนที่จะ ตกถึงพ้ืน การเคล่ือนไหวตัวเสิร์ฟสิ้นสุดเมื่อไม้เทนนิสของนักกีฬากระทบหรือพลาดลูก นักกีฬา ทใี่ ช้แขนไดข้ า้ งเดยี วสามารถใชไ้ มเ้ ทนนิสโยนลกู ได้ ขอ้ 17. การเสริ ฟ์ (SERVING) เม่ือท�ำการเสิร์ฟในเกมปกติ ผู้เสิร์ฟต้องยืนอยู่ด้านหลังของแต่ละคร่ึงสนาม สลับกันไป เริ่มจากครงึ่ ดา้ นขวามอื ในทกุ ๆ เกม ในเกมไท-เบรก ต้องท�ำการเสิร์ฟจากด้านหลังของแต่ละครึ่งสนาม สลับกันไป เร่ิมเสิร์ฟ ครงั้ แรกจากครึง่ ด้านขวามือ ลูกเสิร์ฟต้องข้ามตาข่าย และตกบนพ้ืนท่ีเสิร์ฟยังฝั่งตรงข้ามด้านทแยง ก่อนที่ผู้รับจะตี กลบั มา คมู่ ือผู้ตัดสนิ กีฬาเทนนสิ 53

ข อ้ 18. ฟุตฟอลท์ (FOOT FAULT) ระหวา่ งการเคลื่อนไหวตวั เสริ ์ฟ ผู้เสิร์ฟจะตอ้ งไม่ ก. เปลี่ยนต�ำแหน่งด้วยการเดิน หรอื ว่งิ แต่อนญุ าตให้ขยับเคล่ือนเท้าไดเ้ ล็กน้อย ข. สมั ผสั เส้นหลงั หรอื สนามด้วยเท้าข้างใดขา้ งหนง่ึ ค. สัมผัสด้านนอกแนวท่ีย่ืนออกไปจากขีดก่ึงกลางเส้นหลังและเส้นข้าง ด้วยเท้า ข้างใดข้างหนึง่ ง. สัมผัสแนวที่ย่ืนออกไปจากขีดก่ึงกลางด้วยเท้าข้างใดข้างหนึ่ง ถ้าผู้เสิร์ฟละเมิดข้อใด ขอ้ หนงึ่ ถือว่าเป็น “ฟตุ ฟอลท์” กรณีที่ 1 : ในการเลน่ เดย่ี ว อนญุ าตใหผ้ เู้ สริ ฟ์ ยนื เสริ ฟ์ ดา้ นหลงั เสน้ ทา้ ยสนามในบรเิ วณ ระหว่างเส้นขา้ งของสนามเดีย่ วกบั เสน้ ข้างของสนามคไู่ ด้หรอื ไม่ ? ค�ำวนิ จิ ฉัย : ไม่ได้ กรณที ี่ 2 : อนญุ าตให้เทา้ ขา้ งใดข้างหนงึ่ หรือทงั้ สองข้างผู้เสิร์ฟพ้นพืน้ ได้หรือไม่ ? คำ� วนิ ิจฉยั : อนญุ าต ข้อ 19. ลูกเสิร์ฟเสีย (SERVICE FAULT) ลกู เสิรฟ์ ถือวา่ เสยี ถา้ : ก. ผู้เสิร์ฟท�ำผิดกตกิ า ข้อ 16 17 หรอื 18 ข. ผู้เสริ ์ฟ ตไี มถ่ ูกลกู ตอนเสิร์ฟ ค. ลกู ท่เี สิร์ฟไป กระทบส่ิงติดตงั้ ถาวร เสา หรือ ไม้ค้�ำ กอ่ นท่ีจะกระทบพืน้ ง. ลูกท่ีเสิร์ฟไป กระทบผู้เสิร์ฟ หรือคู่ของผู้เสิร์ฟ หรือสิ่งใดที่ผู้เสิร์ฟหรือคู่ของผู้เสิร์ฟ สวมหรือตดิ ตัวอยู่ กรณีท่ี 1 : หลงั จากโยนลกู เพอื่ เสริ ฟ์ แลว้ ตดั สนิ ใจไมต่ ี ควา้ ลกู ดว้ ยมอื หรอื ไมเ้ ทนนสิ แทน ถอื ว่าเสิร์ฟเสียหรอื ไม่ ? ค�ำวินิจฉัย : ไม่ นกั กฬี าทโ่ี ยนลกู แลว้ ตดั สนิ ใจไมต่ ี สามารถควา้ ลกู ดว้ ยมอื หรอื ไมเ้ ทนนสิ หรือจะปลอ่ ยให้ตกพน้ื กไ็ ด้ กรณีท่ี 2 : ในขณะทเ่ี ลน่ เกมเดย่ี วในสนามทม่ี เี สาและไมค้ ำ้� ลกู กระทบไมค้ ำ้� และตกลง ในสนามเสริ ฟ์ ถือเป็นการเสิร์ฟเสียหรอื ไม่ ? คำ� วนิ ิจฉัย : เสยี 54 คูม่ ือผู้ตัดสนิ กีฬาเทนนิส

ข้อ 20. ลูกเสริ ฟ์ ลกู ทส่ี อง (SECOND SERVICE) ถ้าลูกเสิร์ฟลูกแรกเสีย ผู้เสิร์ฟต้องเสิร์ฟอีกโดยไม่ล่าช้า จากด้านหลังสนาม ด้านเดิม ทเ่ี สิร์ฟเสยี นอกจากวา่ จะเสริ ์ฟผิดดา้ น ข ้อ 21. โอกาสท่จี ะเสริ ์ฟและรับ (WHEN TO SERVICE AND RECEIVE) ผู้เสิร์ฟจะต้องไม่เสิร์ฟจนกว่าผู้รับจะพร้อม อย่างไรก็ตาม ผู้รับลูกเสิร์ฟจะต้องเล่น ตามจังหวะความเร็วของผู้เสิร์ฟตามสมควร และต้องพร้อมที่จะรับลูกเสิร์ฟภายในเวลาท่ีสมเหตุ กับความพร้อมของผู้เสิร์ฟ (หลังจากจบแต้ม 20 วินาที) ผู้รับลูกเสิร์ฟที่ต้ังท่าเตรียมพร้อมจะโต้ ลกู เสิร์ฟกลับไปถือว่าพร้อม ถา้ หากผู้รบั ยังไม่พร้อม จะถอื ว่าลูกเสริ ฟ์ นั้นเสียไม่ได้ ขอ้ 22. ลูกเสริ ์ฟท่ีเปน็ เล็ท (THE LET DURING A SERVICE) ลูกเสิรฟ์ ถือว่าเป็นลูกเลท็ ถา้ ก. ลูกท่ีเสิร์ฟกระทบตาข่าย แถบรั้ง ปลอกหุ้ม และตกลงพื้นที่ถูกต้อง หรือเมื่อกระทบ กับตาข่ายแถบร้ัง หรือปลอกหุ้มแล้วไปโดนผู้รับหรือคู่ของผู้รับลูกเสิร์ฟ หรือโดนอะไรก็แล้วแต่ ที่ฝา่ ยรบั สวม หรอื ตดิ ตัวกอ่ นทจ่ี ะตกพนื้ ข. ลูกท่ีเสิรฟ์ ไปในขณะผรู้ ับยังไม่พรอ้ มที่จะรับ ในกรณีที่ลูกเสิร์ฟเป็นลูกเล็ท ต้องไม่นับลูกเสิร์ฟลูกน้ัน และผู้เสิร์ฟได้เสิร์ฟใหม่ แต่ลูกเสิร์ฟเล็ทไม่ไดย้ กเลิกลูกทเ่ี สริ ฟ์ เสยี ก่อนหนา้ นั้น ข้อ 23. การขานเลท็ (THE LET) ในกรณี เมอ่ื ขานเล็ท ยกเว้นเมอ่ื เป็นลูกเสิรฟ์ เล็ทในลูกเสริ ฟ์ ลูกท่ี 2 จะตอ้ งเลน่ คะแนนนนั้ ใหม่ท้ังหมด กรณีที่ 1 : เม่อื ลกู อยู่ในการเล่น มลี กู อกี ลกู หนง่ึ กล้งิ เขา้ มาในสนาม กรรมการขานเลท็ ก่อนหน้าน้ันผู้เสิร์ฟเสิร์ฟเสียไปแล้วหน่ึงลูก ผู้เสิร์ฟมีสิทธ์ิเสิร์ฟลูกแรกหรือ ลกู ที่สอง คำ� วินิจฉยั : เสิรฟ์ ลกู แรก ตอ้ งเลน่ แต้มน้ันใหม่ทั้งหมด ค่มู อื ผู้ตดั สินกีฬาเทนนิส 55

ข้อ 24. ผู้เลน่ เสียคะแนน (PLAYER LOSES POINT) ผู้เลน่ จะเสยี คะแนน เมื่อ : ก. เสิรฟ์ เสีย 2 ลกู ตดิ ตอ่ กนั ข. ผเู้ ลน่ ตลี ูกทีอ่ ยใู่ นการเลน่ กลบั ไปก่อนทล่ี กู จะตกลงพนื้ 2 ครั้งติดตอ่ กนั ค. ผู้เล่นตีลูกท่ีอยูใ่ นการเลน่ แลว้ กระทบพืน้ หรือวัตถทุ ่ีอยนู่ อกสนามที่ใช้เล่น ง. ผเู้ ลน่ ตลี กู ที่อยใู่ นการเลน่ แล้วกระทบสิ่งติดตง้ั ถาวรกอ่ นทจ่ี ะตกลงพนื้ จ. ผ้เู ล่นจงใจท่ีจะพาหรือรับลูกท่ีอยู่ในการเล่น (ให้หยดุ น่งิ ) บนไม้เทนนิส หรือจงใจตีลกู ดว้ ยไมเ้ ทนนสิ (ในคราวเดยี ว) มากกวา่ หนง่ึ คร้งั ฉ. ผู้เล่นหรือไม้เทนนิส ไม่ว่าจะอยู่ในมือของผู้เล่นหรือไม่ก็ตาม หรืออะไรก็ตามท่ีผู้เล่น สวมหรือติดตัวอยู่กระทบถูกตาข่าย เสา หรือไม้ค�้ำ เชือกหรือลวดตาข่าย แถบรั้งหรือปลอกหุ้ม หรอื พนื้ สนามของคแู่ ขง่ ขันไม่ว่าเวลาไหนในระหวา่ งที่ลูกอยใู่ นการเลน่ ช. ผเู้ ลน่ ตีลูกกอ่ นที่จะข้ามตาขา่ ย ซ. ลูกที่อยู่ในการเล่น โดนตัวผู้เล่นหรือสิ่งใดๆ ท่ีผู้เล่นสวมหรือติดตัวอยู่ ยกเว้น ไม้เทนนิส ฌ. ลูกทอ่ี ยู่ในการเล่นกระทบไม้ในขณะทีผ่ ู้เลน่ ไมไ่ ดถ้ อื อยู่ ญ. ผเู้ ล่นจงใจและท�ำใหร้ ปู รา่ งของไมเ้ ทนนสิ เปลยี่ นไปในขณะทล่ี กู อยู่ในการเลน่ ฎ. ในการเล่นคู่ ผเู้ ล่นทงั้ สองคนกระทบถกู ลกู พร้อมกนั เมอื่ จะตีกลับไป กรณที ่ี 1 : หลงั จากเสริ ฟ์ ลูกแรก ไม้เทนนิสหลดุ จากมอื ของผเู้ สิรฟ์ ไปโดนตาข่ายกอ่ น ท่ีลกู จะตกถึงพื้นลูกเสิร์ฟนนั้ เสียหรอื ไม่ คำ� วนิ จิ ฉัย : ผู้เสิร์ฟเสียคะแนนเพราะว่าไม้เทนนิสกระทบถูกตาข่ายในขณะที่ลูกอยู่ใน การเลน่ กรณีที่ 2 : หลังจากผู้เสิร์ฟได้เสิร์ฟลูกแรกแล้ว ไม้เทนนิสหลุดมือโดนตาข่ายหลังจาก ลูกเทนนิสตกถึงพื้นนอกพื้นท่ีเสิร์ฟท่ีถูกต้อง ถือว่าเป็นลูกเสิร์ฟเสีย หรือ ผูเ้ สิร์ฟเสียคะแนน ? ค�ำวินิจฉัย : ถอื เปน็ ลกู เสริ ฟ์ เสยี เพราะเมอ่ื ไมเ้ ทนนสิ โดนตาขา่ ย ลกู ไมอ่ ยใู่ นการเลน่ แลว้ กรณีท่ี 3 : ในแมทซ์เล่นคู่ คู่ของฝ่ายรับลูกเสิร์ฟ ไปกระทบถูกตาข่ายก่อนที่ลูกเสิร์ฟ จะตกถงึ พนื้ นอกสนามทถี่ กู ต้อง จะตัดสนิ ใจให้ถูกตอ้ งอยา่ งไร คำ� วินจิ ฉัย : ทมี ผู้รบั เสยี คะแนน เพราะคขู่ องผรู้ ับโดนตาขา่ ยในขณะทล่ี กู อยใู่ นการเล่น 56 คมู่ ือผู้ตดั สินกีฬาเทนนสิ

กรณีท่ี 4 : ผเู้ ลน่ จะเสยี คะแนนหรอื ไมถ่ า้ ขา้ มแนวทตี่ อ่ จากตาขา่ ย ไมว่ า่ กอ่ นหรอื หลงั ตี ลกู แลว้ ค�ำวินจิ ฉัย : ไม่เสียคะแนนทงั้ 2 อย่าง แตต่ ้องไม่เข้าไปในพ้นื สนามของฝา่ ยตรงขา้ ม กรณีท่ี 5 : ผู้เล่นโดดข้ามตาข่ายไปในสนามของฝ่ายตรงข้ามในขณะท่ีลูกยังอยู่ใน การเลน่ ไดห้ รือไม่ ค�ำวนิ ิจฉยั : ไม่ได้ ผูเ้ ล่นเสยี คะแนน กรณที ่ี 6 : ผู้เล่นขว้างไม้ใส่ลูกขณะท่ีอยู่ในการเล่น ท้ังไม้และลูกตกลงในฝั่งตรงข้าม และคแู่ ข่งขนั ไม่สามารถเขา้ มาตลี ูกได้ ใครเป็นคนได้คะแนน ? คำ� วนิ จิ ฉยั : ผเู้ ล่นที่ขวา้ งไมใ้ สล่ ูกเสียคะแนน กรณีที่ 7 : ลูกเสิร์ฟโดนผู้รับ หรือในการเล่นคู่โดนคู่ของผู้รับก่อนท่ีลูกจะตกถึงพ้ืน ผูเ้ ล่นฝ่ายไหนไดค้ ะแนน ? ค�ำวินิจฉยั : ผูเ้ สิร์ฟได้คะแนน ยกเวน้ ว่าเปน็ ลกู เสิรฟ์ เลท็ กรณที ี่ 8 : ผู้เล่นยืนอยู่นอกสนามตีหรือรับลูกก่อนตกพื้นและอ้างว่าได้คะแนนเพราะ ลูกออกนอกสนามแนน่ อนแล้ว คำ� วินิจฉัย : ผเู้ ลน่ ผนู้ น้ั เสยี คะแนน นอกจากวา่ ลกู ทตี่ ไี ปนน้ั ดี ซงึ่ ถา้ เปน็ เชน่ นนั้ กต็ อ้ งเลน่ คะแนนนัน้ ต่อ ขอ้ 25. การตโี ต้ที่ดี (A GOOD) การตโี ต้ถือวา่ ดี คอื : ก. ลกู โดนตาข่าย เสา ไม้คำ้� เชือก ลวด แถบร้งั หรือปลอกหมุ้ แต่ตอ้ งข้ามตาข่ายและ ตกลงพื้นในสนามท่ถี ูกต้องนอกจากท่ีระบุไวใ้ นกตกิ าขอ้ ที่ 2 และ 24 (ง) ข. หลังจากลูกท่ีอยู่ในการเล่นตกพ้ืนในสนามแล้วหมุนหรือโดยลมพัดกลับข้ามตาข่าย ผเู้ ล่นเออ้ื มข้ามตาข่ายแล้วเล่นลกู เขา้ ไปในสนาม แต่ตอ้ งไม่ผดิ กตกิ าข้อ 24 ค. ตีลกู นอกเสาไมว่ ่าจะต�ำ่ กว่าหรอื เหนอื ระดับบนสดุ ตาข่าย ถึงจะโดนเสา แต่ตอ้ งตกลง ในสนามยกเวน้ จากที่ระบไุ ว้ในกติกาข้อ 2 และ 24 (ง) ง. ลกู ลอดผา่ นใตเ้ ชอื กขงึ ตาขา่ ยระหวา่ งไมค้ ำ�้ กบั เสาทอ่ี ยใู่ นดา้ นเดยี วกนั โดยไมถ่ กู ตาขา่ ย เชอื กขึงหรือเสา และตกพื้นในสนาม คมู่ ือผู้ตัดสนิ กีฬาเทนนิส 57

จ. หลงั จากตลี กู จากฝง่ั ของตวั เอง ไมเ้ ทนนสิ ของผเู้ ลน่ ขา้ มตาขา่ ย และลกู ตกลงในสนาม ฉ. ผเู้ ล่นตีลกู ทอ่ี ยู่ในการเล่น แล้วลูกไปถกู อกี ลูกที่ทิง้ อยใู่ นสนาม กรณที ี่ 1 : ผู้เล่นตลี กู แลว้ ลกู ไปกระทบไม้ค้ำ� และตกในสนาม ถือวา่ เปน็ ลูกดหี รอื ไม่ ? คำ� วนิ จิ ฉยั : ดี แตถ่ ้าเปน็ ลกู เสิรฟ์ แล้วไปกระทบไมค้ ำ้� ถอื วา่ เป็นลกู เสิร์ฟเสยี กรณที ี่ 2 : ลูกทอ่ี ยูใ่ นการเล่นไปถูกลูกท่ที ้งิ อยู่บนพ้นื ในสนาม จะตัดสินอยา่ งไรจงึ ถูก ? ค�ำวินิจฉยั : ให้เล่นตอ่ แตถ่ า้ ไมร่ ูแ้ น่ว่าลูกทตี่ ีกลับมาเป็นลกู เดิม ควรเปน็ เลท็ ข อ้ 26. การขดั ขวางการเลน่ (HINDRANCE) ถ้าผู้เล่นถูกขัดขวางการเล่นคะแนนโดยการกระท�ำที่จงใจของฝ่ายตรงข้าม ให้ผู้เล่นน้ัน ได้คะแนนนั้น อย่างไรก็ดี จะต้องเล่นคะแนนน้ันใหม่ถ้าผู้เล่นถูกขัดขวางการเล่นคะแนนโดยการ กระท�ำท่ีไม่ตั้งใจของฝ่ายตรงข้าม หรือโดยสิ่งท่ีอยู่นอกเหนือการควบคุมของผู้เล่น (ไม่รวมถึง สิ่งติดต้ังถาวร) กรณีที่ 1 : การตกี ระทบลกู 2 ครงั้ โดยไมต่ ้งั ใจถอื เปน็ การขัดขวางหรอื ไม่ ? ค�ำวินจิ ฉยั : ไม่ ให้ดกู ติกาข้อ 24 (จ) กรณีที่ 2 : ผู้เล่นอ้างว่าต้องหยุดเล่นเพราะคิดว่าฝ่ายตรงข้ามถูกขัดขวาง ถือว่าเป็น การขดั ขวางหรือไม่ ? ค�ำวินิจฉยั : ไม่ ผเู้ ลน่ เสยี คะแนน กรณีท่ี 3 : ลูกท่ีอยู่ในการเล่นโดนนกที่ก�ำลังบินข้ามสนาม ถือเป็นการขัดขวาง หรือไม่ ? คำ� วินิจฉยั : ใช่ ต้องเล่นคะแนนนนั้ ใหม่ กรณที ี่ 4 : ระหว่างการเล่น ถ้ามีลูกเทนนิสหรือวัตถุอื่นอยู่บนสนามด้านผู้เล่น ถือว่า เปน็ การขดั ขวางหรือไม่ ? คำ� วินิจฉยั : ไม่ กรณีท่ี 5 : ในการเล่นคู่ คู่ของฝ่ายเสิร์ฟ และคู่ของฝ่ายรับลูกเสิร์ฟจะยืนอยู่ตรงไหน ไดบ้ ้าง ? คำ� วินิจฉยั : คู่ทั้งสองจะยืนอยู่ทางฝั่งสนามของตัวเอง จะเป็นข้างนอกหรือในสนาม ก็ได้ แต่ถ้าผู้เล่นคนใดก�ำลังท�ำให้การขัดขวางฝ่ายตรงข้าม ก็ควรตัดสิน ดว้ ยการขัดขวาง 58 คมู่ ือผตู้ ดั สนิ กฬี าเทนนสิ

ข้อ 27. การแก้ไขความผิดพลาด (CORRECTING ERRORS) ใหม่ โดยหลักการ เมื่อพบความผิดพลาดตามกติกาเทนนิส คะแนนที่เล่นไปแล้วทั้งหมด จะตอ้ งคงอยตู่ ามเดิม ความผดิ พลาดที่เกดิ ขนึ้ จะตอ้ งแก้ไขดงั ต่อไปน้ี ก. ระหว่างการเล่นเกมปกติ หรือเกมไท-เบรก ถ้าผู้เล่นคนหนึ่งเสิร์ฟผิดด้าน ต้องแก้ไข ทันทีที่รู้ความผิดพลาด และผู้เสิร์ฟต้องเสิร์ฟจากด้านท่ีถูกตามคะแนนท่ีเป็นอยู่ ลูกเสียท่ีเสิร์ฟ กอ่ นหน้าน้ใี ห้นบั เสยี ตามเดิม ข. ระหว่างการเล่นเกมปกติ หรือเกมไท-เบรก ถ้าผู้เล่นอยู่ผิดฝั่งของสนาม ต้องแก้ไข ทนั ทที ร่ี ู้ และผเู้ สริ ์ฟตอ้ งเสิร์ฟจากฝั่งที่ถกู ตามคะแนน ค. ถ้าผู้เล่นคนหนึ่งเสิร์ฟผิดล�ำดับในระหว่างการเล่นเกมปกติ คนท่ีแต่เดิมควรเป็น ผู้เสิร์ฟจะต้องเสิร์ฟทันทีที่รู้ว่าผิด แต่ถ้าเล่นเกมท่ีเสิร์ฟผิดคนจนจบแล้วก่อนท่ีจะรู้ว่าผิด ให้เสิร์ฟ คงตามล�ำดับท่ีเปล่ียนไป ลูกที่เสิร์ฟเสียไปแล้วโดยฝ่ายตรงข้ามก่อนท่ีจะรู้ว่าผิด จะไม่นับ แตใ่ นการเล่นคูถ่ ้าเสริ ์ฟผดิ ล�ำดับ ลกู ที่เสิร์ฟเสยี ไปแล้วกอ่ นท่จี ะรู้วา่ ผิดใหถ้ ือวา่ ยังคงนับ ง. ถ้าผู้เล่นคนหน่ึงเสิร์ฟผิดล�ำดับในการเล่นเกมไท-เบรก และรู้ว่าผิดเม่ือจ�ำนวนคะแนน ท่ีเล่นไปแล้วรวมเป็นจ�ำนวนคู่จะต้องแก้ไขข้อผิดพลาดทันที แต่ถ้ารู้ตอนจ�ำนวนคะแนนท่ีเล่น ไปแล้วรวมเป็นจ�ำนวนคี่ ล�ำดับของคนเสิร์ฟให้เป็นไปตามที่เปล่ียน ลูกเสิร์ฟเสียท่ีฝ่ายตรงข้าม เสิร์ฟกอ่ นทจี่ ะรูว้ ่าผิด จะไม่นบั จ. ระหว่างการเล่นเกมปกติ หรือเกมไท-เบรกในการเล่นคู่ ถ้าผู้รับลูกเสิร์ฟผิดล�ำดับ จะต้องคงล�ำดับเอาไว้ตามท่ีผิดจนจบเกมท่ีรู้ว่าผิด ในเกมท่ีจะต้องเป็นผู้รับลูกเสิร์ฟถัดไป ในเซตน้นั คู่จะตอ้ งเขา้ รบั ลกู เสริ ์ฟตามล�ำดบั ฉ. ถ้าความผิดพลาดเกิดข้ึนเม่ือเร่ิมเล่นเกมไท-เบรก หลังจากสกอร์เป็น 6 เกมเท่ากัน โดยท่ีแต่เดิมตกลงกันว่าจะใช้ระบบ “เซตได้เปรียบ” ต้องแก้ความผิดพลาดทันทีถ้าเพ่ิงเล่น ไปได้เพียงคะแนนเดียว ถ้ารู้ตอนท่ีก�ำลังเล่นคะแนนที่ 2 จะต้องเล่นเซตต่อโดยการใช้ ระบบ “เซตไท-เบรก” ช. ถ้าความผดิ พลาดเกดิ ขน้ึ เมอ่ื เร่มิ เลม่ เกมปกตหิ ลัง 6 เกมเท่ากนั โดยที่ตกลงกนั ไวก้ ่อน ว่าเซตน้ันจะเล่นเป็น “เซตไท-เบรก” ถ้าเพ่ิงเล่นไปได้คะแนนเดียว ให้แก้ไขข้อผิดพลาดทันที แต่ถ้ารู้เมื่อก�ำลังเล่นคะแนนที่ 2 จะต้องเล่นคะแนนนั้นต่อไปแบบ “เซตได้เปรียบ” จนสกอร์ถึง 8 เกมเทา่ กัน (หรือเปน็ จ�ำนวนคู่ทสี่ ูงกว่านี)้ ตอ้ งเลน่ เกมไท-เบรก ซ. ถ้าเกดิ ความผิดพลาดเมอ่ื เร่ิมเลน่ “เซตไดเ้ ปรียบ” หรือ “เซตไท-เบรก” โดยที่ตกลง ไว้ก่อนว่าในเซตสุดท้ายจะเล่นไท-เบรก ตัดสินแมทซ์ ให้แก้ไขข้อผิดพลาดทันทีถ้าเล่นไปได้เพียง คะแนนเดียว แต่ถ้ารู้ตอนท่ีก�ำลังเล่นคะแนนที่ 2 ต้องเล่นเซตน้ันต่อจนกระท่ังผู้เล่นหรือทีมหนึ่ง ได้ 3 เกม (ซ่ึงก็คือได้เซตนั้น) หรือจนกระทั่งสกอร์เป็น 2 เกมเท่ากัน จึงเล่นไท-เบรก ค่มู อื ผ้ตู ัดสนิ กีฬาเทนนิส 59

ตัดสินแมทซ์ แต่ถ้ารู้เมื่อเร่ิมเล่นเกมท่ี 5 แล้ว ให้เล่นเซตน้ันต่อเป็นระบบ “เซตไท-เบรก” (ดูใน ภาคผนวก 4) ฌ. ถ้าไม่ได้เปลี่ยนลูกตามล�ำดับที่ถูกต้อง ต้องแก้ไขความผิดพลาดเมื่อผู้เล่นหรือทีม ทค่ี วรจะไดเ้ สริ ฟ์ ดว้ ยลกู ใหมถ่ งึ ก�ำหนดทจี่ ะเสริ ฟ์ ในเกมใหม่ หลงั จากนน้ั ลกู จะถกู เปลยี่ นตามจ�ำนวน เกมทใ่ี ช้เลน่ ตามตกลงกันแตเ่ ดมิ ไม่ควรเปลีย่ นลูกก�ำลังอยูใ่ นเกม ข ้อ 28. หนา้ ท่ขี องเจา้ หน้าทปี่ ระจ�ำสนาม (ROLE OF COURT OFFICALS) ในแมทซ์ท่ีมีการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ประจ�ำสนาม ให้ดูหน้าท่ีและความรับผิดชอบของ เจา้ หน้าทใ่ี นภาคผนวก 6 ขอ้ 29. ความตอ่ เนอื่ งในการแขง่ ขนั (CONTINUOUS PLAY) โดยหลักการ การแข่งขันควรต่อเน่ือง ตั้งแต่แมทซ์เร่ิม (เม่ือลูกเสิร์ฟลูกแรกของแมทซ์ เร่มิ การแข่งขัน) จนกระท่ังส้ินสุดแมทซ์ ก. ช่วงหยุดระหว่างคะแนน ให้เวลาสูงสุด 20 วินาที เมื่อผู้เล่นเปล่ียนข้างเมื่อจบเกม ให้เวลาสูงสุด 90 วินาที แต่หลังจากเกมแรกของแต่ละเซต และในช่วงไท-เบรก การเล่นต้อง ตอ่ เนอื่ งและผูเ้ ลน่ ต้องเปลีย่ นขา้ งโดยไมม่ ีการพัก เมอ่ื สิ้นสุดแตล่ ะเซตให้มกี ารหยดุ พกั ของเซตสูงสุด 120 วินาที เวลาสูงสุดเริ่มจับทันทีที่คะแนนนั้นๆ จบลง จนถึงเมื่อไม้สัมผัสลูกของการเสิร์ฟลูกแรก ในคะแนนต่อไป ผู้จัดการแข่งขันในการแข่งขันอาชีพอาจท�ำเร่ืองขอการรับรองจากสหพันธ์ฯ เพ่ือยืด เวลาพัก 90 วินาที ท่ีอนุญาตให้ผู้เล่นในการเปล่ียนข้างเม่ือจบเกม และ 120 วินาทีที่อนุญาต ใหพ้ กั เม่ือจบเซต ข. ถ้าด้วยเหตุผลท่ีนอกเหนือการควบคุมของผู้เล่น เสื้อผ้า รองเท้า หรืออุปกรณ์ ท่ีจ�ำเป็น (ยกเว้นไม้เทนนิส) ขาดหรือจ�ำเป็นต้องเปล่ียน ผู้เล่นจะได้รับเวลาพิเศษท่ีสมเหตุผล เพอ่ื แก้ไขปญั หา ค. จะต้องไม่ให้เวลาพิเศษแก่ผู้เล่นเพื่อให้ฟื้นฟูสภาพร่างกาย แต่ถ้าผู้เล่นมีอาการ ที่สามารถรักษาทางแพทย์ได้ก็จะได้รับเวลานอกส�ำหรับการแพทย์ 3 นาที เพื่อท�ำการรักษา อาการทางแพทย์นั้น อาจอนุญาตให้หยุดพักไปห้องน�้ำเปลี่ยนเคร่ืองแต่งกาย โดยจ�ำกัด จ�ำนวนครั้งและประกาศล่วงหน้ากอ่ นรายการแขง่ ขนั จะเร่มิ 60 คู่มือผตู้ ดั สนิ กีฬาเทนนิส

ง. ผู้จัดการแข่งขันอาจอนุญาตให้มีช่วงพัก 10 นาที ถ้าประกาศล่วงหน้าก่อนรายการ แขง่ ขนั จะเรมิ่ ชว่ งพกั นี้ จ. เวลาในการวอรม์ สูงสุด 5 นาที ยกเวน้ ทางผจู้ ดั การแข่งขนั จะพจิ ารณาเป็นอยา่ งอน่ื ข้อ 30. การสอน (COACHING) การสอนคือ การส่ือสาร ค�ำแนะน�ำ หรือค�ำสั่งไม่ว่าประเภทใดๆ ให้นักกีฬาได้ยิน หรือ มองเหน็ ในการแข่งขันประเภททีม จะมีหัวหน้าทีมนั่งอยู่ในสนาม หัวหน้าทีมสามารถสอนผู้เล่น ระหว่างพักเซต และตอนเปล่ียนข้างเม่ือจบเกมได้ แต่ต้องไม่ใช่การเปล่ียนข้างเมื่อจบเกมเกมแรก ข องแต่ละเซต กับตอนเลน่ เกมไท-เบรกส�ำหรับในการแข่งขันอืน่ ๆ ห้ามไมใ่ หม้ ีการสอน กรณที ่ี 1 : อนญุ าตใหผ้ สู้ อนสง่ สญั ญาณอยา่ งลับๆ ได้หรอื ไม่ ? ค�ำวนิ จิ ฉยั : ไม่ได ้ กรณีท่ี 2 : ถา้ การแข่งขนั ถูกหยุด ผูเ้ ลน่ จะไดร้ บั การสอนไดห้ รือไม่ ? คำ� วินิจฉัย : ได้ ข้อ 31. การใชเ้ ทคโนโลยใี นการวเิ คราะหผ์ เู้ ลน่ (PLAYER ANALYSIS TECHNOLOGY) การใช้เทคโนโลยีในการวิเคราะห์ผู้เล่นจ�ำเป็นต้องได้รับการพิจารณาจากสหพันธ์เทนนิส นานาชาติ (ITF) ตามข้อปฏบิ ัตใิ นภาคผนวกที่ 3 สหพันธ์เทนนิสนานาชาติ (ITF) จะใช้ค�ำถามท่ีว่าอุปกรณ์ดังกล่าวได้รับการอนุมัติ หรือไม่ การพิจารณาดังกล่าวอาจต้องด�ำเนินการทบทวนตามขั้นตอนการบังคับใช้ของสหพันธ์ เทนนิสนานาชาติ ลูกเทนนิส ก. ลูกเทนนิสต้องมีผิวนอกสม�่ำเสมอ ประกอบด้วย ผ้าสักหลาดหุ้มและมีสีขาวหรือ สีเหลอื ง ถา้ มรี อยต่อต้องไมม่ ีตะเข็บ ข. ลูกเทนนิสต้องมีคุณสมบัติตามข้อก�ำหนดต่อไปนี้ และต้องมีน้�ำหนัก (มวล) มากกวา่ 1,975 ออนช์ (56.0 กรมั ) และนอ้ ยกวา่ 2,095 ออนช์ (59.4 กรัม) คมู่ ือผูต้ ัดสนิ กฬี าเทนนสิ 61

ค. มีลูกเทนนิสมากกว่าหน่ึงประเภท ลูกเทนนิสแต่ละลูกต้องกระดอนสูงกว่า 53 นิ้ว (134.62 ซม.) และน้อยกว่า 58 นิ้ว (147.32 ซม.) เม่ือปล่อยให้ตกจากความสูง 100 นิ้ว (254.00 ซม.) บนสนามมีผวิ ราบ แข็ง เชน่ พ้นื คอนกรตี ลูกเทนนสิ ประเภทท่ี 1 (ความเร็วสงู ) จะต้องมีการยุบตัวดา้ นหน้ามากกว่า 0.195 นิ้ว (0.495 ซม.) และนอ้ ยกวา่ 0.235 นิว้ (0.597 ซม.) และโป่งออกมากกว่า 0.265 น้ิว (0.673 ซม.) และน้อยกว่า 0.3660 น้ิว (0.914 ซม.) เม่อื รับแรงกด 18 ปอนด์ (8.165 กก.) ประเภทท่ี 2 (ความเร็วปานกลาง) และประเภทท่ี 3 (ความเร็วต�่ำ) ต้องมีการยุบตัว ด้านหนา้ มากกวา่ 0.220 นิ้ว (0.559 ซม.) และน้อยกว่า 0.290 น้ิว (0.737 ซม.) และโป่งออก มากกวา่ 0.315 นว้ิ (0.800 ซม.) และนอ้ ยกวา่ 0.425 น้ิว (1.080 ซม.) เม่ือรับแรงกด 18 ปอนด์ (8.165 กก.) คา่ การยบุ ตัวทัง้ สองจะตอ้ งเปน็ คา่ เฉลยี่ จากการอา่ น ตามแกนท้งั สามของลกู เทนนสิ และในกรณีการอ่าน 2 คร้ัง ได้ค่าความแตกต่างตอ้ งไมม่ ากกวา่ 0.030 น้ิว (0.076 ซม.) ง. ส�ำหรับการแข่งขันท่ีแข่งขันในสนามที่มีระดับสูงกว่า 4,000 ฟุต จากระดับน้�ำทะเล อาจใช้ลกู เทนนิสเพิ่มข้นึ อีก 2 ประเภทก็ได้ ประเภทแรกจะเหมือนกับลูกเทนนิสประเภทท่ี 2 (ความเร็วปานกลาง) ดังท่ีนิยามไว้ ข้างต้น ยกเว้น ลกู เทนนิสนี้จะมีการกระดอนมากกว่า 48 นวิ้ (121.92 ซม.) และนอ้ ยกว่า 53 นิว้ (134.62 ซม.) และต้องมีความดันภายในมากกว่าความดันภายนอก ลูกเทนนิสประเภทน้ีรู้จักกัน ทว่ั ไปวา่ ลกู เทนนิสอัดแรงดนั ประเภทท่ีสองจะเหมอื นกบั ลูกเทนนิสประเภทท่ี 1 (ความเรว็ สูง) ดงั ทนี่ ยิ ามเอาไวข้ ้างตน้ ยกเว้นลูกเทนนิสนี้จะมีความดันภายในเท่ากับภายนอกโดยประมาณ และจะต้องถูกปรับให้เข้า กับสภาพอากาศระดับสูงที่ใช้ในการแข่งขันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 60 วัน ลูกเทนนิสประเภทน้ี รู้จักกันท่ัวไปว่า ลกู เทนนิสแรงดนั ศนู ย์หรือลกู เทนนสิ ไมอ่ ดั แรงดัน ลูกเทนนิสอีกประเภทหนึ่ง ซ่ึงได้รับการเสนอแนะให้ใช้ส�ำหรับการแข่งขันในสนาม ทุกประเภทผิวท่ีความสูงมากกว่า 4,000 ฟุต (1,219 เมตร) จากระดับน�้ำทะเล คือ ลูกเทนนิส ประเภทท่ี 3 (ความเรว็ ต่ำ� ) ดังท่นี ิยามเอาไว้ข้างตน้ จ. การทดสอบการกระดอน ขนาดและการเสียรูป จะตอ้ งท�ำตามข้อก�ำหนด กรณีที่ 1 : ควรใชล้ กู เทนนสิ ประเภทไหน กบั ผิวสนามแบบใด ? ค�ำวินิจฉยั : มีลกู เทนนสิ 3 ประเภทท่ีไดร้ บั การรบั รองภายใต้กติกาเทนนสิ อย่างไรก็ดี ก. ลูกเทนนิสประเภทท่ี 1 (ความเรว็ สูง) เหมาะส�ำหรับใชแ้ ข่งขนั ในสนามช้า ข. ลูกเทนนิสประเภทท่ี 2 (ความเร็วปานกลาง) เหมาะส�ำหรับใช้ในสนามเร็วปานกลาง หรือสนามเรว็ ปานกลางคอ่ นขา้ งเร็ว ค. ลูกเทนนสิ ประเภทท่ี 3 (ความเรว็ ต่�ำ) เหมาะส�ำหรบั ใชแ้ ข่งขนั ในสนามเรว็ 62 คมู่ ือผตู้ ดั สนิ กีฬาเทนนิส

ไม้เทนนสิ ก. สนามท่ีใช้ตีของไม้ต้องเรียบและประกอบขึ้นด้วยลวดลายของเส้นเอ็นที่ยึดกับโครง ขึงข้างและสอดสลับกันไปหรือแปะติดในจุดที่ผ่านกัน ลวดลายโดยรวมของเส้นเอ็นต้องคงที่ และ โดยเฉพาะตรงก่ึงกลางต้องหนาแน่นไม่น้อยกว่าบริเวณอื่นๆ ไม้เทนนิสต้องได้รับการออกแบบ และการข้ึนเอ็นท่ที �ำใหม้ คี ณุ ลักษณะในการตีเหมอื นกนั ทกุ ประการทงั้ 2 หนา้ เส้นเอ็นต้องไม่มีวัตถุอื่นติด หรือโผล่นูนออกมานอกไปจากที่ต้องใช้เพื่อจุดประสงค์ ในการจ�ำกัดหรือป้องกันการสึกหรอหรือแตกหัก หรือการส่ันสะเทือนเท่าน้ัน วัตถุเหล่าน้ีและ สว่ นที่โผลน่ ูนออกมาตอ้ งมีขนาดและการติดท่สี มเหตสุ มผลเพ่ือประโยชน์ดงั กล่าว ข. โครงของไม้ต้องมีขนาด รวมท้ังด้ามจับด้วย ยาวทั้งสิ้นไม่เกิน 29 น้ิว (73.66 ซม.) ความกว้างท้ังหมดของโครงต้องไม่เกิน 12 ½ นิ้ว (31.75 ซม.) ไม้ที่ใช้ในการตี ต้องยาวไม่เกิน 15 ½ นว้ิ (39.37 ซม.) และกวา้ งไม่เกนิ 11 ½ น้ิว (29.21 ซม.) ค. โครงของไม้รวมท้ังด้าม ต้องไม่มีวัตถุหรือเคร่ืองมือติดอยู่ นอกไปจากท่ีใช้เพื่อ จุดประสงค์ในการป้องกันหรือลดการสึกหรอหรือฉีกขาด หรือการสั่นสะเทือนหรือการกระจาย นำ้� หนกั เทา่ นนั้ วตั ถหุ รอื เครอ่ื งมอื นน้ั ตอ้ งมขี นาดและการตดิ ทส่ี มเหตสุ มผลเพอื่ จดุ ประสงคด์ งั กลา่ ว ง. โครงของไม้รวมท้ังด้ามและเอ็นต้องไม่มีเคร่ืองมือใดๆ ที่จะท�ำให้เปล่ียนรูปร่างของไม้ หรือเปล่ียนการกระจายน�้ำหนักไปในทิศทางตามแกนยาวของไม้ ซึ่งจะให้ค่าความเฉ่ือยของ การเหว่ียงเปลี่ยนไป หรือจงใจที่จะเปล่ียนคุณสมบัติด้านกายภาพของไม้ให้มีผลต่อการแข่งขัน ต้องไมม่ กี ารตดิ ตง้ั แหลง่ พลงั งานใดๆ บนตวั ไมท้ ี่จะมผี ลหรือเปลย่ี นคณุ ลักษณะในการแขง่ ขนั การใชเ้ ทคโนโลยใี นการวิเคราะหผ์ เู้ ลน่ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการวเิ คราะหผ์ เู้ ลน่ หรอื การเลน่ เทนนสิ คอื การใชอ้ ปุ กรณเ์ ครอ่ื งมอื ใดๆ เพื่อประเมินและเกบ็ ขอ้ มูลของผ้เู ลน่ ดงั ต่อไปนี้ ก. การบันทกึ (Recording) ข. การจัดเก็บ (Storing) ค. การสง่ (Transmission) ง. การวเิ คราะห์ (Analysis) จ. การสื่อสารให้กับผู้เล่นใดๆ และโดยวิธีใด (Communication to player of any kind and by any means) การใชเ้ ทคโนโลยใี นการวเิ คราะหผ์ เู้ ลน่ หรอื การเลน่ เทนนสิ อาจบนั ทกึ และ/หรอื เกบ็ ขอ้ มลู ในระหว่างการแข่งขนั ขอ้ มลู ดังกล่าวอาจถกู สง่ ถงึ ผ้เู ลน่ ซงึ่ เป็นไปตามกฎขอ้ 30 ค่มู ือผูต้ ัดสนิ กฬี าเทนนิส 63

การโฆษณา 1. อนญุ าตให้มีการโฆษณาบนตาขา่ ย ตราบเทา่ ที่ติดอยู่บนส่วนของตาขา่ ยในระยะ 3 ฟุต (0.914 ม.) จากศูนย์กลางของเสาขึงตาข่าย และต้องไม่รบกวนสายตาของนักกีฬาหรือสภาพ การแข่งขัน 2. อนญุ าตใหม้ กี ารโฆษณาหรอื มเี ครอ่ื งหมายหรอื วสั ดอุ น่ื ตดิ ตง้ั ทางดา้ นหลงั หรอื ดา้ นขา้ ง ของสนามได้ แต่ตอ้ งไมร่ บกวนสายตาของนกั กฬี าหรอื สภาพการแขง่ ขนั 3. อนุญาตให้มีการโฆษณาหรือมีเครื่องหมายหรือวัสดุอ่ืนวางบนพ้ืนสนามนอกเส้น แต่ตอ้ งไม่รบกวนสายตาของนกั กฬี าหรอื สภาพการแข่งขัน 4. แมจ้ ะอนญุ าตตามขอ้ 1 2 และ 3 ก็ตาม แตก่ ารโฆษณา เครอ่ื งหมาย หรือวัสดใุ ดๆ ท่ีติดอยู่ด้านหลัง ด้านข้าง บนพื้นสนามนอกเส้น จะต้องไม่มีส่วนที่เป็นสีขาว สีเหลือง หรอื สีอ่อนอื่นๆ ทีอ่ าจจะรบกวนสายตาของนกั กฬี าหรือสภาพการแขง่ ขนั 5. ไมอ่ นุญาตให้มกี ารโฆษณาหรอื เคร่อื งหมายหรอื วสั ดอุ ่นื ๆ บนพืน้ สนามภายในเส้น การนบั ผลการแขง่ ขนั การนบั คะแนนในเกม การนับคะแนนแบบ “No-Ad” สามารถใช้การนับคะแนนแบบนี้ได้ในเกมปกติจะนับ คะแนนดงั ต่อไปนี้ โดยขานคะแนนของคนเสริ ์ฟก่อน ไม่มคี ะแนน “ศนู ย์” คะแนนแรก “15” คะแนนที่ 2 “30” คะแนนที่ 3 “40” คะแนนที่ 4 “เกม” ถ้านักกีฬาหรือทีมท�ำได้ 3 คะแนนทั้ง 2 ฝ่าย คะแนนจะเป็น “ดิวช์” และจะต้อง แข่งขันในคะแนนตัดสิน ผู้รับสามารถเลือกรับทางสนามด้านซ้ายหรือด้านขวาก็ได้ ในการ แข่งขันคู่นักกีฬาของทีมผู้รับจะเปลี่ยนต�ำแหน่งการรับในคะแนนตัดสินน้ีไม่ได้ นักกีฬาหรือ ทีมท่ีไดค้ ะแนนน้ี “เกม” ในการแข่งขันคู่ผสม นักกีฬาที่เป็นผู้รับในคะแนนตัดสินนี้ต้องเป็นเพศเดียวกันกับ คนเสริ ฟ์ นกั กฬี าของฝ่ายรับจะสบั เปล่ยี นต�ำแหนง่ ในการรับคะแนนตดั สินนี้ไม่ได้ 64 คูม่ ือผูต้ ดั สินกีฬาเทนนสิ

การนับแต้มเซต 1. เซต “สั้น” (Short Sets) นกั กีฬาหรอื ทีมท่ีได้ 4 เกมกอ่ นชนะในเซตน้ัน แต่ต้องไดเ้ กม มากกวา่ ฝา่ ยตรงขา้ มอย่างน้อย 2 เกม ถ้าคะแนนเปน็ 4 เกมเทา่ กนั จะตอ้ งแข่งขนั ไท-เบรก 2. ไท-เบรกตัดสินแมทซ์ (7 คะแนน) ถ้าคะแนนของการแข่งขันเป็น 1 เซตเท่ากัน หรือ 2 เซตเท่ากันในการแข่งขันแบบ 3 ใน 5 เซต จะแข่งขันเกมไท-เบรก 1 เกม เพื่อตัดสิน แมทซ์ เกมไท-เบรกนี้ใช้แข่งขันแทนเซตตัดสินเซตสุดท้าย นักกีฬาหรือทีมที่ชนะได้ 7 คะแนน ก่อนชนะไท-เบรกตัดสินจะเป็นผู้ชนะการแข่งขัน แต่ต้องมีคะแนนมากกว่าฝ่ายตรงข้าม อย่างน้อย 2 คะแนน 3. ไท-เบรกตัดสินแมทซ์ (10 คะแนน) ถ้าคะแนนของการแข่งขันเป็น 1 เซตเท่ากัน หรอื 2 เซตเท่ากัน ในการแขง่ ขนั แบบ 3 ใน 5 เซต จะแขง่ ขันเกมไท-เบรก 1 เกม เพือ่ ตดั สินแมทซ์ เกมไท-เบรกน้ีใช้แข่งขันแทนเซตตัดสินเซตสุดท้าย นักกีฬาหรือทีมท่ีชนะได้ 10 คะแนน ก่อนชนะไท-เบรกตัดสินจะเป็นผู้ชนะการแข่งขัน แต่ต้องมีคะแนนมากกว่าฝ่ายตรงข้าม อย่างน้อย 2 คะแนน หมายเหตุ เมอ่ื ใช้ไท-เบรกตดั สนิ แทนเซตสุดท้าย ล�ำดับของการเสิร์ฟคงเหมือนเดมิ (กตกิ าข้อ 5 และข้อ 14) ในการแข่งขันคู่ ล�ำดับการเสิร์ฟและการรับรองในแต่ละทีมจะเปล่ียนเหมือนกับ ตอนเร่มิ แต่ละเซตก็ได้ (กติกาข้อ 14 และข้อ 15) ก่อนจะเริม่ การแขง่ ขันไท-เบรกตัดสิน ต้องมีการหยดุ พักระหว่างเซต 120 วินาที ไม่มีการเปลี่ยนลูกตอนจะเร่ิมการแข่งขันไท-เบรกตัดสินแมทซ์ แม้จะถึงก�ำหนด การเปลย่ี นกต็ าม หน้าที่ของเจ้าหนา้ ทใ่ี นสนาม กรรมการผชู้ ีข้ าด เปน็ ผู้มอี �ำนาจสูงสุดเก่ียวกบั ปญั หากฎเทนนสิ ตา่ งๆ ทงั้ หมด ค�ำตัดสนิ ของกรรมการผู้ชี้ขาดถือเป็นสิ้นสุด ในแมทซ์มีกรรมการผู้ตัดสิน ซึ่งเป็นผู้มีอ�ำนาจสูงสุดเกี่ยวกับ ปัญหาข้อเท็จจริงในการแข่งขัน นักกีฬามีสิทธ์ิร้องขอกรรมการผู้ชี้ขาดให้มาท่ีสนามเนื่องจาก ไม่เห็นด้วยกับการแปลความหมายของกรรมการผู้ตัดสิน ในแมทซ์ท่ีมีผู้ก�ำกับเส้นและ ผู้ก�ำกับตาข่ายเจ้าหน้าท่ีเหล่านี้จะเป็นผู้ขานลูก (รวมถึงการขาน ฟุท-ฟอลท์) ที่เก่ียวกับเส้นหรือ ตาข่าย กรรมการผู้ตัดสินมีสิทธิ์กลับค�ำตัดสินของผู้ก�ำกับเส้นหรือผู้ก�ำกับตาข่าย ถ้าเห็นและ คู่มือผู้ตัดสินกีฬาเทนนสิ 65

แน่ใจว่าเป็นความผิดพลาดท่ีชัดเจน ถ้าไม่มีผู้ก�ำกับเส้นและผู้ก�ำกับตาข่าย กรรมการผู้ตัดสิน จะเป็นผู้รับผิดชอบในการขาน (รวมถึง ฟุท-ฟอลท์) ถ้าผู้ก�ำกับเส้นไม่สามารถตัดสินได้ จะต้อง ให้สัญญาณกับกรรมการผู้ตัดสินซ่ึงจะเป็นผู้ตัดสินทันที ถ้ากรรมการผู้ก�ำกับเส้นไม่สามารถ ตัดสินได้ หรือไม่มีกรรมการผู้ก�ำกับเส้นและกรรมการผู้ตัดสินไม่สามารถตัดสินใจเร่ือง ข้อเท็จจริงได้ ให้แข่งขันคะแนนนั้นใหม่ในรายการแข่งขันประเภททีมซึ่งกรรมการผู้ชี้ขาดอยู่ใน บริเวณสนาม กรรมการผู้ชีข้ าดจะเป็นผ้มู ีอ�ำนาจสงู สดุ ในการตัดสนิ เกย่ี วกบั ขอ้ เทจ็ จรงิ กรรมการ ผู้ช้ีขาดอาจให้หยุดหรือเลื่อนการแข่งขันในเวลาใดก็ได้ท่ีเห็นว่าจ�ำเป็นหรือสมควร กรรมการ ผู้ช้ีขาดอาจให้หยุดหรือเล่ือนการแข่งขันเนื่องจากความมืด สภาพอากาศหรือสภาพของสนาม ท่ีไม่เหมาะต่อการแข่งขนั ถ้าเลื่อนการแข่งขันออกไปเนอ่ื งจากความมดื ควรเปน็ ตอนจบเซต หรือ ตอนจ�ำนวนเกมท่ีก�ำลังแข่งขันอยู่ในเซตน้ันเป็นจ�ำนวนคู่หลังจากหยุดการแข่งขัน และเมื่อ แข่งขันใหม่คะแนนและต�ำแหน่งของผู้แข่งขันในสนามต้องคงเดิม กรรมการผู้ตัดสินหรือกรรมการ ผู้ช้ีขาดจะต้องวินิจฉัยเร่ืองการแข่งขันและการสอนอย่างต่อเนื่องโดยถือจรรยาบรรณของนักกีฬา ทถ่ี ือปฏบิ ัตอิ ยู่ กรณีที่ 1 : กรรมการผู้ตัดสินให้ผู้เสิร์ฟได้เสิร์ฟลูกหน่ึงหลังจากกลับค�ำตัดสิน แต่ผู้รับ แย้งว่าควรเป็นลูกสองเพราะผู้เสิร์ฟ เสิร์ฟเสียไปแล้ว ควรเรียกกรรมการ ผู้ชี้ขาดมาท่สี นามเพ่ือใหค้ �ำวินจิ ฉยั หรอื ไม่ ? ค�ำวินิจฉัย : ใช่ กรรมการผู้ตัดสินได้ตัดสินไปก่อนแล้วในเรื่องกติกาของเทนนิส (ข้อพิพาทเร่ืองเกี่ยวกับการใช้ข้อเท็จจริงหน่ึง) อย่างไรก็ตามถ้านักกีฬา ผู้หน่ึงอุทธรณ์ค�ำตัดสินของกรรมการผู้ตัดสินต้องเรียกกรรมการผู้ช้ีขาด มาทส่ี นามเพอ่ื ชี้ขาด กรณีที่ 2 : ลูกถูกขานว่าออก แต่นักกีฬาผู้หนึ่งแย้งว่าเป็นลูกดี ควรเรียกกรรมการ ผชู้ ้ีขาดมาตัดสินหรอื ไม่ ? ค�ำวนิ ิจฉยั : ไม่ กรรมการผู้ตัดสินได้ตัดสินสิ้นสุดแล้วในเร่ืองเกี่ยวกับข้อเท็จจริง (ประเด็นทีส่ ัมพนั ธก์ ับเร่อื งทีเ่ กิดข้นึ จริงๆ ในเหตุการณห์ นง่ึ ) กรณที ่ี 3 : กรรมการผู้ตัดสินสามารถกลับค�ำตัดสินของผู้ก�ำกับเส้นเม่ือจบคะแนน ได้หรือไม่ ถ้ากรรมการผู้ตัดสินเห็นว่า เกิดความผิดพลาดท่ีชัดแจ้ง ในระหว่างการแข่งขันคะแนนน้ัน ? คำ� วินจิ ฉยั : ไม่ได้ กรรมการผู้ตัดสินต้องกลับค�ำตัดสินของกรรมการผู้ก�ำกับเส้น ในทนั ทีท่ตี ัดสินผิดอย่างชดั แจ้ง 66 คมู่ ือผตู้ ดั สินกีฬาเทนนสิ

กรณที ่ี 4 : กรรมการผู้ก�ำกับเส้นขาน “ออก” แต่นักกีฬาแย้งว่าเป็นลูกดี กรรมการ ผตู้ ัดสนิ สามารถ กลับค�ำตดั สินของผ้ตู ดั สนิ ของผกู้ �ำกบั เสน้ หรอื ไม่ ? คำ� วนิ ิจฉยั : ไม่ได้ กรรมการผู้ตัดสินจะต้องไม่กลับค�ำของผู้ก�ำกับเส้นเน่ืองจากผลของ การประท้วง หรอื อุทธรณ์ของนกั กีฬา กรณีท่ี 5 : กรรมการผกู้ �ำกับเส้นขานว่า “ออก” กรรมการผู้ตดั สินไมส่ ามารถมองเหน็ ได้ชัด แต่คิดว่าลูกน่าจะดีกรรมการผู้ตัดสินสามารถกลับค�ำตัดสินของ ผูก้ �ำกบั เส้นได้หรือไม่ ? ค�ำวนิ จิ ฉยั : ไมไ่ ด้ กรรมการผตู้ ดั สนิ สามารถกลบั ค�ำตดั สนิ ของผกู้ �ำกบั เสน้ ได ้ เมอ่ื มนั่ ใจวา่ เหน็ ผกู้ �ำกบั เสน้ ตดั สนิ ผดิ พลาดอยา่ งชดั แจง้ กรณที ี่ 6 : กรรมการผู้ตัดสินจะกลับค�ำตัดสินของตนเองได้หรือไม่ หลังจากท่ีขาน คะแนนไปแลว้ ? คำ� วินิจฉัย : ได้ กรรมการผตู้ ัดสินส�ำนึกว่าขานผิด สมควรตอ้ งแกไ้ ขข้อผดิ พลาดโดยเร็ว ที่สุดแต่ต้องไม่ใช่จากผลของการประท้วงหรือการอุทธรณ์ของนักกีฬา กรณที ่ี 7 : ถ้ากรรมการผู้ตัดสินหรือผู้ก�ำกับเส้นขาน “ออก” และแก้ค�ำขานนั้นว่า เปน็ ดี ค�ำตัดสนิ ท่ีถกู คืออะไร ? คำ� วินจิ ฉัย : กรรมการผู้ตัดสินต้องตัดสินใจว่า การขาน “ออก” แต่แรกน้ัน เป็นการ ขดั จงั หวะตอ่ นกั กฬี าคนใดคนหนง่ึ หรอื ไม่ ถา้ เปน็ การขดั จงั หวะ คะแนนนนั้ ต้องแขง่ ขนั ใหม่ ถา้ ไม่คนทีต่ ีลกู ไปได้คะแนน กรณที ่ี 8 : ลูกถูกลมพัดข้ามตาข่าย ผู้แข่งขันเอื้อมไปเพ่ือตีอย่างถูกต้อง ฝ่ายตรงข้าม ขัดขวางการแขง่ ขันจะตัดสินอย่างไรจงึ ถกู ? คำ� วนิ จิ ฉัย : กรรมการผู้ตัดสิน ต้องพิจารณาว่า การขัดขวางนั้นจงใจหรือไม่จงใจ และ ตัดสนิ วา่ ให้คะแนนกับผถู้ กู ขัดขวางหรอื ใหแ้ ข่งขนั คะแนนนั้นใหม ่ ค่มู ือผู้ตดั สินกีฬาเทนนิส 67

ผงั สนาม 68 คูม่ ือผูต้ ดั สนิ กีฬาเทนนสิ

ส�ำหรบั คอรต์ รวมทีใ่ ช้เลน่ ทั้งประเภทเดี่ยวและคู่ (International Tennis Federation (ITF), 2014) เร่ิมด้วยการเลือกต�ำแหน่งตาข่าย ลากเส้นยาว 42 ฟุต (12.80 ม.) ท�ำเคร่ืองหมาย ไว้ทจี่ ุดก่ึงกลางเสน้ (เครอื่ งหมาย x ในรูป) แลว้ วัดระยะจากจดุ นีไ้ ปยงั จดุ ตา่ งๆ แลว้ ท�ำเคร่อื งหมาย เอาไว้ : ท่ีระยะ 13’6” (4.11 ม.) จดุ a, b เป็นจุดทีต่ าขา่ ยผา่ นเส้นขา้ งคอร์ตเดยี่ ว ที่ระยะ 16’6” (5.03 ม.) จดุ n, n เปน็ จดุ ศูนยก์ ลางของไมค้ ้�ำตาข่าย ที่ระยะ 18’0” (5.48 ม.) จดุ A, B เป็นจุดท่ีตาขา่ ยผา่ นเส้นขา้ งคอร์ตคู่ ที่ระยะ 21’0” (6.40 ม.) จดุ N, N เป็นต�ำแหน่งจุดศูนย์กลางของเสาขึงตาข่าย ซึ่งเป็น ปลายเสน้ ท่ลี ากไวย้ าว 42’0” (12.80 ม.) แต่แรก คมู่ ือผ้ตู ดั สนิ กีฬาเทนนิส 69

ตอกหมุดท่ีจุด A และ B ยึดปลายเทปวัดระยะ 2 เส้นที่หมุดนี้ เส้นแรกจะวัดระยะ เส้นทแยงมุม ของคร่ึงคอร์ตท่ี 53’1”(16.18 ม.) และเทปอีกเส้น (วัดเส้นข้าง) ที่ระยะ 39’0” (11.89 ม.) ดึงเทปวัดให้ตึงท้ัง 2 เส้น ให้เทปทั้ง 2 ตัดกันที่ระยะดังกล่าวก�ำหนดเป็นจุด C ซึ่งจะเป็นจุดที่เป็นมุมของคอร์ตมุมหน่ึง ให้วัดแบบเดิมทางอีกด้านหน่ึง ก็จะได้จุด D ให้ทดสอบ ความถกู ต้องดว้ ยการวดั เสน้ C และ D ซ่ึงก็คือเสน้ ทา้ ยคอรต์ ควรยาว 36’0” (10.97 ม.) และควร ท�ำเคร่ืองหมายทีจ่ ุดก่งึ กลางของเสน้ น้ี คือจดุ J และระยะทีป่ ลายเสน้ ข้างคอร์ตเด่ยี ว จดุ c ไป d และจดุ C ไป D ควรเปน็ 4’6” (1.37 ม.) ทั้งคู่ เส้นกลางเส้นเสิร์ฟและเส้นเสิร์ฟก�ำหนดจุดได้จากจุด F H G ซ่ึงได้จากการวัดระยะ 21’0” (6.40 ม.) จากเส้นแนวตาข่ายไปตามเส้น b และ c x และ j a และ d ตามล�ำดับ ใช้วิธีเดียวกันนี้กับอีกด้านหน่ึงของคอร์ต ถ้าต้องการท�ำเฉพาะคอร์ตเดี่ยว ไม่ต้องก�ำหนดจุด ของเส้นนอกจุด a b c d แต่ก็สามารถวัดได้เหมือนวิธีข้างบน จุดที่มุมของเส้นท้ายคอร์ต c d สามารถหาไดด้ ้วยการตอกหมดุ ยดึ เทปท้งั 2 เส้นทจี่ ดุ a และ b แทนจุด A และ B และใชร้ ะยะ ความยาวที่ 47’5” (14.46 ม.) กับ 39’0” ( 11.89 ม.) ต�ำแหนง่ จุดศูนยก์ ลางของเสาขึงตาข่าย จะเป็นที่จุด n และ n และควรใช้ตาข่ายคอร์ตเดี่ยวยาว 33’0” (10 ม.) ในการใช้คอร์ตรวม ท่ใี ชต้ าข่ายส�ำหรับคอร์ตคู่ ต้องใช้ไม้ค้ำ� ตาขา่ ย 2 อันที่จดุ n และ n ใหไ้ ดค้ วามสูง 3 ฟุต 6 นิ้ว (1.07 ม.) ไม้ค้�ำน้ีต้องมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง หรือด้านส่ีเหลี่ยมจัตุรัสไม่เกิน 3 นิ้ว (7.5 ซม.) จดุ ศนู ย์กลางของไม้คำ�้ จะตอ้ งอยู่ท่รี ะยะ 3 ฟตุ (0.914 ม.) ออกไปดา้ นนอกของเสน้ ข้างคอร์ตเด่ยี ว แต่ละด้าน เพ่ือช่วยในการตงั้ ไมค้ ้�ำ ควรท�ำเครือ่ งหมายเปน็ จุดสีขาวเอาไว้ทจี่ ุด n และ n ในตอน ตเี ส้น หมายเหตุ : ค�ำแนะน�ำส�ำหรับรายการแข่งขันนานาชาติ ระยะระหว่างเส้นท้ายคอร์ตกับร้ัว ด้านหลังควรเป็นอย่างน้อย 21 ฟุต (6.40 ม.) และระหว่างเส้นข้างกับร้ัวด้านข้าง ควรเป็นอย่างน้อย 12 ฟุต (3.66 ม.) ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการเล่นผ่อนคลายและ การเล่นสโมสร ระยะต่�ำสุดระหว่างเส้นท้ายคอร์ตกับร้ัวด้านหลังควรเป็น 18 ฟุต (5.48 ม.) และระหว่างเส้นข้างกับร้ัวด้านข้างควรมีระยะอย่างน้อยท่ีสุด 10 ฟุต (3.05 ม.) ค�ำแนะน�ำส�ำหรับความสูงของเพดานในกรณีสนามที่มีหลังคาควรเป็น อย่างนอ้ ยท่ีสุด 30 ฟุต (9.14 ม.) 70 คู่มอื ผ้ตู ัดสินกีฬาเทนนสิ

ส่งิ ตดิ ตั้งถาวร ส่ิงติดต้ังถาวรของสนามเทนนิส ได้แก่ วัสดุกันลูกทางด้านหลังและด้านข้าง คนดู อัฒจันทร์ ที่น่ังส�ำหรับคนดู อุปกรณ์อ่ืนๆ ท่ีอยู่รอบๆ และเหนือสนาม กรรมการผู้ตัดสิน ผู้ก�ำกับเส้น ผู้ก�ำกับตาข่าย และเด็กเก็บลูกบอล เม่ืออยู่ตามจุดท่ีก�ำหนด และรวมถึงต�ำแหน่ง ของกล้อง และช่างเทคนิคเก่ียวกับกล้อง ในกรณีท่ีถ่ายทอดสด หรือบันทึกเทปการแข่งขัน เม่ือใช้ตาข่ายคู่และไม้ค้�ำตาข่ายในการเล่นเดี่ยว เสาและส่วนของตาข่ายท่ีอยู่เลยไม้ค้�ำตาข่าย ออกไปถือเปน็ สงิ่ ติดต้งั ถาวร ไม่ถอื ว่าเปน็ เสาขงึ ตาขา่ ย หรอื สว่ นของตาข่าย  คู่มอื ผู้ตดั สินกีฬาเทนนสิ 71

บทที่ 6 วิ ธีการจัดการแข่งขันกีฬาเทนนิส ตัวอยา่ งการด�ำเนินการจดั การแขง่ ขนั กีฬาเทนนิส ระเบยี บลอนเทนนสิ สมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ว่าด้วยการแข่งขนั เทนนิสประเภทท่วั ไป ความน�ำ นับแต่ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ทรงสถาปนาลอนเทนนิส สมาคมแห่งประเทศไทย และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม รับไว้อยู่ในพระบรม ราชูปถมั ภ์ ในปี 2470 โดยลอนเทนนิสสมาคมฯ ไดเ้ รม่ิ จัดการแขง่ ขันเทนนิสชิงแชมปป์ ระเทศไทย ชิงถ้วยพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ข้นึ เปน็ คร้งั แรกในปีเดยี วกันนน้ั การแข่งขันเทนนิสในประเทศไทย มีวิวัฒนาการมาตามล�ำดับ และลอนเทนนิส สมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เข้าร่วมเป็นชาติสมาชิกสหพันธ์เทนนิสนานาชาติ (ITF) เพื่อส่งนักเทนนิสทีมชาติไทยและทีมเยาวชนไทยเข้าร่วมแข่งขันเทนนิสระดับนานาชาติและ ระดับโลก และเพ่ือจัดการแข่งขันระดับนานาชาติและระดับโลก โดยให้เป็นไปตามข้อบังคับ การแข่งขันของสหพันธเ์ ทนนสิ นานาชาติ (ITF) เปน็ สงิ่ ทน่ี า่ ยนิ ดยี งิ่ ทใ่ี นปจั จบุ นั มรี ายการแขง่ ขนั ใหม่ เกดิ ขนึ้ หลายรายการในประเทศไทย ท้ังการจัดแข่งขันของภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการที่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) เขา้ มาใหก้ ารสนบั สนนุ กจิ การลอนเทนนิสสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซ่ึงท�ำให้ การด�ำเนินการเพื่อพัฒนาวงการเทนนิสไทยเป็นไปอย่างต่อเน่ืองมั่นคงเพื่อก�ำหนดบรรทัดฐาน การแข่งขันเทนนิสประเภททั่วไปในประเทศไทย ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันและสอดคล้อง กับข้อบังคับการแข่งขันของสหพันธ์เทนนิสนานาชาติ เพื่อการพัฒนามาตรฐานกีฬาเทนนิส ประเทศไทยใหเ้ ปน็ ไปอย่างถูกทิศทาง และบูรณาการย่งั ยนื อาศัยอ�ำนาจตามข้อบังคับลอนเทนนิสสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ. 2546 ข้อ 26 วรรคแรก จึงเป็นการสมควรในการตราระเบียบลอนเทนนิสสมาคม แหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ว่าดว้ ยการแขง่ ขันเทนนสิ ประเภททว่ั ไป ข้ึนดังน้ี 72 คู่มอื ผตู้ ัดสนิ กีฬาเทนนิส

1. “ระเบยี บลอนเทนนสิ สมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ว่าดว้ ยการแข่งขนั เทนนสิ ประเภททวั่ ไป” 2. ระเบยี บนใี้ หใ้ ช้บังคบั ตั้งแตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศเปน็ ต้นไป 3. ในระเบยี บนี้ “สมาคม” หมายถึง ลอนเทนนิสสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ “สมาชิก” หมายถึง สโมสรเครือสมาชิก “คณะกรรมการ” หมายถึง คณะกรรมการอ�ำนวยการของลอนเทนนิสสมาคม แหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ “นายกสมาคม” หมายถึง นายกลอนเทนนิสสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชปู ถมั ภ์ “เลขาธิการ” หมายถึง เลขาธิการลอนเทนนิสสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถมั ภ์ 4. การใชข้ อ้ บังคับ 4.1 ให้ยกเลิก “ระเบียบลอนเทนนิสสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ วา่ ดว้ ย การแขง่ ขนั เทนนิสประเภททว่ั ไป ประจ�ำปี พ.ศ.2553 และใหใ้ ชร้ ะเบียบนแี้ ทน 4.2 การแก้ไขหรือเพ่ิมเติมระเบียบนี้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ จงึ จะมผี ลบังคบั ใช้ 4.3 ห้ามใชข้ อ้ บังคับน้ยี อ้ นหลงั เว้นแต่ท่ีระบุไวใ้ นบทเฉพาะกาล 4.4 ใหใ้ ชร้ ะเบียบน้ี ในการแขง่ ขนั ซึ่งสมาคมเปน็ ผจู้ ดั หรือให้การรบั รอง 4.5 ให้เลขาธิการ หรือคณะบุคคลหรือบุคคลผู้ที่ได้รับการมอบหมาย เป็นผู้ก�ำกับดูแล และควบคุมการแขง่ ขันใหเ้ ป็นไปตามขอ้ บังคบั นี้ 5. วตั ถปุ ระสงค์ 5.1 เสรมิ สรา้ งระบบและพฒั นามาตรฐานการแขง่ ขนั เทนนสิ ในประเทศไทยสรู่ ะดบั สากล 5.2 เสริมสรา้ งความรแู้ ละความเขา้ ใจในระบบการแขง่ ขนั เทนนสิ ที่ถูกตอ้ ง 5.3 ใชเ้ ปน็ แมบ่ ทในการตราระเบียบการแข่งขันเทนนสิ คมู่ อื ผู้ตัดสนิ กีฬาเทนนิส 73

5.4 ควบคุมดูแลการจัดการแข่งขันเทนนิสในประเทศไทยให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน และถูกต้องตามกติกาและขอ้ บงั คบั การแขง่ ขนั สหพันธ์เทนนสิ นานาชาติ (ITF) 5.5 จดั อนั ดบั นักเทนนิสประเภททว่ั ไปของประเทศไทย 6. ผูจ้ ดั การแข่งขันเทนนิสประเภทท่วั ไป ต้องมีคุณสมบัติข้อใดข้อหนง่ึ ดังน้ี 6.1 ลอนเทนนิสสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และการกีฬา แห่งประเทศไทย 6.2 เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ของส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ 6.3 เปน็ สโมสรเครือสมาชิกของสมาคม 6.4 บคุ คลหรอื นิติบุคคลทไี่ ดร้ บั ความเหน็ ชอบจากสมาคม 7. ผู้ด�ำเนินการแข่งขนั ในการจัดการแข่งขันแต่ละรายการ ต้องมีผู้ด�ำเนินการแข่งขันเพื่อรับผิดชอบ ควบคุม และดูแลการแข่งขันใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย และเปน็ ไปตามระเบียบ ดงั น้ี 7.1 ผู้อ�ำนวยการแข่งขนั (Tournament Director) ท�ำหน้าท่บี รหิ ารการจดั การแขง่ ขัน 7.2 ผูค้ วบคมุ การแขง่ ขัน (Tournament Supervisor) ท�ำหนา้ ท่คี วบคุมดแู ลการแข่งขัน และต้องขน้ึ ทะเบยี นเป็นผูค้ วบคุมการแข่งขันกบั สมาคม 7.3 ผู้ชี้ขาด (Referee) ท�ำหน้าท่ีชี้ขาดกรณีมีข้อโต้แย้งเกี่ยวกับกติกาการแข่งขัน ซง่ึ ตอ้ งมีคุณสมบัติขอ้ ใดขอ้ หนึง่ ดงั นี้ 7.3.1 ผู้ตัดสินขึ้นทะเบียนสหพันธ์เทนนิสนานาชาติ (ITF) หรือผ่านการฝึกอบรม และรบั รองโดยสมาคม 7.3.2 ผ่านการเป็นผตู้ ัดสินเทนนสิ รายการตา่ งๆ ในขอ้ 6 มาไมน่ ้อยกว่า 3 ปี ต้องขน้ึ ทะเบยี นเปน็ ผู้ชข้ี าดกับสมาคม 7.4 ผตู้ ดั สนิ (Chair Umpire) ตอ้ งขึ้นทะเบยี นเปน็ ผูช้ ้ีขาดกับสมาคม ท�ำหน้าทผี่ ตู้ ดั สิน การแขง่ ขัน และต้องมคี ุณสมบตั ขิ ้อใดข้อหนึ่ง ดงั น้ี 7.4.1 ผ้ตู ดั สนิ ขนึ้ ทะเบยี นสหพันธ์เทนนิสนานาชาติ (ITF) 7.4.2 ผตู้ ดั สินทีข่ ึน้ ทะเบยี นกบั สมาคม 7.4.3 ผา่ นการอบรมผตู้ ดั สนิ จากหนว่ ยงานหรือองคก์ รภาครฐั ทีส่ มาคมรับรอง 74 ค่มู อื ผู้ตดั สนิ กีฬาเทนนิส

8. รายการการแข่งขนั เป็นรายการแข่งขันประเภทบุคคล ทั้งประเภทเด่ียวและประเภทคู่ ได้รับการรับรอง จากลอนเทนนสิ สมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และมีลกั ษณะการแข่งขัน ดงั นี้ 8.1 การแข่งขันเทนนิสระดับนานาชาติ ในเซอร์กิตเทนนิสโลก ของสหพันธ์เทนนิส นานาชาติ (ITF) สมาคมเทนนสิ อาชีพชาย (ATP) และสมาคมเทนนิสอาชีพสตรี (WTA) 8.2 การแข่งขันเทนนสิ เพอ่ื ความชนะเลิศแห่งประเทศไทย 8.3 การแข่งขันเทนนิสประเภททั่วไป ซึ่งจัดโดยลอนเทนนิสสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 8.4 การแข่งขันเทนนิสกฬี าแห่งชาติ ทั้งรอบมหกรรมและรอบคัดเลือกภมู ภิ าค 8.5 การแขง่ ขนั เทนนสิ ประเภททว่ั ไป ซง่ึ จดั โดยผจู้ ดั การแขง่ ขนั ตามขอ้ 4 และเปดิ รบั สมคั ร นักเทนนิสประเภททว่ั ไปเขา้ ร่วมการแข่งขัน 9. ระดับการแขง่ ขันและการใหค้ ะแนนผ้แู ขง่ ขันเพ่ือจัดอนั ดบั การแบ่งระดับการแข่งขัน และการให้คะแนนผู้แข่งขันเพื่อจัดอันดับนักเทนนิสประเภท ทั่วไปของลอนเทนนิสสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ใหเ้ ป็นไปตาม ภาคผนวก ก 10. การขอการรับรองจดั การแข่งขัน 10.1 ผู้จัดการแข่งขันต้องยื่นค�ำขอรับการรับรองการแข่งขันตามแบบฟอร์มท่ีก�ำหนด ต่อผู้รับผิดชอบตามข้อ 4.5 ณ ส�ำนักงานสมาคม ก่อนก�ำหนดการแข่งขันวันแรก ไม่น้อยกว่า 90 วนั พร้อมค่าธรรมเนยี ม 10.2 สมาคมจะต้องด�ำเนินการพิจารณา แล้วแจ้งให้ผู้ย่ืนค�ำขอทราบผลการพิจารณา ภายใน 30 วัน นบั แตว่ นั ท่ีได้รับค�ำขอ 10.3 สาระส�ำคัญในหนังสือขอรบั รองการแขง่ ขัน ประกอบดว้ ย 10.3.1 ชื่อการแขง่ ขัน 10.3.2 ก�ำหนดวันแข่งขัน 10.3.3 สถานที่แข่งขัน สภาพสนาม และจ�ำนวนสนามแขง่ ขนั 10.3.4 การสมคั รแขง่ ขนั 10.3.4.1 ก�ำหนดวัน-เวลา เปดิ และปดิ รบั สมคั รแข่งขัน 10.3.4.2 วธิ ีการสมคั รแข่งขนั คู่มอื ผตู้ ดั สนิ กีฬาเทนนสิ 75

10.3.4.3 สถานท่รี ับสมคั รแข่งขนั 10.3.4.4 ค่าสมัครแข่งขนั 10.3.5 ประเภทแขง่ ขัน 10.3.6 คณุ สมบัติผู้แขง่ ขัน 10.3.7 จ�ำนวนผ้แู ขง่ ขันเมนดรอว์ 10.3.8 ลกู เทนนิสทใ่ี ช้ในการแข่งขัน 10.3.9 ระบบการด�ำเนนิ การแขง่ ขัน 10.3.10 รางวัลการแข่งขัน 10.3.11 ผอู้ �ำนวยการแข่งขนั 10.3.12 ผ้คู วบคุมการแข่งขนั (ถา้ มี) 10.3.13 ผ้ชู ้ขี าดที่สมาคมก�ำหนด 10.3.14 นักกายภาพบ�ำบดั (Trainer) ทไ่ี ด้รบั อนญุ าต 10.3.15 รถพยาบาลฉุกเฉินพรอ้ มอปุ กรณ์และเจา้ หน้าทพี่ ยาบาล 10.4 รายการแข่งขันใดที่ผู้จัดย่ืนค�ำขอรับรองต่อสมาคมไว้ หากจ�ำเป็นต้องเล่ือน หรือ ยกเลิกการแขง่ ขันต้องแจ้งการขอเล่อื น หรือยกเลกิ ตอ่ สมาคมกอ่ นวันแข่งขนั 10 วนั พร้อมเหตผุ ล และค่าธรรมเนียมการขอเลื่อนหรือยกเลิก 1,500 บาท (หน่ึงพันห้าร้อยบาทถ้วน) ต่อรายการ (ถ้าหากขอเลื่อนหรือยกเลิกการจัดแข่งขันเพราะเหตุสุดวิสัยเลขาธิการสามารถพิจารณา ยกเว้นค่าธรรมเนียมได)้ 10.5 หากไม่ด�ำเนินการตามข้อ 10.4 สมาคมจะไม่รับรองการแข่งขันรายการนั้น โดย ไมค่ ืนเงินคา่ ธรรมเนยี มขอจดั 10.6 รายการแข่งขันท่ีสมาคมให้การรับรอง จะต้องช�ำระค่าธรรมเนียมขอจัดการ แข่งขัน จ�ำนวน 2,000 บาท (สองพันบาทถ้วน) ต่อรายการ 10.7 ผู้จัดการแข่งขันรายการซึ่งได้รับการรับรองแล้ว หากไม่ด�ำเนินการแข่งขันตาม ระเบียบนี้ จะถูกถอดถอนการรับรอง และ/หรือไม่พิจารณาให้การรับรองในรายการแข่งขัน ครง้ั ตอ่ ๆ ไป ซึ่งผจู้ ัดการแข่งขนั ดังกล่าวเป็นผู้จดั การแขง่ ขนั 1 1. ประเภทการแข่งขัน 11.1 ประเภทแข่งขนั 11.1.1 ประเภทชายเด่ยี ว 11.1.2 ประเภทหญิงเดี่ยว 76 คูม่ ือผู้ตัดสินกฬี าเทนนิส

11.1.3 ประเภทชายคู่ 11.1.4 ประเภทหญงิ คู่ 11.1.5 ประเภทคผู่ สม 12. คณุ สมบัติผูแ้ ข่งขัน 12.1 ไม่จ�ำกัดสัญชาติและภูมิล�ำเนาผู้แข่งขัน เว้นการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ให้เป็นไป ตามข้อบงั คับการแขง่ ขนั กีฬาแห่งชาติ ฉบบั ลา่ สดุ 12.2 อายุไม่ตำ�่ กวา่ 14 ปี การนบั อายใุ หเ้ อาปี พ.ศ.ของการแข่งขัน ตง้ั ลบดว้ ย พ.ศ. เกดิ 12.3 หากผู้เข้าร่วมการแข่งขันอายุต�่ำกว่า 18 ปี จะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ปกครอง ให้เข้าร่วมการแขง่ ขนั 12.4 ไมอ่ ยูใ่ นระหว่างการถูกท�ำโทษเขา้ ร่วมการแขง่ ขัน จากองคก์ รใดองค์กรหนึ่ง ดงั นี้ 12.4.1 สหพนั ธ์เทนนสิ นานาชาติ (ITF) 12.4.2 สหพนั ธ์เทนนสิ แห่งเอเชยี (ATF) 12.4.3 ลอนเทนนสิ สมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 12.4.4 สมาคมเทนนิสแห่งประเทศตน้ สงั กัดของนกั กีฬา 12.4.5 การกฬี าแหง่ ประเทศไทย 12.4.6 องคก์ รอนื่ ๆ ตามทค่ี ณะกรรมการควบคมุ การแขง่ ขนั ตามขอ้ 2.8 เหน็ สมควร 13. ก�ำหนดวันและเวลาแข่งขนั ก�ำหนดเร่ิมการแข่งขันแต่ละวัน ไม่ควรเริม่ กอ่ นเวลา 08.00 น. และควรส้นิ สุดการแข่งขนั แต่ละวัน โดยไม่เรยี กนกั กีฬาลงท�ำการแข่งขันหลังเวลา 21.00 น. 14. จ�ำนวนผู้แข่งขัน 14.1 จ�ำนวนผ้แู ข่งขนั ในสายแข่งขนั เมนดรอว  (Main Draw) 14.1.1 สายแข่งขนั 64 คน 14.1.2 สายแข่งขนั 32 คน 14.1.3 สายแข่งขนั 16 คน 14.1.4 สายแข่งขัน 8 คน คมู่ ือผู้ตัดสนิ กฬี าเทนนสิ 77

14.2 ในประเภทที่มีผู้แข่งขันน้อยกว่า 8 คน ให้จัดสายแข่งขันแบบพบกันหมด เพือ่ น�ำเอาผูท้ ีไ่ ดค้ ะแนนอนั ดับ 1 และ อนั ดับ 2 เป็นคู่ชิงชนะเลศิ 14.3 จ�ำนวนผู้แข่งขันรอบคัดเลือก (Qualifying) ต้องไม่เกินกว่าจ�ำนวนท่ีก�ำหนด สายแข่งขันเมนดรอว์ (Main Draw) 14.4 จ�ำนวนผู้แข่งขันรอบกอ่ นรอบคดั เลือก (Pre-Qualifying) ใหข้ นึ้ อยใู่ นการพจิ ารณา ของผอู้ �ำนวยการแข่งขัน และหรือผู้ควบคมุ การแข่งขัน และหรอื ผูช้ ข้ี าด 14.5 เฉพาะการแข่งขันประเภทคู่และคู่ผสม ให้มีจ�ำนวนไม่เกินก่ึงหนึ่งของจ�ำนวน ผูแ้ ขง่ ขันในประเภทเดี่ยวของรายการนน้ั ๆ 15. สถานท่ีแข่งขนั 15.1 ต้องเป็นสนามเทนนิสที่มีขนาด และสภาพพื้นสนาม รวมท้ังมีอุปกรณ์สนาม ตามกติกาสหพันธเ์ ทนนิสนานาชาติ (ITF) 15.2 ตอ้ งมีจ�ำนวนสนามแข่งขนั ไมน่ ้อยกวา่ 3 สนาม 15.3 ต้องจดั เตรียมสถานทท่ี �ำงานส�ำหรับกรรมการจดั การแขง่ ขนั 15.4 ต้องจดั เตรียมปา้ ยปดิ ประกาศต่างๆ ที่จ�ำเปน็ 15.5 ต้องจัดให้มกี ารจ�ำหนา่ ยอาหารและเครื่องดม่ื ตามความเหมาะสม 15.6 ต้องมีส่ิงอ�ำนวยความสะดวกให้ตามสมควร เช่น ท่ีน่ังส�ำหรับผู้ชม ที่พักผ่อนของ นักกฬี า ห้องนำ้� ฯลฯ 15.7 ต้องเตรียมสถานทีป่ ฐมพยาบาลเบื้องต้น พรอ้ มอุปกรณท์ ี่จ�ำเปน็ 16. การเรยี งอนั ดับมอื 16.1 ใช้อันดับนักเทนนิสประเภทท่ัวไปของสมาคม ซ่ึงประกาศคร้ังล่าสุด วางอันดับมือ ในการจดั สายแข่งขัน 16.2 ต้องมีการพิจารณาถึงอันดับนักเทนนิสโลกของสหพันธ์เทนนิสนานาชาติ (ITF) และหรือสมาคมเทนนิสอาชีพ (ATP) และหรือสมาคมเทนนิสสตรี (WTA) ตามท่ีสมาคมได้ ก�ำหนดไว้ 16.3 ตอ้ งประกาศผลการเรยี งอนั ดบั ผแู้ ขง่ ขนั รายนามผแู้ ขง่ ขนั ในเมนดรอว์ รอบคดั เลอื ก (ถา้ ม)ี และรอบกอ่ นรอบคดั เลือก (ถ้าม)ี กอ่ นเร่มิ การแข่งขนั วันแรกไมน่ อ้ ยกวา่ 3 วนั 78 คมู่ อื ผตู้ ัดสินกฬี าเทนนิส

17. สทิ ธพิ ิเศษ (Wild Cards) 17.1 สิทธิพิเศษ หมายถึง นักกีฬาที่ได้รับการพิจารณาคัดเลือกจากคณะกรรมการ จดั การแขง่ ขัน ใหเ้ ข้าร่วมในการแข่งขนั เมนดรอว์ และหรือรอบคดั เลอื ก (กรณที ่ีมีการแขง่ ขนั รอบ กอ่ นรอบคดั เลือก) โดยไมต่ ้องผ่านกระบวนการสมัครเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั หรือกระบวนการแขง่ ขนั รอบคดั เลอื ก หรอื รอบกอ่ นรอบคัดเลือก 17.2 ผู้ได้รับสิทธิพิเศษนี้ ต้องเป็นผู้ท่ีไม่ตกรอบจากการแข่งขันรอบคัดเลือก และหรือ รอบก่อนรอบคดั เลอื ก ในการแขง่ ขนั รายการน้นั ๆ 17.3 ผลการพจิ ารณาใหส้ ทิ ธพิ ิเศษของคณะกรรมการจัดการแข่งขันใหถ้ ือเปน็ ท่สี ดุ 17.4 หา้ มเปลยี่ นแปลงผไู้ ดร้ ับสิทธพิ เิ ศษน้ี เม่อื เรมิ่ การจดั สายแข่งขันแล้ว 17.5 จ�ำนวนผ้ไู ดร้ บั สิทธพิ ิเศษ 17.5.1 สายแข่งขนั 64 คน จ�ำนวนผไู้ ด้รบั สทิ ธพิ ิเศษ 8 คน 17.5.2 สายแขง่ ขัน 32 คน จ�ำนวนผ้ไู ดร้ ับสทิ ธิพเิ ศษ 4 คน 17.5.3 สายแข่งขัน 16 คน จ�ำนวนผไู้ ดร้ ับสทิ ธิพเิ ศษ 2 คน 17.5.4 สายแขง่ ขัน 8 คน จ�ำนวนผไู้ ดร้ บั สิทธพิ ิเศษ 1 คน 17.6 หากการแข่งขันรายการใดๆ ไม่มีผู้ได้รับสิทธิพิเศษนี้ ให้เลื่อนล�ำดับจากอันดับมือ การแขง่ ขันขนึ้ แทนท่ี โดยไม่ถอื วา่ ผ้นู น้ั ไดร้ บั สิทธพิ ิเศษ 18. ลคั กล้ี ูสเซอร์ (Lucky Losers) 18.1 ลัคก้ีลูสเซอร์ หมายถึง ผู้แพ้ในการแข่งขันรอบคัดเลือกสุดท้าย หรือรอบก่อน รอบคัดเลือกรอบสุดท้ายจะได้สิทธิเข้าร่วมการแข่งขันในเมนดรอว์ หรือในรอบคัดเลือก กรณีที่ ผู้มีสิทธใิ นเมนดรอว์ หรอื ในรอบคดั เลือกถอนตวั จากการแขง่ ขันรอบแรก หรอื ในแมตช์แรกทผ่ี ู้น้นั ลงแขง่ ขนั 18.2 ลัคก้ีลูสเซอร์ จะต้องลงชื่อรายงานตัวตามก�ำหนด และจะคัดเลือกลัคกี้ลูสเซอร์ โดยวิธีจบั สลาก จากผูท้ ่ีลงชื่อรายงานตัวทั้งหมด 18.3 หากไม่มีผู้แพ้ในรอบคัดเลือกสุดท้าย หรือในรอบก่อนรอบคัดเลือกรอบสุดท้าย ลงช่อื รายงานตัวตามก�ำหนด อนโุ ลมใหผ้ ู้แพใ้ นรอบก่อนหน้านี้ เปน็ ลคั ก้ีลูสเซอร์ โดยให้เป็นไปตาม ระเบียบฯ ข้อ 16.1 และ 16.2 18.4 หากเป็นที่แน่ชัดว่ามีผู้เล่นได้สิทธิเป็นลัคกี้ลูสเซอร์ ก่อนเร่ิมการจัดสายแข่งขัน ลคั ก้ลี ูสเซอรผ์ ู้นน้ั ตอ้ งไดร้ ับการวางมือในการจัดสายแข่งขัน ตามผังการจัดสายแขง่ ขนั คู่มือผตู้ ดั สินกีฬาเทนนสิ 79

19. ผ้เู ลน่ ส�ำรอง (Alternate) 19.1 ผู้เล่นส�ำรอง หมายถึง ผู้ที่ไม่สมัครแข่งขันตามก�ำหนด และไปขอลงช่ือเป็นผู้เล่น ส�ำรอง ณ สถานทแี่ ขง่ ขนั ตามก�ำหนดวนั เวลา ทผ่ี อู้ �ำนวยการแขง่ ขนั และหรอื ผคู้ วบคมุ การแขง่ ขนั ก�ำหนด 19.2 ผู้เล่นส�ำรองมีโอกาสเข้าร่วมการแข่งขัน แทนที่ผู้ไม่มาแข่งขันด้วยเหตุใดๆ ก็ดี ตามขนั้ ตอนดงั น้ี 19.2.1 ลงแข่งขันรอบก่อนรอบคัดเลือก (ถ้ามี) แต่ผู้เล่นส�ำรองคนนั้นต้องไม่มี อันดบั ดีกว่าจ�ำนวนผ้เู ลน่ ครง่ึ แรกของผู้อย่รู อบคัดเลอื ก 19.2.2 ลงแข่งขันรอบคัดเลือก (ถ้ามี) แต่ผู้เล่นส�ำรองคนนั้นต้องไม่มีอันดับดีกว่า จ�ำนวนผู้เล่นครึง่ แรกของผอู้ ยู่ในเมนดรอว์ 19.2.3 ลงแขง่ ขันเมนดรอว์ (ในกรณที ไี่ ม่มีการแขง่ ขันในข้อ 17.2.1 และ 17.2.2) 19.3 ผู้เล่นส�ำรองซึ่งได้ลงแข่งขัน ต้องได้รับการวางมือในการจัดสายแข่งขัน ตามผัง การจดั สายแขง่ ขนั 20. การสมคั รแข่งขนั 20.1 แต่ละรายการเปิดรับสมคั รก่อนก�ำหนดวันแข่งขนั วนั แรก ไมน่ ้อยกวา่ 30 วนั 20.2 ก�ำหนดวันปิดรับสมัครแต่ละรายการ ก่อนก�ำหนดวันแข่งขันวันแรก ไม่น้อยกว่า 10 วนั และไมเ่ กิน 21 วัน 20.3 ผู้จดั การแขง่ ขนั ต้องประกาศสถานท่รี บั สมคั ร วันและเวลารบั สมัครให้ชัดเจน 20.4 ในกรณีสมัครด้วยเครื่องโทรสาร เป็นหน้าท่ีของผู้สมัครต้องโทรศัพท์ติดต่อ เพ่อื ขอค�ำยนื ยันการรับสมคั รทางเครือ่ งโทรสารจากผ้รู ับสมคั ร 21. ลูกเทนนสิ ที่ใชใ้ นการแขง่ ขนั 21.1 ใช้ลูกเทนนิสที่ได้รับการรับรองจากสหพันธ์เทนนิสนานาชาติ (ITF) แมตช์ละ ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 กระปอ๋ ง (3 ลูก) 21.2 ผู้จัดการแข่งขันอาจพิจารณาให้เปล่ียนลูกเทนนิสใหม่ได้ เมื่อต้องแข่งขันกันด้วย เซตตดั สนิ 80 คู่มอื ผู้ตดั สินกฬี าเทนนสิ

22. สถานภาพผแู้ ขง่ ขัน 22.1 สถานภาพผู้แข่งขัน หมายถึง ผลการพิจารณาผู้สมัครเข้าร่วมการแข่งขันทุกคนว่า ผู้ใดอยู่ในเมนดรอว์ ผู้ใดอยู่ในรอบคัดเลือก และหรืออยู่ในรอบก่อนรอบคัดเลือก โดยพิจารณา เรยี งล�ำดบั ตามขอ้ 14 22.2 ประกาศสถานภาพผู้แข่งขัน ก่อนก�ำหนดวันแข่งขันวันแรกไม่น้อยกว่า 3 วัน พร้อมกับประกาศก�ำหนด วัน เวลา ลงทะเบียนรายงานตัวผู้แข่งขันทุกคน ทุกประเภท และ การจัดสายแข่งขนั 22.3 ติดประกาศสถานภาพผู้แข่งขัน และก�ำหนดวัน เวลา ลงทะเบียนรายงานตัว ทีส่ นามแข่งขัน และหรอื สถานที่รับสมคั รแขง่ ขัน และหรอื ในเว็บไซตท์ ีผ่ ้จู ัดการแขง่ ขันก�ำหนด 23. การจดั สายแข่งขันและการวางมือ 23.1 ใช้วิธีวางมือและจับสลาก โดยการจัดอันดับมือวางในสายแข่งขันให้เป็นไปตาม ข้อบังคับการแขง่ ขนั ITF Men’s Circuit และ ITF Women’s Circuit 23.2 การจัดอันดับมือนักกีฬา ให้เป็นไปตามข้อบังคับการเรียงอันดับมือ และผลการจัด สายแข่งขนั ของคณะกรรมการจดั การแข่งขนั ใหถ้ ือเป็นที่สุด 23.3 ก�ำหนดวัน เวลา และสถานที่จัดสายแข่งขัน ให้เป็นไปท่ีผู้จัดการแข่งขันและ หรือผคู้ วบคมุ การแข่งขนั ก�ำหนด แต่ตอ้ งไมน่ ้อยกวา่ 30 นาที แต่ไม่มากกวา่ 48 ชั่วโมงกอ่ นเร่ิม การแขง่ ขนั แมตชแ์ รก 23.4 จัดสายแข่งขันต้องด�ำเนินไปอย่างเปิดเผย โดยผู้อ�ำนวยการแข่งขัน และหรือ ผู้ควบคุมการแข่งขัน และหรือผู้ชขี้ าด ตอ่ หน้าผแู้ ขง่ ขนั เป็นสกั ขีพยานอย่างน้อย 1 คน 23.5 จ�ำนวนมอื วางในการจัดสายแข่งขัน 23.5.2 สายแข่งขนั จ�ำนวน 64 คน วางอันดับมอื 16 คน 23.5.3 สายแขง่ ขัน จ�ำนวน 32 คน วางอันดับมอื 8 คน 23.5.4 สายแขง่ ขนั จ�ำนวน 16 คน วางอนั ดบั มือ 4 คน 23.5.5 สายแข่งขนั จ�ำนวน 8 คน วางอันดบั มอื 2 คน 23.5.6 สายแขง่ ขนั แบบพบกันหมดที่ต�ำ่ กวา่ 8 คน วางอันดับมือ 2 คน 23.6 หากผู้ได้รับการวางมือในการจัดสายแข่งขัน 8 อันดับแรก ถอนตัวจากการแข่งขัน กอ่ นการแขง่ ขนั แมตชแ์ รกในประเภทนน้ั ๆ จะเรมิ่ ขน้ึ ใหเ้ ลอื่ นการจดั อนั ดบั มอื วาง 4 อนั ดบั แรกใหม่ (ในกรณีสายแข่งขัน 64 คน) และจัดสายแข่งขันเฉพาะต�ำแหน่งมือวางที่เปลี่ยนแปลงไปเท่านั้น โดยน�ำผู้ไม่ได้รับการวางมือท่ีอันดับดีท่ีสุด ข้ึนเป็นมือวางอันดับสุดท้ายแทน และน�ำลัคกี้ลูสเซอร์ ไปอย่ใู นต�ำแหนง่ แทนท่ผี ู้ทเี่ ล่อื นขน้ึ เปน็ อนั ดบั มือวาง ค่มู ือผู้ตัดสนิ กฬี าเทนนิส 81

23.7 หากผู้ได้รับการวางมือในการจัดสายแข่งขัน 4 อันดับแรก ถอนตัวจากการแข่งขัน ก่อนการแข่งขันแมตช์แรกในประเภทน้ันๆ จะเริ่มขึ้น ให้เล่ือนการจัดอันดับมือวาง 4 อันดับ แรกใหม่ (ในกรณีสายแข่งขัน 32 คน) และจัดสายแข่งขันเฉพาะต�ำแหน่งมือวางที่เปลี่ยนแปลง ไปเท่าน้ัน โดยน�ำผู้ไม่ได้รับการวางมือท่ีอันดับดีท่ีสุด ข้ึนเป็นมือวางอันดับสุดท้ายแทน และน�ำ ลัคก้ลี ูสเซอรไ์ ปอยู่ในต�ำแหน่งแทนทีผ่ ทู้ ่เี ลื่อนขนึ้ เปน็ อันดบั มอื วาง 23.8 หากผู้ได้รับการวางมืออันดับ 5 - 8 ถอนตัวจากการแข่งขัน ก่อนการแข่งขัน แมตช์แรกในประเภทน้ันๆ จะเริ่มขึ้น (ในกรณีสายแข่งขัน 32 คน) ให้น�ำผู้ไม่ได้รับการวางมือ ที่อันดับดีท่ีสุด ขึ้นมาอยู่ในต�ำแหน่งท่ีผู้ได้รับการวางมือถอนตัว และน�ำลัคกี้ลูสเซอร์ไปอยู่ใน ต�ำแหนง่ แทนทีผ่ ูท้ ่ถี กู เลื่อนข้นึ เป็นอนั ดบั มอื วาง 23.9 หากผู้ได้รับการวางมือถอนตัวจากการแข่งขัน หลังจากเร่ิมการแข่งขันแมตช์แรก ในประเภทน้นั ๆ ไปแลว้ ไมม่ กี ารเปล่ียนแปลงการจดั อันดับมือวางใหม่ 23.10 การจัดสายแข่งขันโดยผู้อ�ำนวยการแข่งขัน และหรือผู้ควบคุมการแข่งขัน และ หรือผชู้ ขี้ าด ให้ถือเป็นทส่ี ุด 24. การด�ำเนินการแข่งขันและระบบการแข่งขนั ทุกประเภทท�ำการแข่งขันแบบแพ้คัดออก เว้นประเภทการแข่งขันที่มีผู้สมัครเข้าร่วม การแขง่ ขนั น้อยกว่า 8 คน ให้เป็นไปตามข้อ 12 24.1 เลอื กใช้ระบบการแข่งขนั ดังน้ี 24.1.1 ระบบเซ็ต 6 เกม สองในสามเซ็ต ใช้ไท-เบรกเม่ือ 6 เกมเท่ากันทุกเซ็ต และดิวส์ปกติ และหรอื ดิวสค์ ะแนนเดียว 24.1.2 ระบบเซ็ต 6 เกม สองในสามเซ็ต ใช้ไท-เบรกเมื่อ 6 เกมเท่ากันทุกเซ็ต และดวิ ส์ปกติ และหรอื ดวิ ส์คะแนนเดยี ว โดยใชร้ ะบบซเู ปอรไ์ ท-เบรก 10 แต้ม แทนเซต็ ตดั สนิ 24.2 นักกีฬาไม่สามารถพร้อมลงแข่งขัน หลังประกาศเรียก 15 นาที จะถูกปรับเป็น ฝ่ายแพแ้ ละหรือถูกพจิ ารณาโทษตามที่สมาคมก�ำหนด 24.3 หากนักกีฬาซึ่งได้ลงแข่งขันไปแล้ว และจะต้องลงแข่งขันอีกในวันเดียวกัน ให้นกั กีฬาผู้นน้ั มสี ทิ ธพิ ัก หลงั จบการแขง่ ขนั แต่ละครงั้ ดังน้ี 24.3.1 แข่งขนั น้อยกว่า 1 ชว่ั โมง พกั 30 นาที 24.3.2 แขง่ ขนั มากกว่า 1 ชว่ั โมง แต่ไม่เกิน 1 ชัว่ โมง 30 นาที พกั 1 ช่วั โมง 24.3.3 หากแขง่ ขันมากกวา่ 1 ช่ัวโมง 30 นาที พัก 1 ช่วั โมง 30 นาที 82 คู่มือผูต้ ดั สินกฬี าเทนนสิ

25. กตกิ าและระเบยี บ 25.1 ใชก้ ตกิ าการแขง่ ขันของสหพนั ธ์เทนนสิ นานาชาติ (ITF) ฉบบั ล่าสดุ 25.2 ใช้ข้อบังคับการแข่งขันของ ITF Men’s Circuit และ ITF Women’s Circuit ฉบับลา่ สดุ 25.3 ให้น�ำบทลงโทษกรณีถ่วงเวลาการสอนขณะแข่งขัน และมารยาทของนักกีฬาตาม กติกาของสหพันธ์เทนนสิ นานาชาติ ข้อ 30 มาบงั คบั ใชแ้ ละลงโทษ ดังน้ี 25.3.1 คร้งั ที่ 1 ตกั เตอื น 25.3.2 ครงั้ ท่ี 2 ตัดคะแนน 25.3.3 คร้ังที่ 3 และคร้งั ต่อๆ ไป ตดั เกม 25.4 นักกีฬาที่ถูกตักเตือนคร้ังท่ี 3 ในรายการแข่งขันเดียวกัน จะถูกตัดคะแนนทันที และการปรากฏความผิดตามระเบยี บฯ ข้อ 25.3 ครัง้ ตอ่ ไปคือ การตดั เกม 25.5 กรณีที่มีการละเมิดอย่างเจตนา และหรือการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวขาดมารยาท ที่ดีงามของนักกีฬา และหรือจากผู้ฝึกสอนของนักกีฬาผู้น้ัน และหรือจากผู้ปกครองของนักกีฬา ผูน้ ั้น นักกฬี าจะถูกปรับให้ออกจากการแขง่ ขัน และหรือถกู ปรับให้เปน็ ฝา่ ยแพ้ (กรณีทกี่ ารแขง่ ขัน แมตช์นั้นสิ้นสุดลงแล้ว) รวมทั้งการถูกห้ามเข้าร่วมการแข่งขันครั้งต่อๆ ไป และหรือถูกห้าม เขา้ รว่ มการแขง่ ขันไม่น้อยกวา่ 90 วัน แต่ไมเ่ กนิ 2 ปี โดยดลุ พนิ จิ ของผอู้ �ำนวยการแขง่ ขนั และ หรือผู้ควบคมุ การแข่งขนั และหรือช้ขี าด 25.6 ผู้ถูกลงโทษตามระเบียบฯ ข้อ 25.3 และหรือข้อ 25.4 จะถูกพิจารณาโทษตามที่ สมาคมก�ำหนด ว่าด้วยบทลงโทษด้วยคะแนนโทษสะสม และแจ้งผลการพิจารณาดังกล่าว ไปยังองค์กรเทนนิสทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ตามระเบียบฯ ข้อ 12.7 25.7 ผู้ปกครอง และหรือผู้ฝึกสอน และหรือนักกีฬา ซึ่งจงใจแจ้งวันเดือนปีเกิด ของนกั กีฬาอันเปน็ เท็จ หรอื สร้างหลักฐานเทจ็ ในการแจง้ วนั เดือนปเี กดิ ของตนเอง จะถูกพิจารณา โทษห้ามเข้าร่วมการแข่งขัน ไม่น้อยกว่า 90 วัน แต่ไม่เกิน 1 ปี และอาจมีการพิจารณา แจ้งความด�ำเนนิ คดี 26. การรายงานตัวแขง่ ขัน 26.1 นักกฬี าทกุ คนต้องลงชอ่ื รายงานตวั ตามวนั เวลา และสถานท่ี ทีผ่ ้อู �ำนวยการแข่งขนั และหรือผู้ควบคมุ การแขง่ ขนั และหรือผูช้ ้ีขาดก�ำหนด 26.2 นักกีฬาทุกคนต้องรายงานตัวต่อผู้ชี้ขาด และหรือผู้ท่ีผู้ชี้ขาดมอบหมาย ก่อนถึง ก�ำหนดเวลาแข่งขนั ของตนเองไมน่ อ้ ยกว่า 15 นาที คู่มือผตู้ ัดสนิ กีฬาเทนนสิ 83

26.3 นกั กีฬาคนใดไม่ลงชื่อรายงานตวั และหรือไม่รายงานตวั ตามก�ำหนด จะถกู ปรับให้ ออกจากการแข่งขัน และสิทธิรับรางวัลและบทลงโทษใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บฯ ขอ้ 25 27. การถอนตวั 27.1 ตอ้ งท�ำหนงั สือถอนตัวพร้อมแสดงเหตุผล ส่งถงึ ผอู้ �ำนวยการแขง่ ขัน 27.2 หากถอนตัวหลังก�ำหนด 3 วันก่อนเริ่มการแข่งขันวันแรก อนุญาตให้ถอนตัว ได้ด้วยเหตุผลการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยของนักกีฬาเท่าน้ัน และต้องแสดงใบรับรองแพทย์ต่อ ผอู้ �ำนวยการจัดการแข่งขันโดยเรว็ ที่สดุ 27.3 หากถอนตวั หลังการจัดสายแข่งขันแล้ว นกั กฬี าผนู้ ้นั ไม่มสี ิทธริ ับรางวลั ใดๆ ในการ แขง่ ขนั 27.4 หากถอนตัวเม่ือเริ่มการแข่งขันแล้ว นักกีฬาผู้น้ันไม่มีสิทธิรับรางวัลใดๆ ในรอบที่ นักกีฬาผู้น้ันถอนตัว โดยให้รับรางวัลในรอบก่อนหน้าน้ันแทน รวมท้ังคะแนนสะสมในการ จัดอนั ดบั นักเทนนสิ ด้วย 27.5 เหตุสุดวิสัยอ่ืนๆ ในการถอนตัวโดยไม่มีความผิด ให้อยู่ในดุลพินิจของประธาน จัดการแขง่ ขนั และหรือผู้อ�ำนวยการแขง่ ขนั เท่านน้ั 27.6 นักกีฬาที่ถอนตัวโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร จะถูกพิจารณาโทษตามระเบียบฯ ข้อ 25 และแจง้ ผลการพจิ ารณาดงั กลา่ วไปยงั องค์กรเทนนสิ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 28. จรยิ ธรรมและมารยาท 28.1 นักกีฬา ผู้ฝึกสอน และผู้ปกครอง ต้องประพฤติตนให้สมกับการเป็นนักกีฬาท่ีดี พึงแสดงมารยาทท่ีดตี ่อกัน ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ กติกา และขอ้ บงั คับการแข่งขนั ทกุ ประการหากมี การฝ่าฝืน ให้น�ำขอ้ บังคับ ขอ้ 25 มาบังคับใช้ 28.2 นกั กฬี าทล่ี งแขง่ ขนั ตอ้ งแตง่ กายดว้ ยชดุ กฬี าเทนนสิ ทส่ี ภุ าพ และตอ้ งเปน็ เสอ้ื คอปก (ในกรณีน้ีเว้นเสื้อแบบไม่มีคอปกท่ีออกแบบเป็นชุดเทนนิส และได้รับอนุญาตจากผู้อ�ำนวยการ แข่งขนั และหรือผู้ควบคมุ การแขง่ ขัน และหรอื ผชู้ ้ีขาดเท่าน้ัน) 28.3 หากมีการติดเคร่ืองหมายโฆษณาบนเครื่องแต่งกายของนักกีฬา ตลอดจนอุปกรณ์ ต่างๆ ทน่ี �ำลงสนามแข่งขนั ใหเ้ ป็นไปตามข้อบงั คับของสหพนั ธ์เทนนสิ นานาชาติ (ITF) ซ่งึ รวมถึง หมวก อุปกรณ์รัดขอ้ มอื และอปุ กรณร์ ัดศรี ษะดว้ ย 84 ค่มู อื ผู้ตัดสนิ กฬี าเทนนิส

28.4 นักกีฬาที่ไม่ได้ปฏิบัติตามระเบียบการแต่งกายน้ี จะไม่ได้รับอนุญาตให้ลงแข่งขัน จนกว่าจะปฏิบัติตนให้เป็นไปตามระเบียบ และระยะเวลาการเปล่ียนแปลงเคร่ืองแต่งกาย ให้เป็นไปตามระเบียบฯ ข้อ 24 28.5 ใหใ้ ชบ้ ทลงโทษตามข้อ 24 และ 25 มาใชก้ ับนักกฬี าทีล่ ะเมิดระเบยี บขอ้ น้ี 29. รางวลั การแข่งขัน 29.1 จดั ใหม้ ีถ้วยรางวัล โล่รางวัล หรอื เหรยี ญรางวลั แกผ่ ู้ชนะเลศิ และรองชนะเลิศ 29.2 ผจู้ ัดการแข่งขนั อาจพจิ ารณาให้รางวัลผูเ้ ข้ารอบอน่ื ๆ ได้ ตามความเหมาะสม 29.3 เงินรางวัลหรือเงินทนุ การศึกษาซึง่ จา่ ยเป็นตวั เงิน 29.4 การให้ทุนการศึกษาด้วยโอกาสเข้ารับการศึกษา และหรือการให้โอกาสเดินทาง ไปแข่งขนั รายการอ่ืนๆ และหรือการให้โอกาสได้รบั สทิ ธพิ ิเศษในการแขง่ ขันอ่นื ๆ 29.5 การมอบอุปกรณก์ ารแข่งขัน 30. หนา้ ทีผ่ ้จู ดั การแข่งขนั 30.1 ปฏิบัตติ ามขอ้ บงั คับการแขง่ ขัน 30.2 รายงานผลการแข่งขันให้ผู้รับผิดชอบตามข้อ 2.8 ทันทีหลังเสร็จสิ้นการแข่งขัน หรอื อยา่ งชา้ ภายใน 48 ช่วั โมง หลงั เสร็จสิน้ การแขง่ ขนั รายงานจะต้องประกอบด้วย 30.2.1 สายแข่งขันพร้อมผลแขง่ ขันทส่ี มบรู ณท์ กุ ประเภททีม่ กี ารแขง่ ขัน 30.2.2 รายนามผแู้ ข่งขันทุกคน พร้อมวันเดอื นปเี กิด และจังหวัดของผู้แข่งขัน 30.2.3 แจ้งรายนามผไู้ ม่มาแข่งขันตามก�ำหนด (ถ้าม)ี 30.2.4 แจง้ รายนามผถู้ ูกลงโทษ (ถ้าม)ี 31. ปัญหาในการแข่งขัน และการตัดสนิ ชข้ี าด 31.1 ในขณะแข่งขัน นักกีฬามีสิทธิร้องขอผู้อ�ำนวยการแข่งขัน และหรือผู้ควบคุม การแขง่ ขัน และหรอื ผชู้ ขี้ าด เม่ือเกดิ ปญั หาเกีย่ วกับระเบียบการแข่งขนั และหรือกติกาการแขง่ ขัน หรือร้องขอให้พิจารณาผตู้ ัดสิน และหรอื ผูก้ �ำกบั เสน้ ตลอดจนเจ้าหน้าทีเ่ ทคนิคสนามแข่งขนั 31.2 ผู้อ�ำนวยการแข่งขัน และหรือผู้ควบคุมการแข่งขัน และหรือผู้ช้ีขาด ไม่มีอ�ำนาจ ในการกลับค�ำของผู้ตัดสินในกรณีข้อเท็จจริงเกี่ยวกับจุดตกของลูกเทนนิส และการถูกขัดขวาง การเล่นดว้ ยลกู เทนนิส และหรือคน สตั ว์ ส่ิงของทเ่ี ข้ามาในพน้ื ท่ีสนามแขง่ ขัน คู่มอื ผูต้ ดั สินกีฬาเทนนสิ 85

31.3 ผลการพิจารณาของผู้อ�ำนวยการแข่งขัน และหรือผู้ควบคุมการแข่งขัน และหรือ ผชู้ ีข้ าด ให้ถือเปน็ ทส่ี ุด 31.4 นักกีฬาผู้ใดไม่ปฏิบัติตามผลการพิจารณาหรือการตัดสิน ให้ถือว่าละเมิดข้อบังคับ ข้อ 25 31.5 ความใดมิได้ปรากฏในข้อบังคับน้ี ให้ผู้รับผิดชอบตามข้อ 2.8 เป็นผู้ใช้ดุลพินิจ ในการวินิจฉัยหาข้อยุติ จากข้อบังคับการแข่งขันของสหพันธ์เทนนิสนานาชาติ (ITF) และ ผลการพจิ ารณาใหถ้ อื เป็นท่ีสุด 86 คมู่ ือผ้ตู ัดสนิ กีฬาเทนนสิ

บรรณานกุ รม กรมพลศึกษา. (2552). คุณสมบัติผตู้ ัดสนิ . ม.ป.ท. การกฬี าแหง่ ประเทศไทย. (2555). โครงสรา้ งการบรหิ ารการพฒั นาบคุ ลากรกฬี าสคู่ วามเปน็ เลศิ ระดบั ชาตแิ ละระดับนานาชาติ ดา้ นผู้ฝกึ สอนกีฬา ผู้ตดั สนิ กีฬาและผู้บริหารการกีฬา. กองพฒั นาบุคลากรกฬี า ฝ่ายทรพั ยากรบุคคล; ม.ป.ท. การกฬี าแหง่ ประเทศไทย. (2547). วิทยาศาสตร์การกีฬาส�ำหรบั กฬี าเทนนิส. กองวทิ ยาศาสตร์ การกฬี า, ฝ่ายวิทยาศาสตร์การกฬี า. การกฬี าแห่งประเทศไทย. (2548). หลักสตู รผู้ตัดสนิ กฬี าเทนนิสระดบั ชาต.ิ กองพฒั นาบคุ ลากร กฬี า ฝ่ายพัฒนาบคุ ลากรการกีฬาและการลงทะเบยี น. การกฬี าแหง่ ประเทศไทย. งานวิชาการ กองการฝึกอบรม ส�ำนักพัฒนาบุคลากรกีฬา การกีฬาแห่งประเทศไทย. (2544). กติกาเทนนิส. พิมพ์คร้ังที่ 1. กรุงเทพฯ : การกีฬาแห่งประเทศไทย. ลอนเทนนิสสมาคมแห่งประเทศไทย. (2554). กีฬาเทนนิส. สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2554, จาก HYPERLINK “http://www.ltat.org/history.html” http://www.ltat.org/ history.html. ลอนเทนนิสสมาคมแห่งประเทศไทย. (2557). ระเบียบลอนเทนนิสสมาคมแห่งประเทศไทย. สืบคน้ เม่ือ 25 สิงหาคม 2557 จาก http://www.ltat.org/content.php?id=1039. วิสนศักด์ิ อ่วมเพ็ง. (2543). เทนนิส : เทคนิคและการตัดสิน. พิมพ์คร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ : ส�ำนกั พิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ศลิ ปชัย สวุ รรณธาดา. การเรียนรทู้ กั ษะการเคลื่อนไหว. กรุงเทพมหานคร: 2533. สุธนะ ติงศภทั ยิ ์. (2548). เทนนิสข้ันสูง. พิมพค์ รงั้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ : ส�ำนกั พิมพแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สนธยา สลี ะมาด. (2550). การพัฒนาการเล่นเทนนิสดว้ ยหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา. ส�ำนักพมิ พ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . Chelladurai, P. (2006). Human Resource Management in Sport and Recreation. 2nd edition. United State: Human Kinetics P.O. Box 5076. Champaign. Il 61825-5016. Cox, R.H. Sport psychology: Concepts and application. Wm, C. Brown Publishers, Dubugue, IA, 1990. European Coaching Council. (2007). Review of the EU 5-level Structure for the Recognition of Coaching Qualifications European Network of Sport Science Education & Employment (ENSSEE). คูม่ อื ผตู้ ัดสินกฬี าเทนนิส 87

Garrison, B. (1992). Professional News Reporting. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates, Inc. International Tennis Federation (ITF). (2014). ITF Rules oF TennIs. Mascarenahs and Other. (2005). คณุ ลกั ษณะของผู้ตัดสินกฬี า. National Occupational Standards-Sport (NOS). From HYPERLINK “http://www. skillsactive.com/our-seetors/sport/national-occupational-standards” http://www.skillsactive.com/our-seetors/sport/national-occupational- standards. Roy, L. and Angus, M. (1970). Professional People. London: Phoenix House Ltd. The U.S. Soccer Federation. (2013). Referee Program: The Law of The Game. The U.S. Soccer Referee Department. (2012). Referee Certification and Recertification Requirement. The U.S. Soccer Federation. United States Olympic Committee. (2013). United State Judo Referee Code and Ethics, Standard and Conduct. Retrieved January 2, 2013, from HYPERLINK “http://usoc.org/~media/USA-Judo/Documents/Referee” http://usoc.org/~media/USA-Judo/Documents/Referee code of Ethics.pdf 88 คู่มือผู้ตัดสินกฬี าเทนนสิ

คณะกรรมการจัดทำ� คู่มือผู้ตัดสินกีฬาเทนนิส ที่ปรกึ ษา นายนเร เหล่าวชิ ยา อธบิ ดกี รมพลศกึ ษา นายนวิ ัตน์ ลิม้ สุขนิรันดร ์ รองอธบิ ดีกรมพลศกึ ษา นางสาวดารณี ลิขิตวรศกั ด์ิ รองอธบิ ดกี รมพลศกึ ษา นายสันติ ป่าหวาย ผอู้ �ำนวยการสถาบนั พัฒนาบคุ ลากรการพลศกึ ษา และการกีฬา คณะผทู้ รงคณุ วฒุ ิและคณะผ้จู ดั ทำ� รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนี ขวัญบญุ จัน ผชู้ ่วยศาสตราจารยน์ ภดล น่มิ สวุ รรณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศลิ ปชัย สุวรรณธาดา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วันชยั บุญรอด ดร.สมชาย ประเสริฐศิรพิ นั ธ์ อาจารย์คนางค์ ศรหี ิรญั อาจารย์สุทธิกร อาภานุกลู นายเร่มิ มณธี รรม ผทู้ รงคณุ วุฒพิ ิจารณาความถกู ตอ้ งเหมาะสมของเนอ้ื หา นายอมร ดวงป่นิ ค�ำ ผ้ตู ดั สินกีฬาเทนนิส นายชาตชิ าย ศรลี าลัย ผตู้ ดั สินกฬี าเทนนิส นายอนรุ ักษ์ แหวนสขุ ผตู้ ดั สินกฬี าเทนนสิ นายกิตติพงษ์ พูลเกษม ผตู้ ัดสนิ กีฬาเทนนิส นายขนุ ทอง ชนั้ บุญ ผู้ตดั สินกฬี าเทนนิส นายณัฐพล ไชยเดช ผู้ตัดสินกฬี าเทนนิส นายไพฑูรย์ นามกร ผตู้ ดั สินกีฬาเทนนสิ นายปรญิ ญา วงษเ์ พ็ชร ผู้ตัดสนิ กีฬาเทนนิส นายธรี นันท์ ทานาแซง ผู้ตัดสินกฬี าเทนนสิ นายศิวพดั จนั ดาเขต ผตู้ ัดสนิ กฬี าเทนนสิ นายณัฏฐพัชร์ สุขเกษม ผ้ตู ดั สนิ กฬี าเทนนิส นายศักดิ์โสภณ สขุ สวัสด์ ิ ผตู้ ัดสนิ กฬี าเทนนสิ คูม่ ือผู้ตัดสนิ กีฬาเทนนสิ 89

คณะกรรมการจัดทำ� คู่มือผู้ตัดสินกีฬาเทนนิส บรรณาธิการและผเู้ รยี บเรยี ง นางบงกชรัตน์ โมลี ผ้อู �ำนวยการกลมุ่ วชิ าการและมาตรฐานวชิ าชีพ นายณฏั ฐนนั ท์ ศศะรมย์ นักพัฒนาการกฬี าปฏบิ ตั ิการ นางสาวชารสิ า วดั ตาล นกั พัฒนาการกฬี าปฏิบัติการ นางสาววรศิ รา ฟุงสงู เนิน นักพฒั นาการกฬี าปฏิบัติการ