สารบัญ หน้า หนา้ หนา้ โรคเนา่ เละ (พืชตระกูลกะหล่ำ� ) 1 ด้วงเตา่ มะเขอื 23 หนอนกระทู้หอม 45 โรคใบด่าง 3 ด้วงหมัดผัก 25 หนอนเจาะฝักถวั่ 47 โรคผลเนา่ 5 ด้วงเต่าแตง 27 หนอนเจาะสมอฝา้ ย 49 โรคยอดและดอกเน่า 7 เพล้ยี ไฟ 29 หนอนแมลงวนั เจาะต้นถัว่ 51 โรครากเน่าโคนเน่า 9 เพลย้ี แปง้ 31 หนอนใยผกั 53 โรครากปม 11 เพลยี้ ออ่ น 33 หนอนคบื กะหล่�ำ 55 โรคราน�้ำค้าง 13 แมลงวันผลไม้ 35 โรคราแปง้ (มะเขอื เทศ) 15 แมลงหวี่ขาว 37 โรคลำ� ต้นไหม้ 17 ไรขาวพริก 39 โรคเหี่ยวเขียว 19 หนอนกระท้ดู ำ� 41 โรคแอนแทรกโนส (ก้งุ แหง้ ) 21 หนอนกระทู้ผัก 43
โรคเน่าเละ (พชื ตระกลู กะหลำ�่ ) เชอื้ สาเหตุ โรคเน่าเละ ลกั ษณะอาการ เชื้อแบคทีเรยี Erwinia carotovora 1โรค-แมลงศตั รูผัก และการป้องกันกำ� จัด ชนิดพชื ผักทีพ่ บ กรมส่งเสริมการเกษตร พืชตระกลู กะหลำ�่ ลักษณะอาการ อาการของโรคน้ีพบได้เกือบทุกระยะการเจริญ เติบโตแต่พบมากในระยะที่กะหล่�ำปลีห่อหัวโดยใน ระยะแรกพบเป็นกระหรือบริเวณใบมีลักษณะฉ�่ำน�้ำ
คล้ายรอยช�้ำ ต่อมาบริเวณน้ีจะขยายลุกลามออกไปท�ำให้เกิดการเน่า และเป็นเมือกเย้ิม มีกลนิ่ เหมน็ จดั เม่ือเปน็ รุนแรงจะท�ำใหก้ ะหล่ำ� ปลีเกิดการเนา่ เละทง้ั หัว การปอ้ งกันและกำ� จดั 1. ไถพรวนดิน พลกิ หนา้ ดนิ ข้ึนตากกอ่ นทำ� การปลูกพชื 2. ท�ำลายตน้ เปน็ โรคโดนขดุ ถอนไปเผาทง้ิ 3. ปลูกพืชหมุนเวียนโดยเฉพาะพ้ืนท่ีที่เหมาะสมแก่การปลูกพืชเศรษฐกิจต่าง ๆ เช่น ขา้ วโพด ข้าวฟา่ ง ถว่ั เหลอื ง ถ่ัวเขียว ฯลฯ 4. พ่นสารก�ำจดั แมลง เพื่อไมใ่ หพ้ ชื เปน็ แผล ลดการเข้าทำ� ลายของเชอื้ แบคทีเรีย 2โรค-แมลงศตั รผู ัก และการป้องกนั ก�ำจัด กรมส่งเสรมิ การเกษตร
โรคใบด่าง อาการใบด่าง ลามทง้ั ใบ เชื้อสาเหตุ 3โรค-แมลงศตั รูผกั และการป้องกนั ก�ำจัด เกิดจากเชือ้ ไวรสั กรมส่งเสรมิ การเกษตร ชนดิ พืชผกั ทพี่ บ พืชตระกูลแตง ถั่วฝักยาว มะเขอื เทศ มะเขอื ฯลฯ ลกั ษณะอาการ ใบแสดงอาการด่างสีเขียวเข้มสลับสีเขียวอ่อน หรือเขียวสลับเหลือง เนื้อใบหงิกเป็นคล่ืน ขอบใบ ม้วนลง ยอดแคระแกร็น แพร่ระบาดโดยเพล้ียอ่อน เปน็ แมลงพาหะ
การป้องกันและกำ� จัด 1. ใชเ้ มลด็ พนั ธ์ทุ ี่ดีปราศจากเชือ้ โรค 2. ถอนตน้ ทเ่ี ปน็ โรคออก และเผาทำ� ลายท้งิ 3. ป้องกันและแมลงพาหะ เช่นเพล้ียอ่อน โดย พ่นสารสะเดา เชื้อราบิวเวอเรีย หรือพ่นด้วย สารก�ำจัดแมลง เช่น ฟิโปรนิล อิมิดาโคลพริด คาร์บาริล คาร์โบซัลแฟน อัตราตามค�ำแนะน�ำ ในฉลาก 4. ควรระมัดระวังในการปฏิบัติงาน เพ่ือลดการ กระจายของโรคโดยการสมั ผสั ลกั ษณะอาการ 4โรค-แมลงศัตรูผกั และการป้องกันกำ� จัด กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
โรคผลเน่า โรคผลเนา่ 5โรค-แมลงศัตรูผกั และการป้องกนั ก�ำจัด เชอื้ สาเหตุ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร เชื้อรา Pythium sp. ชนดิ พชื ผกั ทีพ่ บ มะเขือเทศ ลกั ษณะอาการ ผลมะเขือเทศมีลักษณะช�้ำเหมือนน�้ำร้อนลวก แล้วเปล่ียนเป็นสีน้�ำตาลเข้มหรือด�ำเม่ือโรคระบาด มากขึ้น ผลที่เปน็ โรคจะเนา่ และผลบริเวณทตี่ ดิ ดนิ มกั มี เส้นใยของเชอื้ ราสขี าว ฟู ค่อนขา้ งเหนยี ว
การป้องกันและก�ำจดั 1. ปอ้ งกนั ไม่ใหผ้ ลมะเขือเทศแตะพ้นื เชน่ การยกคา้ ง 2. ลดความชื้นที่ผิวดิน โดยลดการให้น้�ำหรือปรับวิธีการให้น�้ำมิให้หน้าดินบนแปลง เปยี กชืน้ 3. ลดความชืน้ ในแปลงโดยการตดั แต่งใบ เพื่อให้การระบายความชน้ื ดขี ึน้ 6โรค-แมลงศตั รผู ัก และการป้องกนั ก�ำจัด กรมสง่ เสริมการเกษตร
โรคยอดและดอกเนา่ เชื้อสาเหตุ ระยะแรกยอดเปลีย่ นเปน็ สีด�ำ ยอดแห้ง และเปน็ สีน้ำ� ตาล เชื้อรา Choanephara sp. 7โรค-แมลงศัตรูผัก และการปอ้ งกันก�ำจัด ชนิดพืชผกั ท่พี บ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร พริก ถั่วลันเตา ลกั ษณะอาการ พบได้ทุกส่วนของพริก เช่น ใบ ดอก ยอดอ่อน และผลพริก บริเวณท่ีเช้ือเข้าท�ำลายจะฉ่�ำน้�ำ แล้ว เปล่ียนเป็นสีน�้ำตาล หรือสีด�ำ ในสภาพความช้ืนสูง
เส้นใยของเชื้อราจะเป็นสีเทาและฟูคล้ายขนแมว ปลายขนจะมีปุ่มสีด�ำ มักระบาดในช่วงท่ี มคี วามชืน้ สูง โดยเฉพาะเม่อื มีฝนตก การป้องกันและกำ� จดั 1. แช่เมล็ดพันธุ์ในน้�ำอุ่นประมาณ 20 นาทีหรือแช่ด้วยสารป้องกันก�ำจัดโรคพืช หรือใช้เช้ือราไตรโคเดอร์มาคลุกเมล็ด โดยใช้เชื้อ 10 กรัมต่อน�้ำ 10 มิลลิลิตร ต่อเมล็ด 1 กิโลกรัม 2. ท�ำทางระบายน้ำ� ใหไ้ หลสะดวก เพอ่ื ลดการทว่ มขังของนำ้� 3. หมั่นส�ำรวจแปลง เมือ่ พบต้นที่เกิดโรค เก็บและเผาทำ� ลายท้ิง 8โรค-แมลงศตั รผู กั และการปอ้ งกันกำ� จัด กรมส่งเสรมิ การเกษตร
โรครากเน่าโคนเน่า เชื้อสาเหตุ เสน้ ใยเชือ้ ราสีขาว เม็ดสเคลอโรเทยี ม (Sclerotium) เชื้อรา Sclerotium rolfsii ; Fursarium sp. 9โรค-แมลงศัตรผู ัก และการป้องกันก�ำจัด ชนดิ พชื ผักทีพ่ บ กรมสง่ เสริมการเกษตร พืชตระกลู กะหล�ำ่ พรกิ มะเขือ ฯลฯ ลักษณะอาการ ต้นพืชจะแสดงอาการเห่ียวเฉา เหมือนราก ขาดน้�ำ บริเวณโคนต้นจะเน่าเป็นสีน�้ำตาล และมี เส้นใยของเช้ือราสีขาวปกคลุม บางครั้งอาจพบ ส่วนของเช้ือรา Sclerotium rolfsii ลักษณะคล้าย
เมล็ดผักกาดเกาะติดอยู่บริเวณโคนต้นและราก พืชแสดงอาการใบเหลืองต้นเห่ียว ใบหลุดรว่ ง ยนื ตน้ ตาย การป้องกนั และกำ� จัด 1. แช่เมล็ดพันธุ์ในน�้ำอุ่นประมาณ 20 นาทีหรือแช่ด้วยสารป้องกันก�ำจัดโรคพืช หรือ ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา มาคลุกเมล็ด โดยใช้เช้ือ 10 กรัมต่อน้�ำ 10 มิลลิลิตร ต่อเมลด็ 1 กิโลกรมั 2. ปรบั ปรุงดนิ ดินทสี่ ภาพเป็นกรดใหโ้ รยปูนขาว หรอื โดโลไมท์ 3. ใช้เชอื้ ราไตรโคเดอร์มา ผสมเช้ือสดกับปยุ๋ หมักหรือปุ๋ยคอกอตั รา เช้อื สด 1 กิโลกรัม ต่อร�ำข้าว 4 กิโลกรัม ต่อปุ๋ยอินทรีย์ 100 กิโลกรัม ใช้รองก้นหลุม หรือหว่าน ในแปลงรอบๆ โคนตน้ 4. ถอนตน้ ทเ่ี ปน็ โรคออกจากแปลง และเผาทำ� ลายทิง้ 10โรค-แมลงศตั รผู กั และการปอ้ งกันก�ำจัด กรมส่งเสรมิ การเกษตร
โรครากปม โรครากปม 11โรค-แมลงศตั รผู กั และการปอ้ งกันก�ำจัด เช้ือสาเหตุ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ไสเ้ ดอื นฝอย : Moloidogyne incognita ชนดิ พืชผักท่ีพบ หอม ลกั ษณะอาการ รากมีลกั ษณะปุ่มปม ท�ำใหร้ ะบบการดูดซึมอาหาร ทางรากและการเจริญเติบโตของรากผิดปกติล�ำต้น แคระแกร็นไม่ค่อยเจริญเติบโต และมีปลายใบโค้งงอ
เป็นขอเข้าภายในไม่ลงหัวหรือหัวเล็กไม่แน่น อาจมีรอยแตก ใบมีสีเขียวจางกว่าปกติ และ บิดเบี้ยว การป้องกันและกำ� จดั 1. ไถพรวนดนิ พลกิ หน้าดนิ ข้นึ ตากก่อนท�ำการปลูกพืช 2. ควรปลกู พชื บ�ำรงุ ดิน และพืชทไี่ ม่เป็นโรคนสี้ ลบั ด้วย เช่น ข้าว ข้าวโพด และถ่วั ต่างๆ 3. พน่ สารก�ำจดั แมลง คารโ์ บฟรู าน หรือ เมทโธมลิ อตั ราตามค�ำแนะนำ� ในฉลาก 12โรค-แมลงศัตรผู ัก และการปอ้ งกันกำ� จัด กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
โรคราน้ำ� ค้าง เรม่ิ แสดงอาการ ใบเรมิ่ แหง้ เชื้อสาเหตุ 13โรค-แมลงศตั รผู ัก และการป้องกันก�ำจัด เช้ือรา Pseudoperonospora cubensis กรมส่งเสรมิ การเกษตร ชนดิ พชื ผักท่ีพบ พชื ตระกลู กะหล�่ำ และพชื ตระกูลแตง ลักษณะอาการ เกิดเปน็ ป้นื สเี หลืองบนใบ ดา้ นหลังใบอาจพบกลมุ่ เส้นใยของเช้ือรา ปื้นสีเหลืองเปลี่ยนเป็นสีน้�ำตาล ใน สภาพท่ีมีความชื้นสูงท�ำให้เกิดการระบาดของโรคอย่าง รวดเร็ว ผลมขี นาดเลก็ คุณภาพต�่ำ ใบแห้งและตน้ ตาย
การป้องกันและกำ� จัด ลกั ษณะอาการ 1. แช่เมล็ดพันธุ์ในน้�ำอุ่นประมาณ 20 นาทีหรือ แช่ด้วยสารป้องกันก�ำจัดโรคพืช หรือใช้เชื้อรา ไตรโคเดอร์มา มาคลุกเมล็ด โดยใช้เชื้อ 10 กรัม ตอ่ นำ้� 10 มลิ ลิลิตร ตอ่ เมลด็ 1 กิโลกรัม 2. ไม่ปลูกพชื หนาแนน่ เกินไป 3. พ่นด้วยสารป้องกันก�ำจัดโรคพืช เช่น แมนโคเซบ เมตาแลกซลิ อัตราตามคำ� แนะน�ำในฉลาก 14โรค-แมลงศัตรผู กั และการปอ้ งกันกำ� จัด กรมสง่ เสริมการเกษตร
โรคราแปง้ (มะเขือเทศ) เชอื้ สาเหตุ โรคราแปง้ 15โรค-แมลงศัตรผู ัก และการป้องกันกำ� จัด เชอ้ื รา Oidiopsis sp. กรมสง่ เสริมการเกษตร ชนดิ พชื ผกั ที่พบ มะเขือเทศ มะเขอื ลักษณะอาการ ใบจะปรากฏเป็นจุดสีเหลือง จุดเหลืองน้ีจะ ขยายออกจ�ำนวนจุดบนใบจะมีมากข้ึนเม่ือโรคระบาด รุนแรงข้ึนจนบางครั้งมองเห็นเป็นปื้นสีเหลืองด้าน บนใบ ตรงกลางปื้นเหลืองน้ีอาจจะมีสีน้�ำตาลต่อมา
ใบเปลี่ยนเป็นสีเหลืองทางด้านใต้ใบตรงบริเวณที่แสดงอาการปื้นเหลืองจะมีผงละเอียด คล้ายผงแป้งเกาะอยู่ในสภาพอากาศเย็นบางครั้งจะพบผงสีขาวเกิดขึ้นบนใบ และลุกลาม ไปเกดิ ทกี่ ่ิงได้ การป้องกนั และกำ� จดั 1. ลดความช้ืนบรเิ วณโคนต้นหรือในทรงพ่มุ โดยการตัดแต่งก่ิง 2. ก�ำจัดวชั พืชท่ีเปน็ พชื อาศัยของเชื้อสาเหตุ เช่น น้�ำนมราชสีห์ และหญ้ายาง 3. พ่นด้วยสารป้องกันกำ� จัดโรคพืช เช่น กำ� มะถันผง ไดโนแคป อัตราตามคำ� แนะน�ำ ในฉลาก 16โรค-แมลงศัตรูผัก และการปอ้ งกนั ก�ำจดั กรมสง่ เสริมการเกษตร
โรคลำ� ต้นไหม้ โรคล�ำตน้ ไหม้ ลกั ษณะแผล เช้อื สาเหตุ 17โรค-แมลงศตั รูผกั และการป้องกนั กำ� จัด เชือ้ รา Phomopsis asparagi กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ชนดิ พืชผักทพี่ บ หน่อไม้ฝร่งั ลักษณะอาการ พบในส่วนของล�ำต้น เริ่มแรกจะเป็นจุดฉ่�ำน�้ำ เล็กๆ สีเขียวรูปกระสวย จากน้ันแผลจะขยายใหญ่ขึ้น เป็นสมี ่วง หรอื สนี ำ�้ ตาลเข้มตรงกลาง หรือแผลสนี �้ำตาล อ่อนยาวตามแนวของล�ำต้น เมื่อเป็นรุนแรงบริเวณแผล
จะเป็นจุดเล็กๆ กระจายจนทั่วเป็นทางยาวขนานกับล�ำต้น หากระบาดรุนแรงล�ำต้นจะ หกั ตรงรอยแผล ต้นโทรม ใบร่วง และแห้งตายในท่สี ดุ โรคลำ� ตน้ ไหม้พบระบาดมากในฤดฝู น เชอื้ ราและสปอรข์ องเชอ้ื ราแพรก่ ระจายไปกบั นำ้� ฝน หรอื อาศัยพักตวั อยใู่ นดิน การปอ้ งกันและกำ� จดั 1. รักษาความสะอาดในแปลงปลกู ถ้าพบตน้ ทเี่ ป็นโรคใหถ้ อนทง้ิ และเผาทำ� ลาย 2. ไมค่ วรปลูกพืชเดมิ ซ้ำ� ๆ ตดิ ตอ่ กนั เปน็ ระยะเวลานานๆ 3. ใช้เช้ือราไตรโคเดอร์มา เชื้อสดละลายน�้ำราดบริเวณกอหน่อไม้ฝรั่ง อัตราเช้ือสด 1/2 กิโลกรัมต่อน้�ำ 100 ลิตร หรือผสมเช้ือสดกับปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอัตรา เชือ้ สด 1 กิโลกรัมต่อร�ำข้าว 4 กิโลกรมั ต่อป๋ยุ อนิ ทรยี ์ 100 กโิ ลกรัม หวา่ นรอบกอ หนอ่ ไมฝ้ ร่ัง 4. พ่นด้วยสารป้องกันก�ำจัดโรคพืช เช่น คาร์เบนดาซิม สลับกับคอปเปอร์ออกซ่ีคลอไรด์ อัตราตามค�ำแนะน�ำในฉลาก 18โรค-แมลงศัตรูผัก และการป้องกนั ก�ำจัด กรมส่งเสริมการเกษตร
โรคเหี่ยวเขยี ว โรคเห่ียวเขียวของมะเขอื เทศ 19โรค-แมลงศัตรผู กั และการป้องกันก�ำจดั เชื้อสาเหตุ กรมส่งเสรมิ การเกษตร เชอื้ รา Ralstonia solanacearum ชนิดพืชผกั ที่พบ พรกิ มะเขือเทศ มะเขือ มันฝรั่ง พชื ตระกลู แตง ฯลฯ ลักษณะอาการ ใบเหี่ยวเฉาห้อยลงท้ังท่ีใบยังเขียว ต่อมา ใบจะเห่ียว และตายในท่ีสุด อาจเกิดด้านใดด้านหนึ่ง ของต้น หรือท้ังต้น ส�ำหรับพืชตระกูลแตงใบท่ีอยู่
ส่วนยอดของเถาจะเหี่ยวและห้อยลงมาและลุกลามไปยังใบอื่นๆ ในที่สุดก็จะเห่ียว และเฉาท้ังเถาหรือต้นอย่างรวดเร็ว เม่ือตัดรากหรือโคนแช่น�้ำ จะพบกลุ่มแบคทีเรีย สีขาวขนุ่ ไหลออกมา เช้ือราสามารถขยายพันธุ์และมีชีวิตอยู่ได้ ทั้งในดินและในนำ้� ดังน้ันการแพร่กระจาย ของโรคมักแพร่กระจายไปตามน้�ำ เกิดการระบาดของโรคเป็นหย่อมๆ และแผ่ขยาย ออกไปเร่ือยๆ การป้องกนั และก�ำจัด 1. ขดุ ถอนต้นท่ีเป็นโรคออก และเผาทำ� ลายทง้ิ หา้ มทิง้ ลงแหล่งน�้ำ 2. ปรบั สภาพดินให้เป็นดา่ งเลก็ นอ้ ย โดยใสป่ นู ขาวและเพ่มิ อินทรีย์วัตถุ 3. ปรบั วิธีการให้น้�ำ อยา่ ให้น้ำ� ไหลไปยงั โคนต้นอื่น 4. ปลูกพืชหมุนเวียนอย่างน้อย 3 ปี โดยปลูกพืชตระกูลถั่ว หรือพืชตระกูลกะหลำ่� 20โรค-แมลงศตั รูผกั และการป้องกันกำ� จัด กรมส่งเสรมิ การเกษตร
โรคแอนแทรกโนส (กงุ้ แห้ง) เชื้อสาเหตุ โรคแอนแทรกโนส 21โรค-แมลงศตั รผู กั และการปอ้ งกนั ก�ำจัด เช้อื รา Collectotrichum spp. กรมสง่ เสริมการเกษตร ชนิดพืชผักท่ีพบ พริก ลกั ษณะอาการ พบในผลพริกท้ังสีเขียวและเร่ิมสุก เร่ิมจากเป็น จุดฉ่�ำน�้ำเล็กๆ แผลบุ๋มลึกลงไปเล็กน้อย ต่อมาแผล จะขยายขนาดออกไปในลักษณะวงรี หรือค่อนข้างกลม เกิดเป็นวงซ้อนกันเป็นชั้นๆ บางคร้ังเห็นเป็นเมือกเยิ้ม สีส้มอ่อนบริเวณแผล
การป้องกันและก�ำจัด 1. ไม่ใช้เมล็ดพันธุ์จากพริกท่ีเป็นโรค เนื่องจากเชื้อราจะ ตดิ มากบั เมลด็ 2. แช่เมล็ดพันธุ์ในน�้ำอุ่นประมาณ 20 นาที หรือแช่ ด้วยสารป้องกันก�ำจัดโรคพืช หรือคลุกด้วยเช้ือรา ไตรโคเดอร์มา โดยใชเ้ ช้ือ 10 กรัม ตอ่ นำ้� 10 มลิ ลิลติ ร ตอ่ เมลด็ 1 กโิ ลกรมั 3. ไมป่ ลูกพรกิ หนาแน่นเกินไป 4. เกบ็ เก่ยี วผลพรกิ ทเ่ี ปน็ โรคออกจากแปลง และเผาท�ำลาย ลักษณะอาการ 5. พ่นด้วยเช้ือราไตรโคเดอร์มา เช้ือ 100 กรัมต่อน้�ำ 20 ลิตร กรองเอาน�้ำไปพ่น ถา้ เริม่ เป็นโรคใหพ้ ่นสัปดาห์ละครัง้ 6. พ่นด้วยสารป้องกันก�ำจัดโรคพืช เช่น แมนโคเซบ คาร์เบนดาซิม เบนเลท อัตรา ตามคำ� แนะนำ� ในฉลาก 22โรค-แมลงศัตรูผกั และการปอ้ งกนั ก�ำจัด กรมส่งเสรมิ การเกษตร
ดว้ งเตา่ มะเขอื ตัวอ่อน ตวั เตม็ วัย ชอื่ วิทยาศาสตร์ 23โรค-แมลงศตั รผู กั และการป้องกันก�ำจัด Epilachna vigintioctopunctata F. กรมส่งเสรมิ การเกษตร รูปรา่ งลักษณะ ตัวอ่อนมีสีเหลืองอมส้ม 6 ขา มีขนแข็งคล้ายหนาม ข้างล�ำตัว ตัวเต็มวัยเป็นแมลงปีกแข็งสีส้มลายจุดสีด�ำ มขี นละเอียดบนปกี คลา้ ยมีฝุ่นจับบนปกี พชื อาหาร มะเขือ และพชื ตระกลู แตง
ลักษณะการท�ำลาย ท้ังตัวอ่อน และตัวเต็มวัยกัดกิน ใบพืชจนเป็นรอยปรุ และมรี พู รุนท่ีใบ การป้องกันและก�ำจดั 1. หมั่นส�ำรวจแปลงในช่วงเช้า ใช้มือจับท�ำลายทั้งตัวอ่อน และ ตัวเต็มวัย 2. พ่นด้วยเชื้อราเมตาไรเซียม หรือ ลักษณะการท�ำลาย เช้ือราบิวเวอเรีย อัตรา 1 กิโลกรัมต่อน�้ำ 20 ลิตร ควรพ่นในช่วงเย็นและ พน่ ให้โดนตวั ด้วงเต่ามะเขอื หรือบรเิ วณทด่ี ว้ งเต่ามะเขืออาศยั อยมู่ ากที่สุด 24โรค-แมลงศัตรูผัก และการป้องกนั กำ� จดั กรมสง่ เสริมการเกษตร
ดว้ งหมดั ผกั ตัวเตม็ วยั กดั กินใบ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ 25โรค-แมลงศตั รูผกั และการป้องกนั กำ� จัด Phyllotreta sinuata กรมส่งเสรมิ การเกษตร รูปรา่ งลักษณะ ตัวเต็มวัยเป็นด้วงขนาดเล็กยาวประมาณ 2 – 2.5 มิลลิเมตร ปีกมีสีด�ำแถบเหลือง 2 แถบ พาดตามยาวลำ� ตัว อีกชนิดมีสีนำ้� เงินด�ำ เมื่อถูกรบกวน จะกระโดดหรือบนิ หนี พืชอาหาร พชื ตระกลู กะหล่�ำ
ลักษณะการทำ� ลาย ตัวอ่อนกัดกินบริเวณโคนต้นหรือราก ตัวเต็มวัยกัดกินบริเวณยอด ด้างล่างใต้ผิวใบ ท�ำใหใ้ บมีรูพรนุ การปอ้ งกันและกำ� จดั 1. ไถตากดนิ อยา่ งน้อย 15 วัน เพ่อื ทำ� ลายตวั ออ่ นและดักแด้ในดนิ 2. ในพ้ืนท่ีท่ีพบการระบาดด้วงหมัดผักเป็นประจ�ำควรปลูกพืชอ่ืนสลับกับพืชตระกูล กะหล�่ำ 3. ใช้เชื้อราเมตาไรเซยี ม หรอื สารสะเดาบดหว่านในแปลง ก่อนปลกู ประมาณ 2 สปั ดาห์ หรือราดดว้ ยเชอื้ บีที 3 คร้งั ห่างกัน 7 วนั 4. ตดิ กับดักกาวเหนยี วสเี หลืองในแปลงผกั อัตรา 80 กับดกั ตอ่ ไร่ 5. พ่นด้วยสารก�ำจัดแมลง เช่น ฟิโปรนิล คาร์โบซัลแฟน คาร์บาริล โพรฟีโนฟอส โพรไทโอฟอส อตั ราตามคำ� แนะน�ำในฉลาก 26โรค-แมลงศัตรผู กั และการป้องกนั ก�ำจัด กรมส่งเสรมิ การเกษตร
ด้วงเต่าแตง ดว้ งเต่าแตงแดง ด้วงเตา่ แตงดำ� ช่ือวิทยาศาสตร์ 27โรค-แมลงศัตรผู ัก และการป้องกันก�ำจัด ดว้ งเตา่ แตงแดง Aulacophora indica กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ด้วงเต่าแตงดำ� Aulacophora frontalis รูปรา่ งลักษณะ ตัวเต็มวัยเป็นแมลงในกลุ่มด้วง ปีกคู่แรกแข็งเป็นมัน ล�ำตัวค่อนข้างยาว ประมาณ 8 มิลลิเมตร ท่ีพบทั่วไปมี 2 ชนิด ได้แก่ เต่าแตงดำ� มีสีล�ำตัวน�้ำเงินเกือบด�ำหัวสีส้ม และเต่าแตงแดง ซง่ึ มลี �ำตวั และหัวสสี ม้ พชื อาหาร พชื ตระกูลแตง
ลักษณะการทำ� ลาย กดั กินใบเป็นรู 28โรค-แมลงศตั รผู กั และการปอ้ งกนั ก�ำจัด ตัวเต็มวัยกัดกินใบและดอกของพืชตระกูลแตงโดยกัดกิน ใบเป็นวงกลมก่อน จากน้ันกินส่วนอื่นที่อยู่ในวงจนกลายเป็นรู กรมสง่ เสรมิ การเกษตร และมักพบเต่าแตงผสมพนั ธ์กุ ันเป็นคๆู่ อยูบ่ นใบแตง การป้องกนั และก�ำจัด 1. หมั่นส�ำรวจแปลงในช่วงเช้า ใช้มือจับท�ำลายตัวเต็มวัย หรอื ใช้กับดักกาวเหนยี ว 2. ใช้เชื้อราเมตาไรเซียม หรือสารสะเดาบดหว่านในแปลง กอ่ นปลกู ประมาณ 2 สปั ดาหเ์ พือ่ ท�ำลายตัวอ่อนในดนิ 3. ท�ำลายแหล่งขยายพันธุ์ของเต่าแตง เมื่อเก็บเกี่ยว ผลผลติ แลว้ เก็บและเผาท�ำลายตน้ แตงท้งิ 4. พ่นดว้ ยสารกำ� จดั แมลง เชน่ คารโ์ บซัลแฟน คารบ์ ารลิ อตั ราตามคำ� แนะน�ำในฉลาก
เพล้ียไฟ เพล้ยี ไฟ ลักษณะการทำ� ลายใบพริก ชือ่ วิทยาศาสตร์ 29โรค-แมลงศตั รผู ัก และการปอ้ งกนั กำ� จัด Thrips palmi Karny กรมสง่ เสริมการเกษตร รูปร่างลกั ษณะ เป็นแมลงขนาดเลก็ ล�ำตวั ยาวประมาณ 2 มิลลเิ มตร ล�ำตวั มสี เี หลืองจนถงึ สนี �้ำตาลเข้ม พชื อาหาร มะเขือ พริก พืชตระกลู แตง หอม มันฝร่งั ฯลฯ
ลกั ษณะการทำ� ลาย เพลี้ยไฟมีหลายชนิด ชนิดที่พบมากคือเพล้ียไฟพริก ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะดูดกินน�้ำเลี้ยง จากยอดและใบออ่ น ท�ำใหใ้ บหงกิ ลกั ษณะการท�ำลายในพริกพบใบออ่ นแตกเป็นกระจกุ ยอดหงิก ใบเรียวยาว โค้งงอ ติดดอกและออกผลลดลง หากทำ� ลายในระยะดอกท�ำให้ดอกร่วง และยังเป็น แมลงพาหะน�ำโรคทำ� ใหเ้ กิดเชื้อไวรัส ในพริกและมะเขอื และพืชตระกลู แตง ฯลฯ การปอ้ งกนั และกำ� จัด 1. พ่นด้วยเช้ือราบิวเวอเรีย อัตรา 1 กิโลกรัม ต่อน�้ำ 20 ลิตร ในช่วงเย็นให้ถูกตัวเพล้ียไฟ 30โรค-แมลงศัตรผู กั และการป้องกันก�ำจดั หรอื บรเิ วณท่เี พลย้ี ไฟเกาะอยมู่ ากท่ีสดุ กรมส่งเสรมิ การเกษตร 2. พ่นด้วยสารก�ำจัดแมลง เช่น ฟิโปรนิล อิมิดาโคลพรดิ คาร์โบซลั แฟน ฟลูเฟนนอกซรู อน อิมาเม็กติน เบนโซเอต อัตราตามค�ำแนะน�ำ ในฉลาก
เพล้ยี แปง้ ตวั ออ่ น ตวั เตม็ วยั ช่อื วทิ ยาศาสตร์ 31โรค-แมลงศัตรผู ัก และการป้องกันก�ำจัด Pseudococcus sp. กรมส่งเสริมการเกษตร รูปรา่ งลกั ษณะ รปู รา่ งเปน็ รูปไข่ ค่อนไปทางทรงกลม ลำ� ตัวอ่อนนมุ่ มไี ขแปง้ ปกคลุมล�ำตัว และเสน้ แปง้ อยู่รอบล�ำตัว พชื อาหาร มะเขอื พริก กระเจยี๊ บเขียว
ลกั ษณะการท�ำลาย ดูดกินน้�ำเลี้ยงจากส่วนต่างๆ ของพืช โดย เฉพาะยอด ใบอ่อน ซึง่ จะทำ� ให้ ยอด และใบอ่อน หงิกแห้ง ถ้าระบาดรุนแรงในพืชผักขนาดเล็ก ทำ� ให้แห้งตายได้ การปอ้ งกนั และกำ� จดั 1. ปล่อยแมลงช้างปีกใส ในระยะไข่ท่ี ใบทถ่ี กู ท�ำลาย ใกล้ฟกั หรอื ระยะตัวอ่อน อัตรา 100 ตวั ต่อไร่ หากพบการระบาดรุนแรงปล่อยอัตรา 1,000 ตัวต่อไร่ และควรปล่อย ในช่วงเช้าหรอื ชว่ งเย็น 2. พน่ ด้วยเช้ือราบิวเวอเรยี อตั รา 1 กโิ ลกรัม ตอ่ น้�ำ 20 ลติ ร ในช่วงเย็น ใหถ้ ูกตัวเพล้ยี แป้ง หรอื บริเวณที่เพลี้ยแปง้ เกาะอยู่มากทีส่ ดุ 3. พ่นสารกำ� จดั แมลง ไทอะมิโทแซม อัตราตามค�ำแนะนำ� ในฉลาก 32โรค-แมลงศตั รูผกั และการป้องกันก�ำจดั กรมส่งเสรมิ การเกษตร
เพลยี้ ออ่ น เพลีย้ อ่อนในพรกิ เพลีย้ ออ่ นในถว่ั ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ 33โรค-แมลงศตั รูผัก และการปอ้ งกนั กำ� จัด Aphis gossypii Glover. กรมส่งเสรมิ การเกษตร รปู ร่างลกั ษณะ เพล้ียอ่อนเป็นแมลงขนาดเล็ก ล�ำตัวอ่อนนุ่ม มที ้ังชนิดมปี ีกและไมม่ ีปีก ล�ำตัวยาวประมาณ 1.5 - 3.5 มิลลิเมตร ส่วนหัว อก ท้องไม่สามารถแยกออก จากกันชัดเจนส่วนท้องจะกว้างกว่าส่วนหัว ปลาย ส่วนท้องจะมีท่อเล็กๆ ย่ืนออกมา 2 ท่อ สีแตกต่างกัน แล้วแต่ชนิดและพืชอาหาร เช่น เพล้ียอ่อนในพริก มสี ีเหลอื งอมเขียว เพลยี้ อ่อนทพี่ บในถั่วมสี ดี ำ�
พืชอาหาร มะเขือ พริก พชื ตระกลู แตง พืชตระกลู กะหล�ำ่ พชื ตระกูลถว่ั ฯลฯ ลกั ษณะการท�ำลาย ดูดกินน�้ำเลี้ยงจาก ยอดอ่อน ดอก และฝัก ท�ำให้หงิกงอ ดอกร่วง ไม่ติดฝัก และ ยังเป็นพาหะนำ� โรคไวรัสซ่ึงเป็นสาเหตขุ องโรคพชื เชน่ โรคใบดา่ งในพืชตระกูลแตงและพรกิ การปอ้ งกนั และกำ� จดั 1. พ่นสารสะเดา อัตราเมล็ดสะเดาบด 1 กิโลกรัมต่อน�้ำ 20 ลิตร หมักทิ้งไว้ 20 ชว่ั โมง กรองเอากากออก แลว้ น�ำส่วนของนำ�้ ไปพ่น 2. พ่นด้วยเชื้อราบิวเวอเรีย อัตรา 1 กิโลกรัมต่อน�้ำ 20 ลิตร ในช่วงเย็นให้ถูก ตวั เพล้ียออ่ น หรือบรเิ วณที่เพล้ียออ่ นเกาะอยมู่ ากท่สี ดุ 3. พ่นด้วยสารก�ำจัดแมลง เช่น ฟิโปรนิล อิมิดาโคลพริด คาร์บาริล คาร์โบซัลแฟน อัตราตามค�ำแนะนำ� ในฉลาก 34โรค-แมลงศตั รผู กั และการปอ้ งกันก�ำจัด กรมสง่ เสริมการเกษตร
แมลงวนั ผลไม้ ตัวอ่อน ตัวเต็มวัย ช่ือวิทยาศาสตร์ 35โรค-แมลงศตั รผู กั และการป้องกันก�ำจัด BBaaccttrroocceerraa cdoorrrseacltisaHBeenzdzie.l. กรมส่งเสรมิ การเกษตร รปู ร่างลกั ษณะ ตัวเต็มวัยมีสีน้�ำตาล มีแถบสีเหลืองท่ีส่วนอก ปีกบางใส สะทอ้ นแสง ระยะหนอนมีสขี าว แต่อาจมสี ีใกล้เคยี งกบั พืชท่อี าศยั รูปร่างกลมยาวรี หัวแหลมท้ายป้านไม่มีขา ส่วนหัวเป็นตะขอแข็ง สีดำ� ดักแด้รูปรา่ งกลมรคี ลา้ ยถังเบยี ร์ ลำ� ตัวเปน็ ปล้องๆ สีน้ำ� ตาล ออ่ นและเข้มขึ้นเรือ่ ยๆ พืชอาหาร ผลไม้ต่างๆ มะเขือ มะเขือเทศ พริก พืชตระกูลกะหล่�ำ พชื ตระกูลถ่ัว กระเจีย๊ บเขยี ว ฯลฯ
ลักษณะการทำ� ลาย ทำ� ลายพืชผกั ประเภทรับประทานผล ผลไมต้ ่างๆ โดยแมลงวันผลไม้เพศเมีย จะวางไข่ในผล เมื่อหนอนฟักออกจากไข่จะเข้าไปกัดกินอยู่ภายในผล ท�ำให้ผลเน่า และหลดุ ร่วง การป้องกันและก�ำจัด 1. รักษาแปลงปลูกให้สะอาด เก็บผลที่เน่าเสียใส่ถุงปิดปากให้สนิท ตากแดด จนหนอนแห้งตาย หรอื ขุดหลมุ ฝัง 2. ห่อผลด้วยกระดาษหนังสือพิมพ์ หรือถุงพลาสติก เช่น มะระ บวบ ลกั ษณะการทำ� ลาย ผลไม้ ฯลฯ 3. ใชส้ ารลอ่ แมลงวันผลไม้ตามชนดิ ของแมลง 3.1 เมทธลิ ยจู นิ อล (Methyl Eugenol) ใชล้ ่อแมลงวันทอง (Bactrocera dorsalis) 3.2 คิวลวั ร์ (Cue – Lure) ใช้ลอ่ แมลงวนั แตง (Bactrocera cucurbitae) 4. ปลอ่ ยแตนเบียนหนอนแมลงวนั ผลไม้ 5. พน่ สารก�ำจดั แมลงทเ่ี ปน็ ตวั เตม็ วัย เช่น คลอร์ไพรฟิ อส อตั ราตามคำ� แนะนำ� ในฉลาก 36โรค-แมลงศตั รผู กั และการป้องกันกำ� จัด กรมส่งเสริมการเกษตร
แมลงหวขี่ าว ตัวอ่อน ตวั เต็มวยั ชื่อวทิ ยาศาสตร์ 37โรค-แมลงศตั รผู กั และการปอ้ งกันก�ำจดั Bemisia tabaci Gennadius. กรมสง่ เสรมิ การเกษตร รูปร่างลักษณะ แมลงหวี่ขาวเป็นแมลงขนาดเล็ก ตัวอ่อนมีล�ำตัว แบนใส ตัวอ่อนวัยแรกมีสีเหลืองเคลื่อนท่ีได้ดี ตัวอ่อน วัยถัดมาจะเกาะติดอยู่ใต้ใบพืช ตัวเต็มวัยลำ� ตัวยาวประมาณ 1 - 2 มิลลิเมตรมปี กี สีขาวและมผี งแป้งปกคลุม พชื อาหาร มะเขือ พริก พืชตระกูลกะหล�่ำ พืชตระกูลถั่ว กระเจยี๊ บเขยี ว ฯลฯ
ลกั ษณะการท�ำลาย ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ดูดกินน้�ำเล้ียงบริเวณใต้ใบท�ำให้ใบหงิกงอ เห่ียวแห้ง ต้นแคระแกร็น และยังเป็นแมลงพาหะนำ� โรคไวรัสในพชื บางชนิด เช่น มะเขือ พรกิ และกระเจีย๊ บเขยี ว การปอ้ งกันและกำ� จัด 1. ปลอ่ ยแมลงชา้ งปีกใส ในระยะไข่ทีใ่ กล้ฟัก หรือระยะตวั ออ่ น อัตรา 100 ตัวตอ่ ไร่ หรอื ถ้าระบาดรุนแรงปล่อยแมลงช้างปีกใส อัตรา 1,000 ตัวต่อไร่ และควรปล่อยในช่วงเช้า หรอื ชว่ งเย็น 2. พ่นด้วยเชื้อราบิวเวอเรีย อัตรา 1 กิโลกรัมต่อน้�ำ 20 ลิตร ในช่วงเย็นให้ถูกตัว แมลงหว่ีขาว หรือบรเิ วณทแี่ มลงหวข่ี าวเกาะอยมู่ ากท่สี ุด 3. พ่นน�้ำมันปิโตรเลียมออยส์ เพ่ือให้แมลงหวี่ขาวขาดอากาศหายใจ เน่ืองจากน�้ำมัน จะเข้าไปอดุ ชอ่ งทางเดินหายใจ และทำ� ใหไ้ ขไ่ ม่สามารถฟกั เปน็ ตวั ได้ 4. พ่นด้วยสารก�ำจัดแมลง เช่น ฟิโปรนิล อิมิดาโคลพริด คาร์โบซัลแฟน เฟนโพรพาทริน ไบเฟนทรนิ ไซเปอร์เมทรนิ อตั ราตามค�ำแนะน�ำในฉลาก 38โรค-แมลงศัตรผู ัก และการปอ้ งกนั กำ� จัด กรมส่งเสรมิ การเกษตร
ไรขาวพริก ลกั ษณะการท�ำลาย 39โรค-แมลงศัตรูผกั และการป้องกันกำ� จัด ช่ือวทิ ยาศาสตร์ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร Polyphagotarsonemus latus Banks รปู ร่างลกั ษณะ ตัวเต็มวัยของไรขาวเพศเมียสามารถวางไข่ได้ ประมาณ 25 ฟอง ระยะไขใ่ ชเ้ วลาประมาณ 28 ช่วั โมง จึงฟักออกเป็นตัวอ่อน ตัวอ่อนมีลักษณะกลม ล�ำตัว สีขาวใส สะท้อนแสง ระยะตัวอ่อนจะใช้เวลาประมาณ 1 - 2 วนั จงึ เจรญิ เปน็ ตวั เตม็ วยั พชื อาหาร พริก
ลกั ษณะการท�ำลาย ดูดกินน�้ำเลี้ยงใบอ่อน ยอดอ่อน ท�ำให้ใบอ่อนของพริกหงิกงอ ขอบใบม้วนงอลง ด้านล่างใบมีลักษณะเรียวแหลม ก้านใบยาวเปราะหักง่าย ใบเหลืองต้นทรุดโทรมเร็วกว่าปกติ และดอกรว่ ง การป้องกันและก�ำจดั 1. ควรหม่ันส�ำรวจแปลง หากพบไรขาวบนใบอ่อนประมาณ 5 - 10 ตัวขึ้นไป ให้รีบ ทำ� การปอ้ งกันและกำ� จดั 2. พ่นด้วยก�ำมะถันผงชนิดละลายน้�ำ ไม่ควรใช้ในขณะที่มีแสงแดดจัด และ หา้ มผสมสารเคมีชนดิ อ่ืน 3. พน่ ดว้ ยสารก�ำจดั แมลง เชน่ คลอไรเบนซิลเลท อะบาเมก็ ตนิ อัตราตามค�ำแนะนำ� ในฉลาก 40โรค-แมลงศัตรผู กั และการปอ้ งกันกำ� จดั กรมส่งเสรมิ การเกษตร
หนอนกระทูด้ ำ� หนอนกระทดู้ ำ� 41โรค-แมลงศัตรูผัก และการปอ้ งกันกำ� จัด ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ กรมส่งเสริมการเกษตร Agrotis ipsilon Hufnagel รปู ร่างลกั ษณะ ตัวหนอนจะมองเห็นด้านหลังเป็นสีด�ำหัวโต ขนาดเท่ากับหนอนกระทู้ผัก ยาวประมาณ 4 - 5 เซนติเมตรหนอนโตเต็มที่จะเข้าดักแด้โดยใช้ดินท�ำรัง ระยะดักแด้ประมาณ 10-16 วันจึงฟักเป็นตัวเต็มวัย ตัวเต็มวัยเป็นผีเส้ือกลางคืนปีกคู่หน้าสีเทาด�ำมีจุด ขาวเล็ก ๆ กระจายอยู่ที่ปลายปีก ส่วนปีกคู่หลัง สีจางกว่าคู่หน้า ผีเสื้อเพศเมียหน่ึงตัววางไข่ได้ประมาณ
700 - 800 ฟอง ไข่สีเหลืองอ่อน รูปร่างกลมแบน ถ้ามองด้วยกล้องขยายจะเห็นเป็นว่า มกี ลบี (Ridges) คลา้ ยผลมะเฟือง อายุไข่ 4-5 วนั ระยะหนอน 28-35 วนั พืชอาหาร ถ่ัวเหลอื ง พชื ตระกูลถ่ัว ข้าวโพด มะเขือเทศ มนั ฝร่งั และผกั ชนดิ ตา่ ง ๆ ลักษณะการทำ� ลาย ตัวอ่อนหนอนจะกัดกินใบพืชกลางวันจะหลบซ่อนตัวตามรอยแตกระแหงของดิน ใต้ใบพืช หรือตามกองขยะและจะออกหากินในเวลากลางคืนโดยจะกัดต้นกล้าอายุ 30-40 วันท�ำให้ผลผลิตเสียหายบางครั้งจะสังเกตเห็นหนอนลากเอาต้นกล้าที่กัดเหล่าน้ัน ลงไปในทีห่ ลบซอ่ นดว้ ย การปอ้ งกนั และก�ำจัด พ่นด้วยสารก�ำจัดแมลง เช่น ไตรอะโซฟอส เมทโธมิล คลอไพรีฟอส อัตราตาม คำ� แนะนำ� ในฉลาก 42โรค-แมลงศัตรผู ัก และการปอ้ งกันก�ำจัด กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
หนอนกระทู้ผัก ตัวหนอน จุดสีด�ำบริเวณปลอ้ งท่ี 3 ชื่อวิทยาศาสตร์ 43โรค-แมลงศตั รผู ัก และการปอ้ งกนั กำ� จัด Spodoptera litura กรมส่งเสรมิ การเกษตร รปู ร่างลักษณะ เป็นหนอนท่ีมีขนาดใหญ่ล�ำตัวอ้วนป้อม มีจุด สีด�ำขนาดใหญ่ บริเวณปล้องท่ี 3 ตัวเต็มวัยเป็นผีเส้ือ กลางคืน ปีกคู่หน้ามีลวดลายสีน�้ำตาลด�ำ ปีกคู่หลัง สขี าว วางไขเ่ ป็นกลุ่มปกคลมุ ดว้ ยขนสีฟางข้าว พชื อาหาร ถ่ัวลันเตา ถ่ัวฝักยาว หน่อไม้ฝรั่ง กระเจ๊ียบเขียว พรกิ มะเขอื มะเขอื เทศ ฯลฯ
ลักษณะการทำ� ลาย ตัวหนอนที่ฟักออกจากไข่จะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม แทะกินใบจนเป็นรูพรุน หนอนที่โต จะกัดกินท้งั ใบ ดอก ฝกั และผล การป้องกนั และก�ำจดั 1. เกบ็ กลมุ่ ไขแ่ ละตัวหนอนทำ� ลายทง้ิ 2. พ่นดว้ ยเชือ้ บีที อตั ราตามค�ำแนะน�ำในฉลาก 3. พน่ ด้วยสารสกดั สะเดา อัตราเมล็ดสะเดาบด 1 กโิ ลกรมั ต่อน�้ำ 20 ลิตร หมกั ทง้ิ ไว้ 24 ชว่ั โมง กรองเอากากออกนำ� สารสกัดท่ีได้ไปพ่น 4. พ่นด้วยสารก�ำจัดแมลง สปินโนแซด แลมด์ดาไซฮาโลทริน ฟิโปรนิล อิมาเม็กติน เบนโซแอต คลอรฟ์ นิ าเพอร์ ลเู ฟนนูรอน อัตราตามค�ำแนะน�ำในฉลาก 44โรค-แมลงศตั รูผกั และการปอ้ งกันกำ� จดั กรมสง่ เสริมการเกษตร
หนอนกระทู้หอม ตวั หนอน ตัวเต็มวยั ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ 45โรค-แมลงศัตรผู กั และการปอ้ งกันก�ำจดั Spodoptera exigua Hubner กรมส่งเสรมิ การเกษตร รปู ร่างลกั ษณะ เป็นหนอนท่ีมีหลายสี ส่วนใหญ่มีสีเขียวอ่อน ด้านข้างมีแถบสีเหลืองอ่อนพาดตามความยาวล�ำตัว ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืน วางไข่เป็นกลุ่มปกคลุม ด้วยขนสนี ำ้� ตาลอ่อน พชื อาหาร ห อ ม พื ช ต ร ะ กู ล ก ะ ห ล่� ำ พื ช ต ร ะ กู ล ถั่ ว กระเจ๊ยี บเขียว พริก มะเขือ มะเขือเทศ ฯลฯ
ลักษณะการทำ� ลาย กัดกนิ ใบผัก ตัวหนอนกัดกินใบ ยอดอ่อนดอก ฝัก และผล ส�ำหรับ ท�ำลายในหอม การท�ำลายต้นหอมหนอนจะเจาะเข้าไปกินในหลอดหอมจนเหลือ 46โรค-แมลงศัตรูผกั และการปอ้ งกันกำ� จัด แต่ผิวใบบางๆ สีขาว ทำ� ใหย้ อดเหย่ี วแหง้ กรมสง่ เสริมการเกษตร การปอ้ งกันและกำ� จดั 1. เก็บกล่มุ ไขแ่ ละตวั หนอนท�ำลายทิ้ง 2. พน่ ด้วยเชอ้ื บที ี อตั ราตามคำ� แนะน�ำในฉลาก 3. พน่ ดว้ ยสารสกัดสะเดา อัตราเมล็ดสะเดาบด 1 กโิ ลกรมั ต่อน้ำ� 20 ลิตร หมักทิง้ ไว้ 24 ชัว่ โมง กรองเอากากออก น�ำสารสกัดที่ไดไ้ ปพ่น 4. พ่นด้วยสารก�ำจัดแมลง เช่น ไตรฟลูมูซอน คลอร์ฟลูอาซูรอน เทบูฟีโนไซต์ คลอร์ฟีนาเพอร์ ไดฟลเู บนซรู อน อตั ราตามค�ำแนะนำ� ในฉลาก
หนอนเจาะฝกั ถว่ั หนอนเจาะฝกั ถัว่ 47โรค-แมลงศัตรผู กั และการป้องกันก�ำจัด ช่อื วทิ ยาศาสตร์ กรมส่งเสรมิ การเกษตร Etiella zinckenella Treitschke รูปรา่ งลกั ษณะ ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก กางปีกเต็มท่ีวัดได้ 2-5 เซนติเมตรปีกคู่หน้าสีน�้ำตาลด�ำ ตรงกลางปีกมีแถบใส ขนาดยาวประมาณ 2 เซนตเิ มตร ขา้ งละแถบปีกคูห่ ลังเปน็ แผน่ ใส มากกว่าปีกคู่หน้า วางไข่เป็นฟองเด่ียวหรือซ้อนกัน 2-3 ฟอง ตามกลีบดอก ลักษณะของไข่เป็นเกล็ดขาวขนาดเล็กประมาณ 0.5-0.8 มิลลิเมตรมองด้วยตาเปล่าเห็นได้ค่อนข้างยาก ระยะ ฟักไข่ประมาณ 3 วันหนอนเม่อื ฟักออกจากไข่แลว้ จะแทรกตวั เข้าไประหว่างรอยตอ่ ของกลีบดอกและเขา้ ไปอาศยั กินเกสร
พชื อาหาร พชื ตระกลู ถ่ัว ลกั ษณะการทำ� ลาย หนอนชนิดน้ีเมื่อฟักออกจากไข่จะเจาะเข้าไปกัดกินภายในดอกอ่อนต่อมาจะกัดส่วน ของดอกและเกสรท�ำให้ดอกร่วง เมื่อโตข้ึน หนอนจะเจาะเข้าไปกัดกินภายในฝัก ส่วนที่เป็น เมลด็ ออ่ นทำ� ใหฝ้ ักและเมล็ดลีบ ผลผลติ ลดลง การป้องกันและกำ� จดั 1. ก่อนปลูกพืชประมาณ 2 สัปดาห์ ควรท�ำการไถพรวนและตากดินเพื่อก�ำจัดดักแด้ของ แมลงศัตรพู ชื 2. ใช้การควบคุมศัตรูพชื โดยชีววิธี เช่น การใช้ไส้เดือนฝอย Steinernema ผสมสารจับใบ อัตราตามค�ำแนะน�ำในฉลาก 3. พน่ ด้วยสารกำ� จดั แมลง เช่น เพอร์เมทริน ไซเพอรเ์ มทริน เดลทาเมทริน เบตาไซฟลทู ริน อัตราตามคำ� แนะนำ� ในฉลาก 48โรค-แมลงศัตรูผกั และการป้องกนั กำ� จดั กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
Search