Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การแพทย์ดั้งเดิมเมียนมา (พม่า) กับพระพุทธศาสนา

การแพทย์ดั้งเดิมเมียนมา (พม่า) กับพระพุทธศาสนา

Description: การแพทย์ดั้งเดิมเมียนมา (พม่า) กับพระพุทธศาสนา.

Search

Read the Text Version

50 สาธารณสุขได้ท�ำการทบทวนและปรับปรุงกฎหมายคณะกรรมการของ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ บบดง้ั เดมิ ของพมา่ ฉบบั แกไ้ ข พรอ้ มกบั เปลย่ี น ชอื่ เป็น กฎหมายสภาการแพทยแ์ บบดง้ั เดิมซง่ึ รอผ่านการอนมุ ตั ิจากรัฐบาล (ขอ้ มลู ค.ศ. 2001)76 การศกึ ษาและการฝกึ หัด กระทรวงสาธารณสขุ ของพมา่ ไดก้ อ่ ตงั้ สถาบนั การศกึ ษาทร่ี จู้ กั กนั ในชอื่ สถาบนั เพอ่ื การศกึ ษาการแพทยแ์ บบดง้ั เดมิ (Institute of Indigenous Medicine) เมอ่ื ค.ศ. 1976 มหี ลกั สตู รการศกึ ษาระยะเวลา 3 ปี และฝกึ งาน อกี 1 ปี ทางสถาบนั ฯ ยงั ดแู ลหลกั สตู รอบรมหนงึ่ ปใี นเรอื่ ง “การสาธารณสขุ มลู ฐานสำ� หรบั ผปู้ ระกอบวชิ าชพี แพทยแ์ บบดงั้ เดมิ ” ทยี่ งั ไมม่ ปี ระกาศนยี บตั ร หรอื ใบอนุญาตในการรกั ษาผูป้ ่วย ผู้ทีจ่ บการศกึ ษาในหลักสตู รน้จี ะไดร้ ับใบ อนญุ าตให้ทำ� การรกั ษาแบบด้ังเดมิ ได้77 การยอมรับการแพทยแ์ บบดั้งเดิมของพมา่ เข้ามาในระบบบรกิ ารสุขภาพแบบเปน็ ทางการ การแพทย์แบบดั้งเดิมของพม่าถูกผนวกเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งใน ระบบบริการสุขภาพอย่างเป็นทางการใน ค.ศ. 1972 โดยตอนเริ่มต้นมี สถานะเป็นแผนกหนึ่งภายใต้กรมการสุขภาพของพม่า โดยรองอธิบดีท่าน หน่ึงที่มหี นา้ ที่ในการพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพภายใต้การใหค้ ำ� แนะนำ� เชิง เทคนคิ จากสภาการแพทยแ์ ผนดง้ั เดมิ แหง่ รฐั และกลายเปน็ ศนู ยก์ ลางสำ� คญั ของความเคลือ่ นไหว ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การรักษาแบบด้ังเดิมในพมา่ หน่วยงาน 76 Ibid. 77 Ibid.

51 นี้ได้กอ่ ตง้ั สถาบันการแพทยแ์ บบดัง้ เดมิ ขน้ึ ที่เมอื งมัณฑะเลย์ พรอ้ มกบั สรา้ ง โรงพยาบาลส�ำหรับฝึกสอนขนาด 25 เตียง และโรงพยาบาลน�ำร่องเพ่ือ การวิจัยขนาด 16 เตียง ขึน้ ที่เมอื งย่างกุ้ง ตอ่ มามีการเปิดคลินคิ รกั ษาผูป้ ่วย เพื่อให้บริการการแพทย์แบบดั้งเดิมต่อประชาชนซึ่งมีจ�ำนวน 110 แห่งใน ค.ศ. 1988 การไดร้ บั ความนยิ มอยา่ งมากจากชมุ ชนทำ� ใหร้ ฐั บาลตดั สนิ ใจยก สถานะของแผนกน้ีข้ึนเป็น กรมการแพทย์แบบดั้งเดิมของพม่า เมื่อเดือน สิงหาคม ค.ศ. 1989 (พ.ศ. 2532) โครงสร้างการบริหารงานขององค์กรที่ จัดตงั้ ใหม่นีป้ ระกอบด้วย อธิบดี 1 คน รองอธิบดี 2 คน ผ้อู ำ� นวยการ 4 คน รองและผูช้ ว่ ยอธิบดี มีแผนกท้งั หมด 10 แผนกอยู่ในกรมน้ี หน้าทโี่ ดยหลัก คือ การพัฒนากิจกรรมต่างๆ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ในด้านต่างๆ เช่น การเรียนการสอน การวิจัย การผลิตยา การดูแลด้านงบประมาณและ การรักษา กรมน้มี ีการพัฒนาเติบโตมากขนึ้ ทุกป7ี 8 พนั ธกิจของกรมการแพทย์แบบดงั้ เดมิ ของพม่า 1. เพ่ือพัฒนาการแพทย์แบบด้ังเดิมของพม่าให้ขยายไปสู่ ประชาชนในระดบั รากหญา้ ในพน้ื ทตี่ า่ งๆ ลดความเหลอ่ื มลำ้� ระหวา่ งเขตเมอื ง และชนบท 2. ท�ำหน้าที่เป็นส่วนเสริมของระบบบริการสุขภาพของประเทศ โดยรว่ มมอื อยา่ งใกลช้ ดิ กบั แผนงานทางการแพทยแ์ ละแผนงานระบบบรกิ าร ปฐมภูมขิ องกรมสขุ ภาพ 3. เพอ่ื พฒั นาแหลง่ ทรพั ยากรตา่ งๆ ทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ ระบบการแพทย์ แบบดั้งเดิม 78 U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief introduction to Traditional Burmese Medicine, p. 30.

52 4. เพอื่ ทำ� การกำ� กบั ดแู ลอยา่ งเปน็ ระบบในการผลติ ยาแผนดง้ั เดมิ การให้บริการ และการเรยี นการสอน 5. เพอ่ื พฒั นาการแพทยแ์ บบดงั้ เดมิ ของพมา่ ใหไ้ ดร้ บั การยอมรบั จากสงั คมนานาชาต7ิ 9 การควบคมุ ก�ำกับผู้ให้บรกิ ารดา้ นการแพทยแ์ บบดั้งเดมิ ของพม่า การเข้ามาเป็นแพทย์แบบดั้งเดิมของพม่าได้น้ัน บุคคลต้องผ่าน เงอื่ นไขตา่ งๆ ของกรมการแพทยแ์ บบด้ังเดมิ ของพม่า กระทรวงการสขุ ภาพ ได้แก่ 1. ตอ้ งสำ� เรจ็ การศกึ ษาจากสถาบนั การแพทยแ์ บบดงั้ เดมิ ของพมา่ หรอื ส�ำเรจ็ การศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลัยการแพทย์แบบด้งั เดมิ ของพมา่ 2. ผ่านการฝึกอบรมเพื่อเป็นแพทย์แบบดั้งเดิมของพม่า โดย กรมการแพทย์แบบดง้ั เดมิ ของพมา่ กระทรวงการสุขภาพ เปน็ เวลา 1 ปี 3. ผ่านการสอบวัดผลท่ีจัดโดยคณะกรรมการผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แบบดัง้ เดมิ ของกรมการแพทย์แบบดง้ั เดิม กระทรวงการสขุ ภาพ ปัจจุบันหนทางที่จะเป็นแพทย์แบบดั้งเดิมของพม่าได้เหลือเพียง หนทางเดียว คือตอ้ งสำ� เรจ็ การศกึ ษาจามหาวิทยาลัยการแพทย์แบบด้งั เดมิ ของพม่า หากบคุ คลใดผา่ นเง่อื นไขท่กี ล่าวมาท้งั หมดน้ี บุคคลน้ันก็สามารถ จะสมคั รเขา้ ไปทสี่ ภาฯ เพอ่ื ขน้ึ ทะเบยี นเปน็ แพทยแ์ บบดงั้ เดมิ บคุ คลทส่ี ำ� เรจ็ การศึกษาจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการแพทย์แบบดั้งเดิมของพม่า สามารถสมคั รเขา้ ทำ� งานกบั กรมการแพทยแ์ บบดงั้ เดมิ กระทรวงการสขุ ภาพ 79 Ibid.

53 บคุ คลใดท่มี ีเพียงประกาศนียบัตรสองระดบั ไมส่ ามารถเขา้ ท�ำงานกบั รัฐบาล ได้ แตส่ ามารถทำ� งานในสถานบรกิ ารเอกชนได8้ 0 หน้าทแ่ี ละการขึน้ ทะเบียนของผปู้ ระกอบวิชาชีพการแพทยแ์ บบดัง้ เดมิ ของพม่า ผปู้ ระกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ บบด้งั เดิมในพมา่ พงึ ปฏิบตั ดิ ังนี้ 1. ต้องยึดถือตาม กฎระเบียบ ขั้นตอนด�ำเนินการ ค�ำส่ัง และ แนวทางปฏิบัตทิ ีอ่ อกมาโดยรฐั มนตรกี ระทรวงการสุขภาพ 2. ตอ้ งยึดถอื และปฏบิ ัตติ ามกฎและระเบยี บต่างๆ ทอี่ อกมาโดย สภาวชิ าชพี 3. จ่ายค่าธรรมเนียมประจำ� ปที ่สี ภาฯ ประกาศตามก�ำหนดเวลา ผปู้ ระกอบวชิ าชีพแพทย์แบบด้ังเดิมของพม่ามสี ิทธิดงั น้ี 1. ไดร้ บั การแตง่ ตง้ั ใหท้ ำ� หนา้ ท่ี หรอื ไดร้ บั การเลอื กตงั้ และมสี ทิ ธิ เลอื กตัง้ สมาชิกสภาวชิ าชพี 2. ประกอบอาชีพทางการแพทยแ์ บบดั้งเดิม 3. เสนอข้อแนะน�ำให้ทางสภาฯ 4. สามารถย่นื คำ� รอ้ งทกุ ข์ให้กบั สภาวชิ าชพี ได้81 80 U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief introduction to Traditional Burmese Medicine, p. 30-31. 81 Ibid., p. 31.

54 เอกสารอา้ งองิ ภาษาไทย ดี.จี.อี ฮอลล์, ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้: สุวรรณภูมิ-อุษาค เนย์ภาคพิสดาร. ท่านผู้หญิงวรุณยุพา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ คนอ่ืนๆ แปล, ชาญวิทย์ เกษตรศิริ บรรณาธิการ พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการต�ำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2557. เทพินทร์ พัชรานุรักษ์, “การพัฒนาการแพทย์พ้ืนบ้านพม่า: มาตรฐานการ รักษาโรคและโอกาสของคนจน.” ใน วัฒนธรรมสุขภาพในสังคม อาเซียน. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ เทพินทร์ พัชรานุกรักษ์ และ ปารณัฐ สุขสุทธิ์, บรรณาธิการ นนทบุรี: ส�ำนักวิจัยสังคมและ สุขภาพ, 2558. มนต์ เมืองใต.้ “วทิ ยาธร และ คนธรรพ”์ . สามทหาร 1 11 (ตุลาคม 2505): 47-52. หม่อง ทินอ่อง, ประวัติศาสตร์พม่า. เพ็ชรี สุมิตร แปล, พิมพ์ครั้งท่ี 3 กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการต�ำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์: มลู นิธโิ ตโยตา้ ประเทศไทย, 2551 แอนโทนี รีด, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในยุคการค้า ค.ศ. 1450-1680, พงษศ์ รี เลขะวฒั นะ, แปล ทา่ นผหู้ ญงิ วรณุ ยพุ า สนทิ วงศ์ ณ อยธุ ยา, พรรณงาม เง่าธรรมสาร บรรณาธิการ เชียงใหม่: ซิลค์เวอร์ม, 2548.

55 ภาษาองั กฤษ Bischoff, Roger. Buddhism in Myanmar, Kandy: Buddhist Publication Society, 1995. Charney, Michael W.. A history of modern Burma. Cambridge: Cambridge University Press, 2009. Coderey, CélineCoping with health-related uncertainties and risks in Rakhine (Myanmar). Health, Risk & Society, 17: 3-4,: 263-284. . The Healing Power of the Gift Healing Services and Remuneration in Rakhine (Western Myanmar) in Religion Compass 9 11 (2015): 404-422. . The Weikza ‘s Role in Arakanese Healing Practices. Journal of Burma Studies,16 2, (December 2012): 181-211. Crosby, Kate. The Other Burmese Buddhism. in Bénédicte Brac de la Perriere Guillaume Rozenberg and Alicia Turner (eds). Champions of Buddhism: Weikza cults in contemporary Burma. Singapore: Nus Press, 2014. Jerryson, Michael K. The Oxford Handbook of Contemporary Buddhism. (New York: Oxford UniversityPress, 2017. Lopez Jr., Daniel S. The Modern Buddhist Bible: essential readings from East and West Boston: Beacon, 2002.

56 Parkes. E. A. On the State of Medicine among the Burmese. London Journal of Medicine, 3, 29 (May, 1851): 407-416. Traditional Medicine in Union of Myanmar. [Online].: 72. Available from: http://www.searo.who.int/entity/ medicines/topics/traditional_medicine_in_union_of_ yanmar.pdf [28 September 2017]. U Win Ko, A Drop of rain in asia : a brief introduction to traditional burmese medicine., n.p.: Lulu Com, 2013. World Health Organization. Legal Status of Traditional Medicine and Complementary/Alternative Medicine: A Worldwide Review. n.p.: World Health Organization, 2001.

ภาคผนวก

58 ภาคผนวก รายละเอียดเบ้อื งตน้ เกีย่ วกับระบบการแพทยด์ งั้ เดมิ ของพม่า การแพทย์ดั้งเดมิ ของพมา่ 4 ระบบ (nayas) ระบบการแพทย์แบบดง้ั เดิมของพม่าอาจประมวลอยู่ใน 4 ระบบ หลักๆ โดยสองระบบแรกที่เป็นระบบที่มีมาแต่โบราณคือ Beithzzanaya (อายรุ เวท) Weizzadharnanaya (การเลน่ แรแ่ ปรธาตแุ ละพลงั อำ� นาจเหนอื ธรรมชาติหรือวิชาธร) Netknattananaya (นักขัตหรือการแพทย์แบบ โหราศาสตร์) และระบบการแพทยร์ ะบบใหญท่ ีส่ ุด คอื Desanaya (ระบบ การแพทย์แบบอ้างอิงเน้ือหาในพุทธศาสนา โดยเฉพาะพระอภิธรรมปิฎก) ซง่ึ ถอื กำ� เนดิ ข้นึ ในชว่ งศตวรรษท่ี 18 มาจนถงึ ทุกวนั น8้ี 2 ระบบ Desanaya และธาตทุ ั้ง 5 ระบบนี้มีฐานอยู่บนแนวคิดของพุทธศาสนา โดยเฉพาะท่ีปรากฏ ในพระอภิธรรมปิฎก โดยมีความเชอื่ พนื้ ฐานว่า ร่างกายของเราเปน็ การรวม กนั ของรปู กับ นาม สว่ นท่ีเป็นนามเรยี กรวมๆ กันวา่ นามขันธ์ แบง่ ออกเป็น สีก่ ลมุ่ คอื เวทนาขนั ธ์ สญั ญาขนั ธ์ สงั ขารขนั ธ์ วญิ ญาณขนั ธ์ ในสว่ นของรูป นน้ั กแ็ ยกองคป์ ระกอบออกเปน็ กองธาตตุ า่ งๆ คอื เตโช (ไฟ) ปถวี (ดนิ ) วาโย (ลม) อาโป (น�ำ้ ) และอากาสธาตุ ซ่ึงหมายถึงช่องว่างในรา่ งกายและอวัยวะ ต่างๆ ตอ่ ไปจะแยกย่อยเปน็ อาการของความผดิ ปกตขิ องธาตตุ ่างๆ83 82 Ibid., p. 7 83 Ibid., p. 8.

59 เตโขธาตุ (ไฟ) ธาตุไฟนี้เก่ียวข้องกับเร่ืองความร้อนความเย็น ธาตุไฟมีสอง ลักษณะคือ ร้อน (อุณหเตโช) และเย็น (สีตเตโช) ท�ำหน้าที่เก่ียวข้องกับ การย่อยอาหารและบ�ำรุงรักษาส่วนต่างๆ ของร่างกาย ส่วนของไฟร้อนที่ อณุ หเตโช ได้แก่ อาการกระหาย เหงื่อออกมาก นอนไม่หลบั นอนกระสบั กระสา่ ย เทา้ เยน็ ตวั อนุ่ ผวิ หนงั ออ่ นนมุ่ รา่ งกายเหยี่ ว สว่ นไฟทมี่ ลี กั ษณะเยน็ หรือ (สีตเตโช) จะมีอาการหรือคุณลักษณะที่แสดงออกตรงกันข้ามกับ พวกแรก ในการแพทย์แบบดั้งเดิมของพม่ายังจ�ำแนกลักษณะของไฟต่างๆ ออกเป็นอกี 4 ลกั ษณะ ปริปาจกเตโช (pripachaca tejo) คือ เตโชธาตุที่ท�ำหน้าท่ยี อ่ ย อาหารและใหค้ วามอบอ่นุ รา่ งกาย จะมีท่ตี ัง้ อยบู่ รเิ วณทอ้ งและล�ำไส้ ชริ ณเตโช (jirana tejo) คอื เตโชธาตทุ ด่ี แู ลรกั ษาเซลล์ หากใชม้ าก เกินไปท�ำให้รา่ งกายทรดุ โทรมแก่ลงอย่างรวดเร็ว สนฺตปฺปนเตโช santapapana tejo คือ เตโชธาตุทีมีความร้อน มาก ท�ำเกิดให้เกิดความปวด เมื่อยหรือเป็นไข้ และก่อให้เกิดความรู้สึก แสบรอ้ น ทหนเตโช daha tejo คือ เตโชธาตุท่ีมีความร้อนสูงจัด ท�ำให้ ตวั รอ้ นไข้ขน้ึ สูง84 84 U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief Introduction to Traditional Burmese Medicine., pp. 8-9.

60 วาโยธาตุ (ลม) กองวาโยธาตุน้ีเกี่ยวข้องกับความเคล่ือนไหวของร่างกาย และ อากปั กรยิ าของอวยั วะตา่ งๆ ท้งั ภายนอกและภายใน เชอื่ กนั วา่ หากคนเรามี สุขภาพดีจะไม่ปรากฏสัญญาณของธาตุลมในร่างกาย อาการที่ปรากฏ ออกมาทางกายของธาตุลม ได้แก่ ปัสสาวะบ่อย หัวใจเต้นไม่สม่�ำเสมอ ทอ้ งไส้ปน่ั ปว่ น มีรอบเดอื นผิดปกติ ออกแรงไดย้ าก ไอ แขนขาหนัก อารมณ์ เหวี่ยง ธาตุลม แบ่งออกให้ละเอยี ดไดอ้ ีกเป็นหกกอง ไดแ้ ก่ อสั สาสะ ปสั สาสะวาโย (asasapasasa vayaw) ลมหายใจเขา้ และ ลมหายใจออก อุทธังคมาวาตา (udingama vayaw) ลมท่ีพัดขึ้นด้านบนของ รา่ งกาย อโธคมาวาตา (adogma vayaw) ลมทพี่ ดั ลงเบอ้ื งลา่ งของรา่ งกาย กจุ ฉสิ ยาวาตา (kusisaya vayaw) ลมท่ีเคลือ่ นไปในช่องวา่ งตาม รา่ งกาย นอกกระเพาะลำ� ไส้ โกฏฐาสยาวาตา (kauhtasaya vayaw) ลมทเ่ี คลอื่ นไปในกระเพาะ ล�ำไส้ อังคมังคานุสารีวาตา (angaminganusari) ลมท่ีเคลื่อนไปท่ัว ร่างกาย85 85 Ibid., p. 9.

61 อาโปธาตุ (ธาตนุ ำ้� ) ธาตุน้�ำหมายถึงของไหลที่ปรากฏทั่วร่างกาย อย่างเช่น เลือด น�้ำตา มลี กั ษณะซึมซาบ เชอื่ มโยง และตดิ ขดั ลกั ษณะของธาตุน�้ำก�ำเรบิ ที่ แสดงออกมาทางรา่ งกายคอื ลกั ษณะของการบวมนำ�้ หรอื ขยายตวั เลอื ดจาง ปัสสาวะนอ้ ย ประจำ� เดือนออกมานอ้ ย ผวิ หนงั แหง้ 86 ปถวีธาตุ (ธาตดุ ิน) ธาตดุ นิ เกย่ี วขอ้ งกบั อวยั วะหรอื สว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายทม่ี ลี กั ษณะ แขง็ หรอื บางครงั้ กอ็ าจจะออ่ นนมุ่ มลี กั ษณะทค่ี งรปู ตามคมั ภรี ใ์ นพทุ ธศาสนา ธาตดุ นิ มอี ยู่ 20 ประการในรา่ งกายมนษุ ย์ เชน่ กระดกู ฟนั หนงั หวั ใจ อาการ ของธาตดุ นิ กำ� เรบิ คอื ถา่ ยอจุ าระหรอื ปสั สาวะไดน้ อ้ ย เหงอ่ื ออกนอ้ ย ผวิ หนงั หยาบ ขอ้ ตดิ ขัด ปวดเมือ่ ยร่างกาย87 อากาสธาตุ (ธาตอุ ากาศ) อากาสธาตุ หมายถึง ที่ว่างหรือช่องว่างต่างๆ ที่อยู่ตามร่างกาย อาทิ ช่องว่างระหว่างอวัยวะ ช่องโพรงจมูก เช่ือกันว่าโดยทั่วไปแล้ว ใน รา่ งกายของมนษุ ยห์ ากเปน็ ชาย รา่ งกายดา้ นขวา จะถกู ควบคมุ โดยปถวแี ละ อาโปธาตุ แตจ่ ะกลบั เปน็ ดา้ นซา้ ยในรา่ งกายของเพศหญงิ สว่ นในซกี รา่ งกาย ดา้ นกลับกนั กจ็ ะถูกควบคมุ โดยธาตลุ มและธาตไุ ฟ 88 86 U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief Introduction to Traditional Burmese Medicine., pp. 8-9. 87 Ibid., pp. 9-10. 88 Ibid., p. 10.

62 ว่าด้วยสมุฏฐานแหง่ โรค การแพทย์ด้ังเดิมของพม่าบางระบบมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด กบั แนวคดิ เรอ่ื งความเจบ็ ปว่ ยของพทุ ธศาสนา การแพทยด์ งั้ เดมิ ของพมา่ เหน็ วา่ อาการผดิ ปกตขิ องรา่ งกายโดยมากเปน็ ผลมาจากความผดิ ปกตขิ องไฟธาตุ ความไม่สมดุลทั้งภายในกลมุ่ ของธาตุไฟเองจนถงึ ความไม่สมดุลกับธาตอุ ื่นๆ สง่ ผลใหเ้ กดิ เปน็ โรค ธาตไุ ฟนน้ั จะกำ� เรบิ ไดจ้ ากหลายสาเหตุ เชน่ หากวา่ ธาตุ ดินหรือธาตุน้�ำไม่สมดุลกัน จะส่งผลให้เกิดปัญหากับส่วนนอกของร่างกาย อย่างเชน่ ผิวหนัง หากรขู มุ ขนบนผิวหนังถูกปดิ ไฟธาตไุ มถ่ ูกระบาย ท�ำให้ เกิดก�ำเรบิ ขึ้นได้ และยังสง่ ผลไปสคู่ วามแปรปรวนของธาตุอ่ืนๆ89 การวเิ คราะหโ์ รคนน้ั ขนึ้ อยกู่ บั การตรวจสอบระบบขบั ของเสยี ใน 4 ระบบ ได้แก่ การขบั เหง่อื การขบั ถ่าย การขบั ประจำ� เดือน และการขบั ลมท่ี ตดิ ขดั ตวั อย่างเช่น หากเหงอื่ ไม่ออกก็เป็นเพราะอาโปธาตแุ ละปถวีธาตุเกิด การติดขัดบนผิวหนัง หากเกิดอาการท้องผูกก็มาจากการมีปถวีธาตุมาก เกินไป เป็นต้น การแพทย์แบบดั้งเดิมของพม่ามีค�ำกล่าวว่า มนุษย์นั้น เจบ็ ปว่ ยจาก กรรม จติ อตุ ุ และ อาหาร เหตเุ หลา่ นเ้ี ปน็ ปัจจัยการเกดิ แหง่ โรคจากภายนอก นำ� ไปสคู่ วามไมส่ มดลุ ของธาตทุ งั้ 5 ซงึ่ การวเิ คราะหโ์ รคโดย ดูจากปัจจัยภายนอก นอกจากจะท�ำให้แพทย์วินิจฉัยโรคได้แม่นย�ำมากข้ึน แล้ว ยงั สามารถให้ข้อแนะนำ� ในการปฏบิ ตั ิตัวในชีวิตประจ�ำวนั ไดอ้ ีกดว้ ย90 89 Ibid. 90 U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief Introduction to Traditional Burmese Medicine., pp. 10-11.

63 กรรม กิจกรรมทุกๆ อย่างล้วนแต่ก่อโรคได้ทั้งนั้น ยกตัวอย่างเช่น การท�ำงานมากเกินไปก็ท�ำให้อาโปธาตุและปถวีธาตุอ่อนแอ ขณะที่การ ไม่ออกก�ำลังกายเลยก็ท�ำให้เกิดโรคอ้วนได้ ซึ่งเป็นอาการท่ีมีอาโปธาตุและ ปถวีธาตุมากเกินไป ผลทางกายภาพท่ีเกิดจากการท�ำกิจกรรมทุกอย่าง จะ เรยี กวา่ เป็นผลของกรรม91 จติ การแพทย์ด้ังเดิมของพม่าเช่ือว่า กิจกรรมทุกอย่างเร่ิมจากจิต ดงั เชน่ หากเราเกดิ ความเครยี ดกจ็ ะมอี าการทางกายทสี่ ะทอ้ นสภาวะทางจติ อยู่ การแพทย์แบบดั้งเดิมของพม่าเช่ือไม่ต่างจากความเชื่อเถรวาท แบบไทยๆ คอื เชอ่ื วา่ จติ มเี จตสกิ 52 ดวง สว่ นทปี่ รากฏออก เจตสกิ ทป่ี รากฏ อยู่เสมอๆ ในการวนิ ิจฉัยโรค คอื เจตนา เป็นพลงั ทท่ี ำ� ใหเ้ กิดกิจกรรมต่างๆ หากเจตนาเข้มแข็ง ก็จะท�ำให้มีความตึงเครียดและรุนแรงได้ ซ่ึงก่อให้เกิด อณุ หเตโช และสีตเตโชได้ โลภะ ความตดิ ยึดในอารมณแ์ ห่งความสุข กอ่ ให้ เกิดอุณหเตโช โทสะ อารมณ์แห่งความโกรธเกลียด ก่อให้เกิดอุณหเตโช อิจฉา อารมณ์แห่งความอิจฉาริษยา ก่อให้เกิดอุณหเตโช มัจฉริยะ ความ ตระหนี่ถ่ีเหนียว ก่อให้เกิดอุณหเตโช ทั้งหมดล้วนเป็นอารมณ์ฝ่ายอกุศล ส่วนอารมณ์ฝา่ ยกุศล เช่น อโลภะ อโทสะ สติ อันเปน็ อารมณ์ฝ่ายกุศลน้นั กอ่ ให้เกดิ สตี เตโช92 91 Ibid., p. 11. 92 Ibid.

64 อุตุ (ภมู ิอากาศ) ในพมา่ มีการแบ่งลกั ษณะภมู อิ ากาศออกเปน็ 5 ประเภท คือ ลม หนาว ร้อน ชื้น และแห้ง ในระบบการแพทย์ดั้งเดิมของพม่า ร่างกายของ มนุษย์มีระบบความสัมพันธ์เฉพาะที่เช่ือมโยงกับสภาพของภูมิอากาศ เช่น ในหน้าร้อน ภายในร่างกายกลับจะมีความเย็นตกค้างอยู่ เพราะสีตเตโช ไม่สามารถระบายออกข้างนอกได้ จึงตกค้างอยู่ในร่างกาย ในหน้าหนาว ความร้อนก็จะตกค้างอยู่ในร่างกาย ซึ่งจะเป็นฐานของค�ำอธิบายท่ีว่าท�ำไม ในหนา้ หนาวการยอ่ ยอาหารจะเปน็ ไปไดด้ กี วา่ อาการของโรคทแ่ี ยล่ งในชว่ ง หนา้ หนาวบง่ ชว้ี า่ อณุ หเตโชมากเกินไป93 อาหาร (โภชนาการ) อาหารทไี่ ม่ดีเปน็ เหตุสำ� คัญของการเกิดโรค ดงั เชน่ การกินอาหาร ปรุงแต่ง การแพทย์แบบด้ังเดิมของพม่าเห็นว่า การบริโภคอาหารที่ดีนั้น เป็นการสรา้ งสมดุลระหวา่ งธาตุและรสชาติ เช่น รสหวาน เปน็ การเช่อื มกบั ปถวีธาตุและอาโปธาตุ มฤี ทธิ์เยน็ รสเปรี้ยว เปน็ การเชือ่ มกับเตโชธาตแุ ละปถวีธาตุ มีฤทธเ์ิ ยน็ รสเคม็ เป็นการเชอ่ื มกบั เตโชธาตุและวาโยธาตุ มีฤทธริ์ อ้ น รสฝาด เป็นการเชื่อมกับปถวีธาตุและวาโยธาตุ มีฤทธ์ิได้ท้ังร้อน และเยน็ รสขม เป็นการเชื่อมกบั วาโยธาตุ มีฤทธไิ์ ด้ทั้งรอ้ นและเยน็ 93 U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief Introduction to Traditional Burmese Medicine., pp. 11-12.

65 ตัวอย่างเช่น อาหารรสหวานจะเพิ่มปถวีธาตุและอาโปธาตุ ในร่างกาย ขณะเดียวกันกไ็ ปลดเตโชธาตแุ ละวาโยธาตุ สว่ นอาหารรสเผด็ รอ้ น จะไปเพม่ิ เตโชธาตแุ ละวาโยธาตุ สลายปถวี ธาตแุ ละอาโปธาตุ พร้อมกบั ขยายอากาสธาตุ (หรือชอ่ งว่าง) ไปพร้อมกัน94 ธาตุท่ีเขา้ กันไดแ้ ละธาตุตรงกันข้าม ปถวธี าตแุ ละอาโปธาตดุ จู ะทำ� หนา้ ทใี่ นแบบเดยี วกนั ขณะเดยี วกนั ก็เช่ือมโยงไปกบั สติ าเตโช ทั้งหมดนี้จะอย่ใู นกล่มุ เดยี วกนั ส่วนวาโยธาตุและ อากาสธาตจุ ะทำ� หน้าท่ีแบบเดยี วกันและเชอื่ มโยงไปกบั อุณหเตโช การแบง่ กลุ่มอยา่ งงา่ ยๆ ใช้ในการวเิ คราะหโ์ รคเพอื่ การรักษา หากในการตรวจรักษา พบว่าสิตาเตโชมีมากเกินไป ท�ำให้ปถวีธาตุและอาโปธาตุมากเกินไป หาก อุณหเตโชธาตุมากเกินไป วาโยธาตุและอากาสธาตุมากเกินไป และใน หลกั การจบั คธู่ าตุ จะมธี าตคุ ตู่ รงกนั ขา้ มกนั อยดู่ ว้ ย ไดแ้ ก่ ปถวธี าตุ ตรงขา้ มกบั วาโยธาตุ อาโปธาตตุ รงข้ามกบั อากาสธาตุ สิตาเตโช ตรงข้ามกับ อณุ หเตโช หากปถวธี าตแุ ละอาโปธาตมุ ากเกนิ ไป จะทำ� ใหธ้ าตคุ ตู่ รงขา้ มอยา่ ง วาโยธาตุ และอากาสธาตุลดน้อยลงไปด้วย หากมีอุณหเตโชมากเกินไป ก็ท�ำให้ สิตาเตโช ปถวี และอาโปธาตุ ออ่ นแอไปดว้ ย การแบ่งแยกสาเหตขุ องโรคกบั ผลของโรค การแพทย์ด้ังเดิมของพม่ามีล�ำดับของการอธิบายสาเหตุและผล ของโรคเป็นล�ำดับขั้นอยู่ ส่วนท่ีอยู่บนสุดของการเกิดโรคในระดับฐานคือ กรรม จติ อตุ ุ และอาหาร สาเหตุล�ำดบั รองลงไปของการเกิดโรคคือ ความ 94 Ibid., p. 12.

66 ไม่สมดุลของธาตุต่างๆ มีธาตุไฟเป็นปฐม ล�ำดับถัดมาคือความไม่สมดุล ระหวา่ งภายในกับภายนอก ในระดับท่ีย่อยลงไปเรื่อย เป็นความไม่สมดุลระหว่างภายในกับ ภายนอก ตวั อยา่ งเชน่ อวยั วะอยา่ งหวั ใจ ตบั และชว่ งทอ้ ง ถกู จำ� แนกวา่ เปน็ ปถวธี าตทุ ี่อย่ภู ายใน แต่ธาตุดนิ ท่ภี ายนอกมักถกู จ�ำแนกด้วยน�ำ้ ท่ปี รากฏอยู่ ในผวิ หนงั ซง่ึ เปน็ สว่ นนอกสดุ ของรา่ งกาย การจะแบง่ ออกไปยงิ่ กวา่ นกี้ จ็ ะทำ� ด้วยการอธิบายแนวโน้มท่ีจะมากเกินไปหรือน้อยเกินไปของธาตุต่างๆ ผนวกกบั การรวมหรอื การแยกกนั กบั ธาตุอื่นๆ95 การวิเคราะห์โรค ปถวีและวาโย เปน็ ธาตทุ ี่อยู่ตรงขา้ มกัน เป็นธาตภุ ายใน หากวา่ มี ปถวีธาตุมากเกินไปจะท�ำให้วาโยธาตุลดน้อยลง ในทางกลับกันวาโยธาตุ มากไป ปถวีธาตุก็จะน้อย ธาตุดินท่ีอยู่ภายในร่างกายเช่ือมโยงกับอวัยวะ ภายใน 20 ชนิด มีสัญญาณจ�ำนวนมากที่บอกได้ถึงสภาวะการท�ำงานของ อวยั วะภายในกลมุ่ นี้ เชน่ ชอ่ งทอ้ ง สมอง หรอื ลำ� ไสใ้ หญ่ ซง่ึ เปน็ สว่ นทส่ี ำ� คญั มาก หากธาตดุ นิ ทำ� งานไดป้ กตจิ ะแสดงออกดงั นี้ เจรญิ อาหารและยอ่ ยอาหารไดด้ ี (การทำ� งานของท้อง) นอนหลับไดด้ ี (การท�ำงานของสมองและหวั ใจ) ลำ� ไสข้ บั ของเสยี ได้ดี (การท�ำงานของล�ำไส)้ ในทางกลบั กนั หากเกดิ ความไมส่ มดลุ ของธาตดุ นิ กจ็ ะเกดิ อาการ ตา่ งๆ อาทิ 95 U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief Introduction to Traditional Burmese Medicine., p. 13.

67 ไม่อยากอาหารหรอื บรโิ ภคมากเกินไป นอนมากเกินไปหรือนอนไมห่ ลบั ทอ้ งผูกหรือทอ้ งเสีย96 อาโปธาตุและอากาสธาตุ (ซึ่งเป็นธาตุตรงข้ามกัน) ถูกจ�ำแนกว่า เป็นธาตุภายนอก หากว่าอาโปธาตุมากเกินไปมักท�ำให้เกิดการหย่อนก�ำลัง ของอากาสธาตุ ชอ่ งว่างตา่ งๆ ในร่างกายจะถกู อุดตนั เพราะอาโปธาตุท่มี าก เกินไป หากอากาสธาตุมากเกินไป ก็จะท�ำให้อาโปธาตุอ่อนก�ำลังลง หาก อาโปธาตอุ ่อนก�ำลังลงก็จะมีสญั ญาณดังนี้ ปวดหัว มนึ งง เหง่อื ไมอ่ อก มีกล่นิ ปาก อาการในทางลบเกดิ จากการทธ่ี าตตุ า่ งๆ ไมส่ มดลุ กนั ตวั อยา่ งเชน่ หากมีอาการท้องผูก ขับถ่ายล�ำบาก บ่งบอกถึงการมีปถวีธาตุมากเกินไป หรืออาการบวมนำ้� กเ็ ปน็ จากการมอี าโปธาตุมากเกินไป ในทางกลับกัน หาก เหงอ่ื ออกมากเกนิ ไปกเ็ ปน็ เพราะอากาสธาตมุ ากเกนิ ไป หากปสั สวะเปน็ สเี ขม้ บง่ บอกถงึ เตโชธาตมุ ากเกนิ ไป หากวา่ ปสั สวะบอ่ ยเกนิ ไปเปน็ อาการของการ มวี าโยธาตมุ ากเกนิ ไป97 ลกั ษณะอาการภายนอกกเ็ ปน็ สญั ญาณบง่ บอกไดถ้ งึ ภาวะของธาตุ ผปู้ ว่ ยทดี่ กู ระตอื รอื ลน้ และกระฉบั กระเฉงแสดงถงึ พลงั ของอณุ หเตโชทม่ี มี าก หากอากัปกริยาภายนอกแสดงออกอย่างเชื่องช้าและเฉื่อยเนือยแสดงถึง พลังของสีตเตโชทม่ี ีมาก หากผปู้ ว่ ยเป็นชายมีอาการตึงเครยี ดของกล้ามเน้ือ ในรา่ งกายซีกซา้ ยเป็นสญั ญาณบอกถึงพลังของอณุ หเตโช หากกลบั เป็นดา้ น 96 Ibid., p. 13-14. 97 U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief Introduction to Traditional Burmese Medicine., p. 14.

68 ขวาจะเป็นสัญญาณถึงพลังของสีตเตโช หากผู้ป่วยเป็นสตรีก็จะกลับกัน หากว่าอาการที่เป็นอยู่แย่ลงในอากาศหนาวบ่งบอกถึงพลังของอุณหเตโช แต่ถ้าหากอาการแย่ลงในภาวะอากาศร้อนบ่งบอกถึงพลังของสีตเตโช หากว่าบริโภคอาหารรสจัดแล้วมีอาการมากขึ้นแสดงว่าเป็นพลังของ อุณหเตโช หากว่ากินอาหารรสเย็นแล้วแย่ลงแสดงว่าเป็นพลังของสีตเตโช หลกั การวนิ จิ ฉยั เชน่ นี้ อยใู่ นระบบการแพทย์ Taung Tha เรยี กวา่ วถิ ที งั้ แปด และแบ่งโรคออกเป็นแปดกลุ่ม หลักการบ�ำบัดรักษาจะอยู่บนการแบ่งออก เป็นแปดกลุ่มอาการ ตามลักษณะหนักเบาของภาวะธาตุอ่อนแอหรือธาตุ เขม้ แข็งมากไป98 98 Ibid.

ตารางแสดงวิธีการแบ่งโรคออกเป็นแปดกลมุ่ ตามกฎธรรมชาตแิ ละรสชาติของอาหารและยาทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ชอ่ื ของ ธาตุที่เป็น ธาตุท่มี กี �ำลงั มาก ปถวธี าตุภายใน อาโปธาตุภายนอก รสของยาท่ี สญั ญาณสำ� คัญตาม การวนิ ิจฉัยโรค เหตุ ในการวเิ คราะห์ มากเกนิ ไป กระจาย จะจดั ให้ หลกั การพืน้ ฐาน สญั ลกั ษณ์ ตามสภาพของโรค มากเกินไป นอ้ ยหรอื พกิ าร 1. ket-kha-la H1 อณุ หเตโช อณุ เตโช ปถวธี าตุ อาโปธาตุไม่เดิน รสเย็น ขม ปวดหวั ไม่มเี หง่อื ปวด ความแข็ง ปถวี มากเกินไป เพราะมมี าก เค็ม เปรย้ี ว ตามรา่ งกาย ขอ้ ต่อและ อพนั ธนา เกินไป กลา้ มเนื้อแขง็ เกร็งมไี ขส้ งู 2. vithambhita H2 อุณหเตโช อณุ หเตโช ปถวาตมุ าก อาโปธาตุ รสเย็น ท้องผกู เหงอื่ ออกแลว้ 1st ปถวี เกนิ ไป กระจาย ขม เค็ม แสบรอ้ น ปสั สาวะน้อย การบวม 1 อพนั ธนา ฝาดสมาน 3. vithambhita H3 อุณหเตโช อณุ ห ปถวาตุมาก อาโปธาตุ รสเย็น ขม ทอ้ งรว่ ง ปวดหวั กลา้ มเนอื้ 2nd ปถวี เกนิ ไป กระจาย เคม็ ฝาด แสบรอ้ น เป็นตะคริว การบวม 2 อากาส สมาน ปสั สาวะนอ้ ย หนา้ บวมนำ�้ 4. prissava H4 อณุ หเตโช อุณห ปถวีธาตุ อาโปธาตุ รสเย็น ท้องรว่ ง เหงื่อออกนอ้ ย ละลายดว้ ย วาโย พกิ าร กระจาย หวาน มนั เลอื ดจาง ใจส่นั ปัสสาวะ ความรอ้ น อากาส ฝาดสมาน นอ้ ย นอนไมห่ ลบั 5. sangahita C1 สีตเตโช สีตะ ปถวธี าตุ อาโปธาตุไม่เดิน เผ็ดร้อน ทอ้ งผูก ปสั สาวะมาก ขอ้ 69 ความสมั พนั ธ์ ปถวี มากเกนิ ไป เพราะมีมาก รสจดั ขม และกลา้ มเน้ือยึด แขนขา กนั อพันธนา เกนิ ไป หนัก นอนมาก

ธาตทุ ่ีมีกำ� ลงั มาก ปถวธี าตุภายใน อาโปธาตภุ ายนอก รสของยาที่ 70 ในการวเิ คราะห์ มากเกินไป กระจาย จะจัดให้ ชอ่ื ของ สญั ลกั ษณ์ ธาตุท่เี ปน็ ตามสภาพของโรค มากเกนิ ไป นอ้ ยหรอื สญั ญาณสำ� คญั ตาม การวนิ จิ ฉัยโรค เหตุ พกิ าร หลักการพนื้ ฐาน 6. byuhana 1st C2 สตี เตโช สีตะ ปถวีธาตุ อาโปธาตุ เผด็ รอ้ น ขม ท้องผูก เจริญอาหาร การขยาย ปถวี มากเกนิ ไป กระจาย ฝาดสมาน เหง่ือออก นอนหลับดี อากาส ปัสสาวะมาก 7. byuhana 2nd C3 สตี เตโช สตี ะ ปถวธี าตุ อาโปธาตุไม่เดิน เผด็ รอ้ น มัน ขาบวมนำ�้ ท้องร่วง การขยาย 2 วาโย พกิ าร เพราะมมี ากเกนิ รสจดั ปัสสาวะสจี าง รสู้ กึ ตัว อพนั ธนา หนกั 8. peggarana C4 สีตเตโช สตี ะ ปถวีธาตุ อาโปธาตุ เผด็ ร้อน มัน ท้องร่วง ถา่ ยเหลวเป็นน้ำ� วาโย พกิ าร กระจาย ฝาดสมาน ออ่ นเพลีย เวียนศีรษะ อากาส เหงอื่ ออก ท่มี า: Method of eight types of diagnosis by a natural principle of Particular dietary tastes and the requisite medicine ใน U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief introduction to Traditional Burmese Medicine, p. 15.

71 คำ� อธบิ าย โรคท่ีอยู่ในตารางด้านบน (จาก H1 ถึง H4) เป็นโรคที่เกิดจาก ผลของความร้อน เน่ืองจากอุณหเตโช ขณะท่ีโรคท่ีอยู่ในตารางด้านล่าง (C1 ถึง C4) เป็นโรคท่ีเกิดจากผลของความเย็น เนื่องจากสีตเตโชไล่ลงมา ตามล�ำดับ ผู้ให้การรักษาตามแบบแผนของการแพทย์แบบด้ังเดิม พึงปรับ รสชาตอิ าหารผปู้ ว่ ยใหส้ อดคลอ้ งกบั ยาทจ่ี ดั ใหผ้ ปู้ ว่ ย หากวา่ จดั ยาไมเ่ หมาะสม กับธาตุท่ีมีมากไป หรือตามรสชาติที่พึงมี ผู้ให้การรักษาควรใช้การสกัด สมุนไพร น้�ำหมักเข้มข้น หรือน�้ำผลไม้ ไม่ก็ใช้น�้ำร้อนหรือนำ�้ เย็นร่วมด้วย ตวั อยา่ งเช่น หากต้องการยาตัวหนึง่ มรี สเย็น เคม็ เปรย้ี ว สำ� หรบั โรคในกลมุ่ H1 ควรใช้ยาจำ� พวกน�้ำสกัดจากบวบขม หรอื หากเราใชส้ ะเดา ทมี่ ีฤทธริ์ ้อน รสขม สำ� หรบั โรคในกลมุ่ C1 ควรใชร้ ว่ มกบั นำ�้ ขงิ การเตรยี มยาเชน่ นกี้ จ็ ะให้ ทง้ั ฤทธิร์ อ้ น รสขมหรอื รสจดั สามารถไปเติมเต็มธาตทุ ่ีร่างกายตอ้ งการได9้ 9 การวดั ชีพจร การวัดชีพจรจะท�ำให้ได้รู้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะของธาตุท้ังห้า การ วัดชีพจรจากหลอดเลือดแดงเรเดรียล เป็นจุดหลักในการวัด แต่ก็มีการวัด จากจดุ อน่ื ๆ ดว้ ยแลว้ แตส่ ถานการณ์ ในสมยั โบราณแพทยท์ ม่ี คี วามเชย่ี วชาญ ในการจับชีพจรนอกจะสามารถบอกถึงปัญหาสุขภาพในปัจจุบัน ยังบอกไป ถงึ ปญั หาสุขภาพในอดีตที่ผา่ นมาไดด้ ้วย 99 U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief introduction to Traditional Burmese Medicine, pp. 15-16.

72 คัมภีร์ว่าด้วยเร่ืองชีพจร (Dapakani) ย�้ำว่า การจับชีพรน้ันหาก แพทย์จะกระท�ำการ ต้องท�ำให้ภาวะร่างกายและจิตใจน่ิงสงบ และจ�ำเป็น ต้องปฏบิ ตั ิตามหลกั การดังน้ี จติ ใจดีมีธรรมะและหมนั่ ส�ำรวจตรวจสอบศีลของตน มีความสงบทง้ั กายและใจ ชำ� นาญทั้งสมุฏฐานวทิ ยาและพยาธวิ ทิ ยา มสี มาธมิ ั่นคง มีความรู้รอบในเรื่องลักษณะของชีพจรและความหมายของ ลักษณะน้นั 100 การวิเคราะหช์ พี จรของธาตทุ ้งั ห้า ชพี จรท่ีเป็นปกติจะไม่ใหญ่เกนิ ไปหรอื ไมเ่ ล็กจนเกินไป ไมเ่ รว็ เกนิ ไปและไม่ชา้ เกนิ ไป ไมแ่ รงเกนิ ไปและไม่เบาเกนิ ไป ตอ้ งสามารถรบั รู้ไดท้ ัง้ ใน ระดับลึกและตน้ื อาการทัง้ หมดนี้บง่ บอกถึงความสมดุลระหว่างธาตุท้งั 5 คุณสมบัติเฉพาะของชีพจรที่จะบ่งบอกไปถึงภาวะของธาตุทั้ง 5 แยกออกเปน็ ปถวีธาตุ จะอยู่ในความหนักเบาของชีพจร อาโปธาตจุ ะอยใู่ น เลือดท่ีว่ิงไปตามหลอดเลือด เลือดวิ่งไปตามหลอดเลือดได้ดีแค่ไหนเป็นผล ของวาโยธาตุ พลังของการขับเคลื่อนนั้นมาจากเตโชธาตุ ความชัดเจนใน คณุ ลกั ษณะตา่ งๆ ของชพี จรเปน็ ผลของอากาสธาตุ ชพี จรนน้ั สามารถรบั รไู้ ด้ จากต�ำแหน่งใดกไ็ ด้ใน 5 ต�ำแหนง่ นี้ ตามคัมภรี ์ Dapakani Maniokka (ระหวา่ งจุดฝงั เข็ม Bl 1 และ Bl 2) Bawin waidika (สว่ นปลายของหวั ใจ หรือชพี จรที่ขอ้ มือ) 100 Ibid. p. 16.

73 Khanda panchaccaya (รอบๆ สะดือ) Pathamalawhita (บรเิ วณขาหนบี ) Manizawtara (บรเิ วณตาตุ่มด้านใน) 101 1. Maniokka ตั้งอยู่ในโพรงบริเวณขอบเบ้าตาด้านหางตา ใกล้ กบั ชอ่ งเหนอื เบา้ ตา จบั ชพี จรตรงนดี้ ว้ ยปลายหวั แมม่ อื ขวาและนว้ิ ช้ี หากรสู้ กึ ถงึ ชีพจรได้อยา่ งชดั เจน เปน็ สญั ญาณว่าอากาสธาตุอย่ใู นภาวะปกติ หากจับ ชีพจรไม่ค่อยเจอหรือรู้สึกว่าช้า แสดงว่าอากาสธาตุมีก�ำลังอ่อน และ อาโปธาตุมีมากเกินไป102 2. Bawin waidika ในทางทฤษฎตี �ำแหน่งนีอ้ ยูท่ ป่ี ลายหวั ใจ แต่ ในทางปฏิบัติจะวัดจากชีพจรท่ีข้อมือ จับชีพจรโดยการใช้ปลายสามน้ิวไป สมั ผสั (คอื นวิ้ ช้ี นวิ้ กลาง นว้ิ นาง) ลกั ษณะดหี รอื ไมด่ วี ดั จากลกั ษณะของโรค ท้งั 8 ไดแ้ ก่ ชีพจร ket-kha-la (H1) เตน้ เร็ว (เตโช) แรง (ปถวีธาตภุ ายในมาก เกนิ ไป) ใหญ่ (ปถวธี าตุภายนอกนอ้ ยเกนิ ไป) ชีพจรแบบ vithambhita (H2) เต้นเร็ว แข็งแรง และบาง (ปถวธี าตแุ ละอาโปธาตุภายนอก) ชีพจรแบบ prissava (H4) เต้นเร็ว ลึก บาง และอ่อนแรง (อุณหเตโช) ชีพจรแบบ singhahita (C1) เต้นชา้ ใหญ่ และอ่อนแรง (สีตเตโช) 101 U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief introduction to Traditional Burmese Medicine, p. 16. 102 Ibid.

74 ชีพจรแบบ byuhana 1 (C2) เต้นช้า ใหญ่ และบาง (สีตเตโช ปถวธี าตุ และอากาสธาต)ุ มากเกินไป ชีพจรแบบ byuhana 2 (C3) เต้นช้า ลึก ผิดปกติ และใหญ่ (สตี เตโช และวาโยธาตุ ถกู ขวางโดยอากาสธาต)ุ ชีพจรแบบ peggarana (C4) เต้นช้า ลึก บาง และอ่อนแรง (อากาสธาตมุ ากเกินไป และมีความเยน็ ในวาโยธาตุ)103 3. Khandapanchacaya อยตู่ รงสะดอื หรอื รอบสะดอื จบั ชพี จร โดยการใชห้ วั แมม่ อื ขวา จะบอกถึงสภาวะของปถวีธาตุ หากวา่ ชีพจรน้ีรู้สึก ไดอ้ ยา่ งชดั เจน ปถวธี าตกุ อ็ ยใู่ นภาวะปกติ ปถวธี าตนุ นั้ เปน็ ธาตทุ อี่ งิ อาศยั ของ ทกุ ๆ ธาตุ หากวา่ เกดิ ออ่ นกำ� ลงั จะทำ� ใหท้ กุ ธาตอุ อ่ นก�ำลังลงไปด้วย104 4. Pathamalawhita สามารถวัดได้จากบริเวณขาหนีบท่ีมี หลอดเลือดแดงต้นขาอยู่ หากว่าเต้นชัดและแข็งแรง บ่งชี้ว่า เตโชธาตุเป็น ปกต1ิ 05 5. Manizawtara อยู่บรเิ วณใตต้ าตมุ่ ด้านใน (ใกลก้ บั บริเวณจุด ฝังเข็ม Ki 6) ชีพจรนีจ้ ะบ่งบอกถึงสภาวะความสัมพันธ์ระหวา่ งปถวีธาตุและ อาโปธาตุ หากว่าเต้นอ่อน ปถวีธาตุและอาโปธาตุจะมีมากเกินไป หากว่า ชีพจรมีลักษณะเต้นเร็วและแข็งแรงบ่งบอกว่าความร้อนก�ำลังเพิ่มข้ึน และ หากอ่อน บ่งบอกว่าความเยน็ ก�ำลังลดลง106 103 Ibid. pp. 16-17. 104 Ibid., p. 17. 105 U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief introduction to Traditional Burmese Medicine, p. 17. 106 Ibid.

75 ระบบ Netkhattanaya และ Weizzadharanaya ระบบ Netkhattanaya (หรอื ระบบนกั ขตั ) ระบบการแพทยร์ ะบบนี้ เปน็ การใชก้ ารคำ� นวณดวงดาว (โหราศาสตร)์ เพอื่ การวางแผนกำ� หนดอาหาร วเิ คราะหห์ าสาเหตขุ องโรค การพยากรณโ์ รค เพอื่ ทราบถงึ ธรรมชาตขิ องโรค และมกี ารพยากรณถ์ งึ อายขุ องผปู้ ว่ ยแตล่ ะคน ดว้ ย ทง้ั หมดนขี้ นึ้ อยกู่ บั การอา่ นตำ� แหนง่ ของดวงดาวในเวลาและสถานทเี่ กดิ ของผปู้ ว่ ย (เวลาตกฟาก) เปรียบเทยี บกบั ต�ำแหนง่ ดาวในปจั จุบัน ทฤษฎนี ้ี คอ่ นข้างซบั ซอ้ นเขา้ ใจยาก และในปจั จบุ ันเหลือผู้รูใ้ นเรือ่ งนี้ไมม่ าก107 ระบบ Weizzadharanya (หรือระบบวชิ าธร) การแพทย์ระบบน้ี มีการขยายความอยู่ในส่วนเนื้อหาข้างต้นบาง ส่วน จะมเี พิ่มเติมในสว่ นนีอ้ ีกเล็กน้อย ระบบการแพทย์นม้ี ีองค์ประกอบอยู่ สามประการไดแ้ ก่ 1. การใชโ้ ลหะธาตใุ นการรกั ษา ศาสตรน์ ปี้ ระยกุ ตม์ าจากวชิ าเลน่ แร่แปรธาตแุ ตโ่ บราณกาล โดยแบ่งโลหะธาตอุ อกเปน็ สองกล่มุ ใหญ่ กลุ่มแรก เป็นโลหะท่ีเป็นตัวแทนของโลกกายภาพ ได้แก่ ตะกั่ว (สีด�ำ) ตะก่ัว (สีน้�ำตาล) เหล็ก ดีบุก ปรอท ทองค�ำ เงินบริสุทธ์ิ (สีด�ำ) อลมู เิ นยี ม (aluminium) สังกะสี กล่มุ ทีส่ อง โลหะธาตุท่ีเป็นตัวแทนของโลกแห่งจิตวิญญาณ สารหนู หรดาลกลีบทอง (สารหนสู เี หลอื ง) ก�ำมะถัน แอมโมเนยี ม คลอไรด์ (ammonium chloride) จุนสี สะตุ (copper sulphate) 107 Ibid., p. 18.

76 ชาดจอแส (cinnabar หรอื mercuric sulphide) โบรอน (boron) สารสม้ ดินประสิว วิธีการพ้ืนฐานในการเตรียมตัวส่วนประกอบส�ำหรับปรุงและผสม ยาท่ีมาจากโลหะธาตุเหล่านี้ ส�ำหรับตัวยาบางตัวจากแต่ละกลุ่ม ต้องใช้ ภาชนะดินปิดปากด้วยดินโคลนจากน้ันท�ำให้ร้อน ยาแต่ละต�ำรับต้องการ ความร้อนที่แตกต่างกัน รวมทั้งเวลาท่ีต้องได้รับความร้อนด้วย จากน้ันก็ นำ� มาผสมกับส่วนผสมท่เี ปน็ น�ำ้ สมุนไพรหรอื นำ�้ ผ้งึ 108 2. การรักษาทางจิตใจและจิตวิญญาณ การรักษาประกอบไปดว้ ย การบรกิ รรมคาถาภาษาบาลี เพอื่ เพม่ิ พลงั ใหผ้ ปู้ ว่ ยแขง็ แรง โดยเฉพาะในดา้ น สขุ ภาวะทางจติ วญิ ญาณของผูป้ ว่ ย และยงั ชว่ ยปดั เปา่ ใหพ้ น้ จากโรคาภยั ทง้ั หลาย109 3. พลังจากตัวผเู้ ยยี วยา มีคำ� กลา่ วแตโ่ บราณของพม่าว่า หากวา่ แพทยน์ น้ั เปน็ ผมู้ ศี ลี บรสิ ทุ ธิ์ แมน้ ำ�้ ธรรมดาทใี่ หแ้ กผ่ ปู้ ว่ ยกเ็ ปน็ ยาได้ ในระบบ การรกั ษานี้ แพทยห์ รอื ผใู้ หก้ ารรกั ษาเยยี วยาตอ้ งรกั ษาจติ ใจ และจติ วญิ ญาณ ของตน ดว้ ยการทำ� สมาธภิ าวนาและรักษาศีลหา้ ใหไ้ มด่ า่ งพรอ้ ย การปฏบิ ัติ ดังกล่าวจะทำ� ให้เกดิ พลงั พิเศษอันเกิดจากสมาธ1ิ 10 นอกจากน้ีแล้วการแพทย์ดั้งเดิมของพม่ายังมีการรักษาแบบอ่ืนๆ อกี เช่น การนวด การประคบด้วยความร้อน การขับเหง่ือ111 108 U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief introduction to Traditional Burmese Medicine, p. 18. 109 Ibid. 110 Ibid. 111 Ibid., p. 21.

77 การนวด การนวดของการแพทย์พม่าตั้งบนฐานความรู้เร่ืองธาตุท้ัง 5 และระบบการไหลเวียนของเลือด และยังมีการนวดเพื่อผ่อนคลายอีกด้วย กล่าวกันว่าพระราชวงศ์ช้ันสูงนับแต่พระมหากษัตรย์ลงมา นิยมให้มีการ ถวายงานนวดในช่วงเวลาบา่ ยและกอ่ นเขา้ บรรทม มีการต้งั ตำ� แหนง่ ประจ�ำ ราชส�ำนักให้กับหมอนวดทั้งหญิงชายจ�ำนวนมาก อย่างไรก็ดี การนวดเพื่อ การรักษาแตกต่างจากการนวดเพ่ือผ่อนคลาย เพราะการนวดรักษาน้ัน มี การน�ำเอาทฤษฎีเรื่องกายวิภาคและพยาธิวิทยาเข้ามาใช้ ทั้งสองเรื่องนี้อยู่ บนฐานคิดเร่ืองการไหลเวียนของเลือดและความมากน้อยของเตโชธาตุและ วาโยธาตใุ นร่างกาย112 การหมนุ เวียนของเลอื ด การแพทย์ด้ังเดิมของพม่ามีแนวทางอธิบายเรื่องนี้ต่างจาก การแพทยแ์ บบตะวนั ตกสมยั ใหม่ ทเี่ หน็ วา่ การไหลเวยี นของเลอื ดเรมิ่ มาจาก หัวใจผ่านไปท่ัวร่างกาย หากในระบบการแพทย์ดั้งเดิมของพม่าเห็นว่า ลม เป็นสิ่งที่โคจรไปตามเส้นและเป็นเครื่องรองรับกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ รา่ งกาย การแพทยด์ งั้ เดมิ ของพมา่ เชอ่ื วา่ จดุ ทลี่ มจะรวมอยตู่ รงบรเิ วณสะดอื กึ่งกลางร่างกาย ทเ่ี รยี กว่า “คอมบานาล”ี (combanali) comba หมายถงึ เต่า และ nali คือเครือขา่ ยของเส้นประสาท พลังงานท่ีเกิดจากการรวมกนั ของเตโชธาตุและวาโยธาตุ จะกระจายออกไปตามเส้นท้ังส่ี สองเส้นอยู่ บริเวณด้านบนของร่างกาย สองเส้นอยู่ด้านล่างของร่างกาย (บริเวณขา) เส้นทั้งสี่จะพาดผ่านไปท่ัวร่างกายเคียงคู่ไปกับเส้นเลือด และรองรับ 112 Ibid.

78 กิจกรรมต่างๆ ทางกาย รวมทั้งการท�ำงานของอวัยวะต่างๆ ตามทฤษฎี กายวิภาคของการนวดแบบดั้งเดิมพม่า เชื่อว่าเส้นเลือดท่ีว่ิงมาจากหัวใจจะ มาพบกับเส้นลมทั้งสี่เส้นตรงศูนย์กลางร่างกายบริเวณสะดือ และกระจาย ออกไปท่ัวร่างกาย เส้นลมหลักทั้งส่ีเส้นมีแหล่งส�ำรองพลังงาน (จุดกระตุ้น) ท่บี ริเวณรักแร้ ตน้ คอ ขาหนีบ จดุ เหลา่ น้ีสามารถกระตุ้นการหมนุ เวยี นของ เลือดและกิจกรรมตา่ งๆ ของรา่ งกาย113 ระบบกายวภิ าคของการแพทยด์ ้ังเดมิ ของพมา่ แบบยอ่ ระบบกายวิภาคของระบบการนวดแบบดั้งเดิมของพม่า เชื่อว่า ร่างกายมนษุ ย์มีโครงสรา้ งทางร่างกายเปน็ ไปตามทฤษฎธี าตทุ ้ัง 5 ซงึ่ มีความ สอดคล้องกันดงั นี้ กระดกู น้วิ มอื ทงั้ หมดสอดคลอ้ งกับอากาสธาตุ ข้อมือและข้อเทา้ สอดคล้องกับวาโยธาตุ ข้อศอกและขอ้ เข่าสอดคล้องไปกับเตโชธาตุ ข้อไหลแ่ ละข้อสะโพกสอดคลอ้ งไปกับอาโปธาตุ ปากมดลกู และลกู ตาด�ำสอดคล้องกบั ปถวีธาตุ การนวดเพื่อบ�ำบัดจึงเริ่มต้นที่ข้อต่ออากาสธาตุ (กระดูกนิ้วมือ) ตามมาดว้ ยการกระตนุ้ เตโชธาตุและวาโยธาตุ กระจายไปทวั่ รา่ งกาย วธิ กี าร สดุ ทา้ ยคอื การนวดทจี่ ดุ พลงั หลกั ทอี่ ยบู่ รวิ เณสะดอื การทำ� ตามวธิ กี ารนที้ ำ� ให้ เลือดลมไหลเวียนไปทั่ว ตามระบบธาตุท้ัง 5 หากยังมีจุดนวดอีกหลายจุด ในต�ำแหน่งอ่ืน เช่น จุดนวดเจ็ดแห่งบริเวณเท้า จุดนวดสามแห่งตรง 113 U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief introduction to Traditional Burmese Medicine, p. 21.

79 บรเิ วณขา จดุ นวดหา้ แหง่ บริเวณเข่า จุดนวดห้าแหง่ บริเวณขาอ่อน จุดนวด เจ็ดแห่งบริเวณเอว114 การประคบรอ้ น Kyat htoat เป็นภาษาพม่าท่ีเอาไว้เรียกการประคบร้อน การ ประคบร้อนจะใช้สมุนไพรหลายชนิดน�ำมาห่อผ้ารวมกันมัดรวบให้แน่นเป็น ลกู ประคบ ตัวสมนุ ไพรจะเปลยี่ นไปตามลักษณะโรคทต่ี ้องรกั ษา สมนุ ไพรท่ี ใช้แตกต่างจากการแพทย์แบบอายุรเวท การประคบร้อนนั้นจะช่วยขจัด เลือดเสีย ลมที่ค้างภายใน และของเสียท่ีเกิดจากกิจกรรมทางกายภาพ การประคบร้อนจะช่วยหนุนเสริมเตโชธาตุและวาโยธาตุ วิธีนี้จะไปเพิ่ม ความร้อนของเลอื ด ทำ� ให้การไหลเวียนของเลือดดีขน้ึ ยงั ช่วยไลอ่ าโปธาตทุ ่ี ค่ังอยใู่ ต้ผวิ หนังดว้ ย ปกติวธิ ีนจี้ ะทำ� วนั ละครั้ง สำ� หรับการรกั ษาอาการตา่ งๆ เช่น ลดปวด ข้ออักเสบ ข้อบวม ปวดเมื่อยในข้อ ปวดหลังตอนล่าง ปวด ตามสะโพก กล้ามเน้ือตึง ปวดเม่ือยตัว อาการชา เหน็บชาตามแขนขา เส้นเลือดสมองแตก ภาวะกล้ามเน้ือยึดจากการเจอเหตุการณ์ไม่ดี แขนขา หดเกรง็ เปน็ ตน้ การรกั ษาแบบนจี้ ะทำ� ทบ่ี า้ นกไ็ ด้ เปน็ วธิ กี ารรกั ษาแบบสามญั ทวั่ ไป115 114 Ibid., pp. 21-22. 115 U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief introduction to Traditional Burmese Medicine, pp. 22-23.

80 การขับเหงอื่ การขับเหงื่อเป็นวิธีการรักษาอีกแบบหนึ่งของการแพทย์แบบ ดงั้ เดิมของพมา่ ใช้ร่วมกับการกินยาสมุนไพร เปน็ การปอ้ งกนั และรกั ษาโรค ไปพรอ้ มกัน เป็นวธิ กี ารในลกั ษณะยากลางบ้าน ใชก้ บั อาการไข้ อาการบวม นำ้� ปวดเมอ่ื ยตามตวั โรคอว้ น แขนขาหนกั หรอื าการบาดเจบ็ เกยี่ วกบั กลา้ ม เน้ือ ใช้สมุนไพรเป็นเครื่องยาส�ำคัญในการขับเหงื่อ สมุนไพรท่ีว่าก็มีความ หลากหลายตามแต่ว่าจะมีอาการแบบไหน แพทย์แบบดั้งเดิมของพม่า จำ� นวนมากใชย้ าอยู่เพยี งตำ� รบั เดียวเพ่อื ขบั เหงอ่ื คือใบไผ่ 3 กรัม คนทีสอ 3 กรัม น้�ำมะนาวส้ม 3 กรัม โกศล (Croton oblongata) 3 กรัม รวม 12 กรมั 116 ข้นั ตอนการขับเหงื่อ น�ำใบยาทั้งหมดใส่ลงหม้อเติมน้�ำให้ท่วมประมาณ 2ใน 3 ของ หมอ้ ตม้ ใหเ้ ดอื ดปดิ ฝาไว้ ใหผ้ ปู้ ว่ ยนง่ั บนเกา้ อนี้ ำ� หมอ้ ยาไปวางบรเิ วณระหวา่ ง ขา น�ำผ้าห่มมาคลุมร่างผู้ป่วยไว้ เปิดฝาหม้อออกตั้งท้ิงไว้ราว 20 นาที (ทำ� ครง้ั หนง่ึ นานประมาณน)้ี วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั เพอื่ ทำ� ใหเ้ หงอ่ื ของผปู้ ว่ ยออก มาทวั่ ตวั หากวา่ เหงอื่ ออกมาจากหนา้ ผากและจมกู กถ็ อื วา่ สำ� เรจ็ ผล นำ� หมอ้ ยาออกไป ปลอ่ ยให้ผู้ปว่ ยนั่งอยู่ตอ่ ประมาณ 5 นาที เช็ดเหง่ือท่ีออกด้วยผ้า และให้ผู้ป่วยเปลี่ยนเส้ือผ้า การขับเหงื่อนอกจากจะท�ำทั้งตัวแบบนี้ จะท�ำ เฉพาะจุดก็ได้ โดยการเลือกคลุมผ้าเฉพาะส่วนของร่างกายที่ต้องการบ�ำบัด รักษา ปจั จบุ ันก็มเี ครื่องมือสมยั ใหม่ทจี่ ะชว่ ยในการรกั ษาแบบน1้ี 17 116 Ibid., pp. 24-25 117 Ibid.

ISBN 978-616-786-104-3 9 786167 861043