Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

Description: เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว.

Search

Read the Text Version

เอกสารวชิ าการ การจัดการศัตรูมะพร้าว ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของส�ำนกั หอสมดุ แห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ส�ำนักวิจยั พัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. เอกสารวชิ าการ การจดั การศตั รมู ะพร้าว -- กรุงเทพฯ : สำ� นักวจิ ยั พัฒนาการอารกั ขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ,์ 2560 ISBN 978-974-436-895-9 สงวนสทิ ธิ์ ปีท่ีพิมพ์ : 2560 จ�ำ นวนหนา้ : 96 หน้า จำ�นวนทพี่ ิมพ์ : 2,000 เลม่ จดั พมิ พโ์ ดย สำ�นักวจิ ัยพฒั นาการอารกั ขาพืช กรมวิชาการเกษตร เลขท่ี 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรงุ เทพฯ 10900 โทร. 0 2579 5583 โทรสาร 0 2940 5396 เว็บไซต์ http://www.doa.go.th/plprotect/ พมิ พท์ ่ี โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ�กัด เลขที่ 79 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรุงเทพฯ 10900

ค�ำ นำ� สำ� นกั วจิ ยั พฒั นาการอารกั ขาพชื มหี นา้ ท่ี ศกึ ษา คน้ ควา้ วจิ ยั ทดลองและพฒั นาวชิ าการ เกษตรด้านอารักขาพืชซึ่งเป็นหน้าท่ีหลักข้อหนึ่งของกรมวิชาการเกษตร เพ่ือให้ได้ข้อมูลความรู้ ดา้ นวิชาการในการป้องกัน ควบคุม หรือการจดั การศตั รพู ืช เปน็ การเพิ่มผลผลิตและคณุ ภาพของ พืชปลูกให้ได้มาตรฐานตามที่ก�ำหนด ซ่ึงจะท�ำให้ผลผลิตมีมูลค่าและความปลอดภัยสูงข้ึนโดย ส�ำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืชได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการจัดการศัตรูพืชในการผลิต มะพร้าว เพ่อื ให้ไดป้ ริมาณและคณุ ภาพท่ีตลาดตอ้ งการท้งั ตลาดภายในและต่างประเทศ ปี 2557 ประเทศไทยมีพ้นื ท่ีปลูกมะพรา้ วรวม 1.3 ลา้ นไร่ ผลผลิตรวมกวา่ 1 ล้านตนั เปน็ ประเทศทตี่ ดิ อนั ดบั 1 ใน 10 ของเนอ้ื ทป่ี ลกู และผลผลติ สงู สดุ ของโลก สำ� หรบั การผลติ มะพรา้ ว เพ่ือให้ได้คุณภาพที่ดีตามที่ต้องการ และให้มีปริมาณเพียงพอต่อผู้บริโภคท้ังในและต่างประเทศ นน้ั จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารบรหิ ารจดั การทดี่ ตี งั้ แตก่ อ่ นปลกู จนกระทง่ั ถงึ การเกบ็ เกย่ี ว นอกจากการบรหิ าร จดั การสภาพแวดลอ้ ม ดิน น้ำ� ปุ๋ยใหเ้ หมาะสม ศตั รูพชื ยงั เปน็ ปัจจัยทสี่ �ำคัญอีกปัจจัยหนง่ึ ทจ่ี ะตอ้ ง มีการจัดการให้ถูกต้องและเหมาะสมในแปลงปลูกอีกด้วย ในปัจจุบันศัตรูมะพร้าวที่พบมีทั้ง โรค แมลง ไร สัตวศ์ ตั รูพชื และวัชพืช ซึง่ เปน็ สาเหตทุ ส่ี �ำคญั ที่ทำ� ใหผ้ ลผลิตมะพรา้ วไม่ได้คุณภาพ ตามต้องการ จากประเด็นปัญหาดังกล่าว ส�ำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืชจึงได้จัดท�ำเอกสาร วิชาการ “การจัดการศัตรูมะพร้าว” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลศัตรูพืชของมะพร้าว การบรหิ ารจดั การศตั รพู ชื ทถ่ี กู ตอ้ งและเหมาะสมเพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลผลติ มะพรา้ วทม่ี คี ณุ ภาพ โดยรวบรวม ทบทวน ปรบั ปรงุ และเพมิ่ เตมิ ขอ้ มลู ทางวชิ าการทไ่ี ดจ้ ากงานวจิ ยั ของหนว่ ยงานตา่ งๆ ซงึ่ ไดน้ ำ� ขอ้ มลู มาประมวลและกลั่นกรองให้ถูกต้องโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และคณะท�ำงาน เพ่ือจัดเป็นองค์ความรู้ ทีส่ มบูรณ์ ครบถว้ น ถกู ตอ้ งและมีความเหมาะสม สามารถน�ำไปปฏบิ ตั ิได้ ซ่ึงสำ� นักวจิ ยั พฒั นาการ อารกั ขาพชื หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ เอกสารวชิ าการฉบบั นจี้ ะเปน็ ประโยชนส์ ำ� หรบั นำ� ไปใชใ้ นการจดั การ ศตั รูมะพรา้ วอย่างมีประสทิ ธิภาพตอ่ ไป (นางวิไลวรรณ พรหมคำ� ) ผอู้ �ำนวยการส�ำนักวิจยั พัฒนาการอารักขาพชื



สารบญั แมลงศัตรูมะพรา้ ว หน้า การควบคมุ แมลงศัตรูมะพรา้ วโดยชีววธิ ี 1 ไรศัตรูมะพรา้ ว สัตว์ฟันแทะศัตรูมะพรา้ ว 17 โรคของมะพรา้ ว 39 วัชพืชในสวนมะพรา้ ว 44 ภาคผนวก 50 57 ประกาศกรมวชิ าการเกษตร เรอ่ื ง เงอื่ นไขการนำ� เขา้ มะพรา้ วจากสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ พ.ศ. ๒๕๕๘ 68 ประกาศกรมวชิ าการเกษตร เรอ่ื ง เงอื่ นไขการนำ� เขา้ มะพรา้ วจากสาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกาศกรมวชิ าการเกษตร เรอ่ื ง เงอ่ื นไขการนำ� เขา้ มะพรา้ วจากมาเลเซยี พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกาศกรมวชิ าการเกษตร เรอ่ื ง เงอื่ นไขการนำ� เขา้ มะพรา้ วจากสาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี พ.ศ. ๒๕๕๔



แมลงศัตรมู ะพรา้ ว ในปี 2532 ประเทศไทยมพี นื้ ทปี่ ลกู มะพรา้ วประมาณ 2.59 ลา้ นไร่ พน้ื ทเี่ พาะปลกู มะพรา้ ว ลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันคงเหลือพ้ืนท่ีปลูกมะพร้าวเหลือเพียง 1.3 ล้านไร่ ส่งผลให้ผลผลิต มะพรา้ วและผลติ ภณั ฑแ์ ปรรปู จากมะพรา้ ว เชน่ กะทิ มรี าคาสงู ขน้ึ ซงึ่ มสี าเหตหุ ลกั มาจากการปลกู พชื เศรษฐกจิ ชนดิ อน่ื ทดแทนมะพรา้ ว เชน่ ยางพารา ปาลม์ นำ�้ มนั นอกจากนแี้ ลว้ พน้ื ทป่ี ลกู มะพรา้ ว โดยส่วนใหญ่ประสบปัญหามะพร้าวเป็นพืชท่ีมีอายุยืนยาวท�ำให้มีศัตรูท�ำลายมากท้ังโรคและ แมลงระบาด ประกอบกบั บางพน้ื ทปี่ ระสบภยั แลง้ ตดิ ตอ่ กนั มาเปน็ เวลานาน ทำ� ใหพ้ น้ื ทก่ี ารระบาด ขยายวงกว้างขึ้นอย่างรวดเร็ว สร้างความเสียหายท�ำให้ผลผลิตของมะพร้าวลดลงจนไม่เพียงพอ ต่อความต้องการ เช่น การระบาดของหนอนร่านพาราซ่าในปี 2522 - 2523 เกิดการระบาด ทวั่ ประเทศนบั แสนไรโ่ ดยเฉพาะแหลง่ ปลกู ภาคใต้ เฉพาะทอี่ ำ� เภอทบั สะแก และอำ� เภอบางสะพาน จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธพ์ ้นื ท่ีระบาดมากกว่า 40,000 ไร่ ตงั้ แต่ปี 2547 เป็นต้นมาพบการระบาด ของแมลงด�ำหนามมะพร้าวชนิดใหม่ซึ่งเป็นแมลงต่างถ่ินระบาดในพ้ืนที่ปลูกมะพร้าวทางภาคใต้ และอีกหลายจงั หวดั ในภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาคตะวนั ออก มากกวา่ 20 จงั หวัด หลงั จาก นน้ั เมอ่ื ปี 2551 พบการระบาดของหนอนหวั ดำ� มะพรา้ ว ซงึ่ เปน็ แมลงตา่ งถนิ่ ทพ่ี บระบาดทป่ี ระเทศ อินเดยี และศรีลงั กา ปัจจบุ ันพ้ืนทีก่ ารระบาดขยายวงกว้างนบั แสนไร่ แมลงศัตรูมะพร้าวทพ่ี บแพร่กระจายทวั่ โลกมไี มน่ ้อยกวา่ 750 ชนดิ และมากกว่า 150 ชนิดเปน็ ศัตรโู ดยตรงของมะพร้าว ประเทศไทยพบมากกว่า 57 ชนิด และประมาณ 20 ชนดิ จดั ว่า มีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจ การป้องกันก�ำจัดแมลงศัตรูพืชให้มีประสิทธิภาพ จ�ำเป็นต้องทราบ รายละเอยี ดตา่ งๆ ของศตั รพู ชื ทง้ั การจำ� แนกชนดิ ชวี วทิ ยา วงจรชวี ติ นเิ วศวทิ ยา พฤตกิ รรม อปุ นสิ ยั การกิน พืชอาศัย เพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาการบริหารศัตรูพืช หรือการป้องกันก�ำจัด โดยวธิ ผี สมผสาน ซง่ึ วตั ถปุ ระสงคไ์ มใ่ ชใ่ หแ้ มลงหมดไป แตห่ ลกั การคอื คอยควบคมุ ปรมิ าณของแมลง ศัตรูพืชให้อยู่ในระดับที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย โดยยอมให้มีแมลงศัตรูพืชอยู่บ้างเพ่ือให้เหลือ เป็นอาหารของตวั ห้ำ� ตัวเบยี น ซึง่ จะท�ำให้เกิดสมดุลของธรรมชาติ แมลงศัตรูมะพร้าวทจี่ ัดวา่ มีความส�ำคญั และพบอยเู่ สมอ แบง่ ได้ 2 กลมุ่ ไดด้ งั น้ี กลมุ่ หนอนผเี สอ้ื เชน่ หนอนรา่ นกนิ ใบ หนอนปลอก หนอนบงุ้ และหนอนหวั ดำ� มะพรา้ ว เปน็ ตน้ กลมุ่ ดว้ งปกี แขง็ เชน่ ดว้ งแรดมะพรา้ ว แมลงดำ� หนามมะพรา้ ว และดว้ งงวงมะพรา้ ว เปน็ ตน้ ปัจจบุ ันแมลงศัตรูทีก่ �ำลงั ระบาดและเป็นปญั หาในมะพร้าว มเี พยี ง 4 ชนดิ ได้แก่ หนอน หัวดำ� มะพรา้ ว ดว้ งแรดมะพร้าว ด้วงงวงมะพร้าว และแมลงด�ำหนามมะพรา้ ว  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

หนอนหัวดำ�มะพรา้ ว ชือ่ สามญั หนอนหวั ด�ำมะพร้าว (coconut black-headed caterpillar) ชือ่ วิทยาศาสตร์ Opisina arenosella Walker วงศ ์ Oecophoridae อนั ดับ Lepidoptera ความส�ำคัญและลักษณะการเข้าท�ำลาย หนอนหัวด�ำมะพร้าวเป็นแมลงศัตรูพืชต่างถิ่นรุกราน พบระบาดคร้ังแรกเม่ือเดือนกรกฎาคม 2550 ท่ีสวนมะพร้าวของเกษตรกรในนิคมสร้างตนเอง และสวนมะพร้าวของเกษตรกรในต�ำบลอ่าวน้อย อ�ำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พบระบาดในพ้นื ทป่ี ระมาณ 500 ไร่ ตอ่ มาในเดือนพฤษภาคม 2551 พบระบาดในพนื้ ที่ อ�ำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และมีรายงานพบการระบาดท่ี ต�ำบลบางคูวัด อ�ำเภอเมือง จังหวัด ปทมุ ธานี และที่ ตำ� บลโพนขา่ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ศรสี ะเกษ รายงานปจั จบุ นั พบพน้ื ทห่ี นอนหวั ดำ� มะพรา้ วระบาด 24 จงั หวดั 72,080 ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.56 ของพนื้ ทป่ี ลกู พนื้ ทรี่ ะบาดมาก 5 อนั ดบั ไดแ้ ก่ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ (58,298 ไร่) สุราษฎร์ธานี (6,468 ไร่) ชลบรุ ี (2,263 ไร่) เพชรบุรี (1,662 ไร่) และ จังหวัดฉะเชิงเทรา (1,046 ไร่) มากไปกว่านั้นหนอนหัวด�ำมะพร้าวได้แพร่กระจายการระบาดมายังพ้ืนท่ีจังหวัดราชบุรี สมุทรสงคราม และสมทุ รสาคร เปน็ บรเิ วณกวา้ ง หนอนหวั ดำ� มะพรา้ วเปน็ แมลงศตั รทู สี่ ำ� คญั ชนดิ หนง่ึ ของมะพรา้ วในแถบเอเชยี ใต้ ได้แก่ อินเดีย และศรีลังกา และยังมีรายงานการระบาดในประเทศอินโดนีเซีย เมียนมาร์ บังคลาเทศ และปากีสถาน หนอนหวั ดำ� มะพรา้ วระยะตวั หนอนเทา่ นนั้ เขา้ ทำ� ลายใบมะพรา้ ว โดยจะแทะกนิ ผวิ ใบบรเิ วณใตท้ างใบ จากนน้ั จะถกั ใยนำ� มลู ทถ่ี า่ ยออกมาผสมกบั เสน้ ใยทส่ี รา้ งขนึ้ นำ� มาสรา้ งเปน็ อโุ มงคค์ ลมุ ลำ� ตวั ยาวตามทางใบบรเิ วณ ใตท้ างใบ ตวั หนอนอาศยั อยภู่ ายในอโุ มงคท์ ส่ี รา้ งขน้ึ และแทะกนิ ผวิ ใบ โดยทว่ั ไปหนอนหวั ดำ� มะพรา้ วชอบทำ� ลาย ใบแก่ หากการท�ำลายรนุ แรงจะพบวา่ หนอนหวั ด�ำมะพร้าวท�ำลายก้านทางใบ จน่ั และผลมะพรา้ ว ต้นมะพรา้ ว ทถ่ี กู หนอนหัวดำ� มะพรา้ วลงทำ� ลายทางใบหลายๆ ทาง พบวา่ หนอนหวั ด�ำมะพร้าวจะถกั ใยดงึ ใบมะพร้าวมาเรียง ตดิ กนั เปน็ แพ เมอื่ ตวั หนอนโตเตม็ ทแี่ ลว้ จะถกั ใยหมุ้ ลำ� ตวั อกี ครงั้ และเขา้ ดกั แดอ้ ยภู่ ายในอโุ มงค์ ดกั แดม้ สี นี ำ�้ ตาล เข้ม ดกั แดเ้ พศผ้จู ะมีขนาดเลก็ กวา่ ดกั แดเ้ พศเมียเลก็ น้อย ผีเสอ้ื หนอนหวั ด�ำมะพร้าวทผี่ สมพนั ธแ์ุ ล้วจะวางไขบ่ น เส้นใยท่ีสร้างเป็นอุโมงค์ หรือซากใบท่ีถูกหนอนหัวด�ำมะพร้าวลงท�ำลายแล้ว ตัวหนอนเม่ือฟักออกจากไข่จะอยู่ รวมกันเปน็ กลุ่ม 1 - 2 วัน ก่อนจะย้ายไปกดั กนิ ใบมะพรา้ ว จงึ มักพบหนอนหัวดำ� มะพร้าวหลายขนาดกดั กนิ อยู่ ในใบมะพร้าวใบเดียวกัน การท�ำลายส่วนใหญ่พบบนใบแก่ ใบที่ถูกท�ำลายจะมีลักษณะแห้งเป็นสีน้�ำตาล หากการทำ� ลายรุนแรงอาจทำ� ใหต้ น้ มะพรา้ วตายได้  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

ใบท่ีถูกหนอนหวั ด�ำมะพรา้ วทำ� ลาย ตน้ มะพรา้ วท่ีถูกหนอนหวั ดำ� มะพรา้ วท�ำลาย รูปร่างลักษณะและชีววทิ ยา ตวั เตม็ วยั ของหนอนหวั ด�ำมะพร้าวเปน็ ผเี สือ้ กลางคืน ขนาดลำ� ตัววดั จากหวั ถงึ ปลายทอ้ งยาว 1 - 1.2 เซนติเมตร ปกี สเี ทาอ่อน มีจดุ สีเทาเข้มทป่ี ลายปกี ล�ำตัวแบน ชอบเกาะนิ่งตัวแนบตดิ ผวิ พนื้ ทีเ่ กาะ เวลากลางวนั จะเกาะนิ่งหลบอยู่ใต้ใบมะพร้าว หรือในท่ีร่ม ผีเสื้อเพศเมียมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้เล็กน้อย ผีเส้ือเพศเมียที่ผสม พันธุ์แล้วสามารถวางไข่ และไข่ฟักเป็นตัวหนอน ผีเสื้อท่ีไม่ได้รับการผสมพันธุ์ก็สามารถวางไข่ได้ แต่ไข่ท้ังหมด จะไมฟ่ กั เป็นตวั หนอน ผเี ส้ือหนอนหัวด�ำมะพรา้ วเพศเมยี สามารถวางไข่ตั้งแต่ 49 ถงึ 490 ฟอง ไข่ ของผเี สอื้ หนอนหวั ดำ� มะพรา้ วมลี กั ษณะกลมรี แบน วางไขเ่ ปน็ กลมุ่ ไขเ่ มอ่ื วางใหมๆ่ มสี เี หลอื งออ่ น สีจะเข้มขนึ้ เมือ่ ใกล้ฟัก ระยะไข่ 4 - 5 วนั ตัวหนอน เม่ือฟักออกจากไข่จะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ก่อนท่ีจะย้ายเข้าไปกัดกินใบมะพร้าว ตัวหนอน ทฟี่ กั ใหมๆ่ จะมหี วั สดี ำ� ลำ� ตวั สเี หลอื ง สขี องสว่ นหวั จะเปลยี่ นเปน็ สนี ำ้� ตาลเขม้ เมอ่ื อายมุ ากขน้ึ ตวั หนอนมสี นี ำ�้ ตาล ออ่ นและมีลายสนี �ำ้ ตาลเขม้ พาดยาวตามลำ� ตวั เมื่อโตเต็มที่จะมีล�ำตัวยาว 2 - 2.5 เซนตเิ มตร การเจรญิ เตบิ โต ของหนอนหวั ดำ� มะพรา้ วในประเทศไทย พบวา่ หนอนหวั ดำ� มะพรา้ วสว่ นใหญจ่ ะเจรญิ เตบิ โตและมกี ารลอกคราบ 8 ครัง้ บางครง้ั อาจพบหนอนหัวด�ำมะพร้าวมกี ารลอกคราบ 6 - 10 ครั้งได้ ระยะหนอน 32 - 48 วนั ดักแด้ มีสนี ้�ำตาลเข้ม ดักแดเ้ พศผู้มีขนาดเลก็ กว่าดักแด้เพศเมียเล็กน้อย ระยะดักแด้ 9 - 11 วัน เอกสารวิชาการ  การจัดการศัตรูมะพร้าว

ตวั เตม็ วยั 5–11 วัน ไข่ 4–5 วัน ดักแด้ 9–11 วัน หนอน 32-48 วนั วงจรชีวิตหนอนหัวดำ� มะพรา้ ว Opisina arenosella พชื อาหาร พืชอาหารของหนอนหัวดำ� มะพร้าว ได้แก่ มะพรา้ ว ตาลโตนด อินทผลัม หมาก ปาลม์ น�้ำมัน ปาลม์ ประดับตา่ งๆ เชน่ ตาลฟ้า ปาลม์ หางกระรอก หมากเขยี ว หมากแดง เป็นตน้ ศัตรธู รรมชาติ ศตั รธู รรมชาตขิ องหนอนหวั ดำ� มะพรา้ ว ไดแ้ ก่ แตนเบยี นโกนโี อซสั นแี ฟนตดิ สิ Goniozus nephantidis แตนเบยี นบราคอน ฮีบีเตอร์ Bracon hebetor แตนเบียนดกั แด้ Brachymeria sp. และเชือ้ ราบิวเวอรเ์ รยี การปอ้ งกนั กำ� จดั 1. วิธีเขตกรรมและวิธีกล ตัดใบท่ีมีหนอนหัวด�ำมะพร้าวน�ำไปเผาท�ำลายทันที ไม่ควรเคลื่อนย้าย ต้นพนั ธม์ุ ะพรา้ วหรอื พชื ตระกูลปาลม์ มาจากแหล่งที่มกี ารระบาด 2. การใช้ชีววิธี การใช้แตนเบียนที่เฉพาะเจาะจงกับหนอนหัวด�ำมะพร้าว เช่น แตนเบียนโกนีโอซัส นแี ฟนติดิส Goniozus nephantidis  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

3. การใชช้ วี ภณั ฑ์ ใชแ้ บคทีเรียบาซิลลัส ทรู งิ เจียนซสี Bacillus thuringiensis อตั รา 100 มลิ ลลิ ิตร ตอ่ น�้ำ 20 ลติ ร ใช้เคร่ืองพน่ ให้ทั่วทรงพุม่ ควรพน่ ช่วงเยน็ เพ่ือหลีกเล่ียงแสงแดด (ตอ้ งเปน็ ผลิตภัณฑท์ ี่ผา่ นการ ขน้ึ ทะเบยี นชีวภัณฑ์จากกรมวชิ าการเกษตรแล้วเท่านัน้ ) 4. การใชส้ ารเคมี 4.1 ใช้สารอมี าเมกตนิ เบนโซเอต 1.92% EC เข้มข้นโดยไม่ต้องผสมนำ้� ฉดี เขา้ ทลี่ ำ� ต้นมะพรา้ ว (trunk injection) อัตรา 30 มิลลิลิตรต่อต้น โดยใช้สว่านเจาะรูให้เอียงลงประมาณ 45 องศา จ�ำนวน 2 รู ให้ตรงกันข้ามและต่างระดับกันเล็กน้อยเจาะรูให้ลึก 10 เซนติเมตร ต�ำแหน่งของรูอยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 1 เมตร แล้วฉีดสารฆ่าแมลงลงไปรูละ 15 มลิ ลิลิตร ปิดรดู ว้ ยดนิ นำ้� มัน วธิ นี ้จี ะปอ้ งกันก�ำจัดหนอนหัวดำ� มะพรา้ ว ไดน้ านมากกว่า 3 เดือน (วิธีการน้ีสามารถป้องกนั ก�ำจดั ไดท้ ้ังดว้ งแรดมะพร้าว ดว้ งงวงมะพร้าว แมลงดำ� หนาม มะพร้าว และหนอนหวั ด�ำมะพรา้ ว) แนะน�ำเฉพาะมะพร้าวที่มีความสูงมากกว่า 12 เมตร ขึ้นไป ห้ามใช้กับมะพร้าวน้�ำหอม มะพรา้ วกะทิ และมะพรา้ วที่ทำ� นำ้� ตาล 4.2 กรณีมะพร้าวต้นเล็กท่ีมีความสูงน้อยกว่า 12 เมตร รวมทั้งมะพร้าวกะทิ มะพร้าวน้�ำหอม และมะพร้าวท่ีท�ำน้�ำตาล เนื่องจากการวิจัยการฉีดสารเข้าต้น ยังอยู่ระหว่างการวิจัยหาอัตราที่เหมาะสม ทั้งดา้ นประสทิ ธิภาพและการตกคา้ ง ดังนน้ั หากในพ้ืนท่ีการระบาดรนุ แรง และไมม่ ีการปลอ่ ยแตนเบียน สามารถ ใช้สารฟลูเบนไดเอไมด์ 20% WG อัตรา 5 กรัม หรือคลอแรนทรานิลิโพร์ล 5.17% SC อัตรา 20 มิลลิลิตร หรอื สปินโนแสด 12% SC อัตรา 20 มิลลลิ ิตร หรือลูเฟนนูรอน 5% EC อัตรา 20 มิลลลิ ิตร (ฟลเู บนไดเอไมด์ และคลอแรนทรานลิ ิโพร์ล มีพษิ นอ้ ยตอ่ ผึง้ สปนิ โนแสดมพี ิษสูงตอ่ ผงึ้ สว่ น ลูเฟนนูรอนมพี ษิ สงู ต่อกงุ้ ) โดยเลอื ก สารชนดิ ใดชนดิ หนงึ่ ผสมสารอตั ราทกี่ ำ� หนดผสมนำ้� 20 ลติ ร พน่ 1 -2 ครงั้ ใหท้ วั่ ทรงพมุ่ จะมปี ระสทิ ธภิ าพปอ้ งกนั ก�ำจัดไดป้ ระมาณ 2 สัปดาห์ กรณที ่ีมีการปล่อยแตนเบยี น ให้พน่ สารเคมีก่อน ประมาณ 2 สปั ดาห์ ค่อยท�ำการ ปล่อยแตนเบยี น กรณที ี่มกี ารเคล่อื นยา้ ยต้นพนั ธ์ุ เพอ่ื ปอ้ งกันการแพรก่ ระจายของหนอนหวั ด�ำมะพรา้ วสามารถ ใช้วธิ กี ารน้ีได้เช่นเดยี วกนั เอกสารวิชาการ  การจัดการศัตรูมะพร้าว

แมลงดำ�หนามมะพรา้ ว ชอ่ื สามญั แมลงดำ� หนามมะพร้าว (coconut leaf beetle) ชือ่ วิทยาศาสตร์ Brontispa longissima (Gestro) วงศ์ Hispidae อนั ดับ Coleoptera ความส�ำคญั และลักษณะการเข้าทำ� ลาย แมลงด�ำหนามมะพร้าวเป็นแมลงศัตรูพืชต่างถ่ินรุกราน มีถิ่นก�ำเนิดในประเทศอินโดนีเซีย และปาปัวนิวกินี แมลงด�ำหนามมะพร้าวได้แพร่กระจายเข้าไปหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ได้แก่ ออสเตรเลีย ซามัว หมู่เกาะโซโลมอน เกาะตาฮิติ เกาะมลั ดฟี ส์ นารวั เกาะไหหล�ำ กวางโจว เวยี ดนาม สำ� หรบั ในประเทศไทยตรวจพบคร้ังแรกทจ่ี ังหวัดนราธิวาส ในปี 2543 เดิมทีเขา้ ใจวา่ เป็นแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว ชนดิ Plesispa reichei Chapuis ท่ีมีประจ�ำถ่ินและท�ำลายต้นมะพร้าวไมร่ ุนแรง แตต่ ่อมากรมวิชาการเกษตรได้ รบั รายงานเมอื่ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ 2547 วา่ พบแมลงดำ� หนามมะพรา้ วตา่ งถน่ิ นร้ี ะบาดอยา่ งรนุ แรงในอำ� เภอทบั สะแก บางสะพาน บางสะพานน้อย และอ�ำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และที่เกาะสมุย และเกาะพะงัน จังหวดั สุราษฎรธ์ านี และส�ำรวจพบว่ามกี ารแพรร่ ะบาดต่อไปยงั แหล่งอ่ืนๆ แมลงด�ำหนามมะพร้าวท�ำลายส่วนใบของมะพร้าว โดยทั้งตัวเต็มวัย และตัวอ่อนอาศัยอยู่ในใบอ่อน ที่ยังไม่คล่ีของมะพร้าว และแทะกินผิวใบ ใบมะพร้าวท่ีถูกท�ำลายเม่ือใบคลี่กางออกจะมีสีน�้ำตาลอ่อน หากใบมะพร้าวถูกท�ำลายติดต่อกันเป็นเวลานานจะท�ำให้ยอดของมะพร้าวมีสีน�้ำตาลเม่ือมองไกลๆ จะเห็น เป็นสขี าวโพลน ชาวบ้านเรียกว่า “มะพร้าวหวั หงอก”  ต้นมะพรา้ วถกู แมลงด�ำหนามมะพรา้ ว Brontispa longissima ท�ำลาย เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

รปู ร่างลกั ษณะและชวี วทิ ยา แมลงด�ำหนามมะพร้าวเพศเมียเมื่อได้รับการผสมพันธุ์แล้วจะวางไข่เป็นฟองเด่ียวๆ หรือเป็นกลุ่ม กล่มุ ละ 2 - 5 ฟอง ระยะไข่ 4 – 5 วนั เฉลยี่ 4.2 วัน ระยะหนอน 18 - 26 วนั เฉล่ีย 21.56 วนั ตัวหนอนมกี าร ลอกคราบ 4 - 5 คร้งั ระยะดักแด้ 5 - 6 วัน เฉลี่ย 5.7 วัน ตวั เตม็ วยั เพศเมียมีอายุ 13 - 133 วนั เฉลย่ี 54.8 วัน ตวั เตม็ วัยเพศผู้มีอายุ 21 - 110 วนั เฉล่ีย 65.2 วัน เมอื่ เลยี้ งดว้ ยใบแกม่ ะพร้าว  ตวั เต็มวยั 56-70 วนั ไข่ 4–5 วัน   ดักแด้ 5–6 วนั หนอน 18-26 วนั วงจรชีวิตแมลงดำ� หนามมะพร้าว Brontispa longissima ตัวเตม็ วยั แมลงด�ำหนามมะพรา้ ว Brontispa longissima  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

พชื อาหาร พืชอาหาร ไดแ้ ก่ มะพรา้ ว ศัตรูธรรมชาติ ศัตรูธรรมชาติของแมลงด�ำหนามมะพร้าว ได้แก่ แตนเบียนอะซีโคเดส ฮิสไพนารัม Asecodes hispinarum แตนเบียนเตตระสตคิ สั บรอนทิสปี้ Tetrastichus brontispae และเชอ้ื ราบิวเวอร์เรยี การป้องกันก�ำจดั 1. วิธีเขตกรรมและวิธีกล ไม่ควรเคลื่อนย้ายต้นพันธุ์มะพร้าวหรือพืชตระกูลปาล์มมาจากแหล่ง ทีม่ ีการระบาด 2. การใชช้ วี วธิ ี การใชแ้ ตนเบียนท่เี ฉพาะเจาะจงกับแมลงด�ำหนามมะพร้าว เช่น แตนเบียนอะซีโคเดส ฮสิ ไพนารมั Asecodes hispinarum ซึ่งนำ� เขา้ จากประเทศเวียดนาม มาเลี้ยงขยายเพม่ิ ปริมาณ และปลดปล่อย ทำ� ลายหนอนแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว และแตนเบยี นเตตระสตคิ สั บรอนทสิ ป้ี Tetrastichus brontispae ทำ� ลาย ดกั แดแ้ มลงด�ำหนามมะพรา้ ว 3. การใช้สารเคมี 3.1 กรณมี ะพรา้ วสงู กวา่ 12 เมตร การฉีดสารเข้าต้น ดว้ ยสารอมิ าเมกตนิ เบนโซเอต ปอ้ งกนั ก�ำจัด หนอนหัวดำ� มะพร้าวจะมปี ระสิทธิภาพปอ้ งกนั กำ� จดั แมลงดำ� หนามมะพร้าวไดเ้ ชน่ กนั 3.2 กรณมี ะพร้าวต้นเล็ก ผลการวจิ ยั พบวา่ การใช้สาร อมิ ดิ าโคลพริด 70% WG, ไทอะมที อกแซม 25% WG และไดโนทฟี ูแรน 10% WP อตั รา 4, 4 และ 10 กรมั ละลายน้ำ� 1 ลติ รตอ่ ตน้ ราดบรเิ วณยอดและรอบ คอมะพร้าวหรือการใชส้ าร คาร์แทป ไฮโดรคลอไรด์ 4% GR หรอื คลอรไ์ พรฟิ อส 75% WG ใสถ่ ุงผ้าที่ดดั แปลง คลา้ ยถงุ ชา อัตรา 30 กรัมตอ่ ตน้ มีประสทิ ธภิ าพป้องกันกำ� จดั แมลงด�ำหนามมะพร้าวไดน้ านประมาณ 1 เดือน  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

ด้วงแรดมะพรา้ ว ช่อื สามัญ ด้วงแรดมะพรา้ วชนดิ เลก็ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Oryctes rhinoceros (Linnaeus) ช่อื สามญั ดว้ งแรดมะพรา้ วชนดิ ใหญ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ Oryctes gnu Mohner วงศ์ Scarabaeidae อนั ดับ Coleoptera ความสำ� คญั และลกั ษณะการเข้าทำ� ลาย ด้วงแรดมะพร้าวท่ีพบในแหล่งปลูกมะพร้าวและพืชตระกูลปาล์ม มี 2 ชนิด คือด้วงแรดมะพร้าว ชนดิ เลก็ Oryctes rhinoceros (Linnaeus) พบไดบ้ อ่ ย และพบทว่ั ทกุ ภาคของประเทศไทย อกี ชนดิ หนงึ่ คอื ดว้ งแรด มะพรา้ วชนิดใหญ่ Oryctes gnu Mohner ส่วนใหญพ่ บในเขตภาคใตข้ องประเทศไทยต้งั แต่จังหวดั ชมุ พรลงมา ด้วงแรดมะพร้าวเป็นแมลงที่มีพฤติกรรมชอบซุกซ่อนตัวเอง ท้ังตัวเต็มวัย หนอน ดักแด้ และไข่ จึงมักพบอยู่ในแหล่งที่ไม่มีแสงสว่าง เฉพาะตัวเต็มวัยเท่าน้ันท่ีท�ำลายพืชสด จึงมักพบในแหล่งท่ีเป็นอาหาร ตวั เตม็ วยั จะบนิ ขนึ้ ไปเจาะกนิ ยอดมะพรา้ วหรอื ปาลม์ นำ�้ มนั โดยในรทู ถ่ี กู เจาะอาจพบดว้ งมากกวา่ 1 ตวั มรี ายงาน ว่าในต้นปาล์มประดับเคยพบด้วงแรดซุกซ่อนตามโคนกาบทางใบมากกว่า 10 ตัว นอกจากน้ียังพบในแหล่ง ขยายพันธุ์ ตัวเต็มวัยออกหากินเวลาพลบค�่ำและก่อนพระอาทิตย์ขึ้น ในสภาพธรรมชาติมักพบด้วงแรด บินมาเล่นแสงไฟหลังฝนตก ในเวลากลางคืนด้วงแรดมักบินไปมาในระยะทางส้ันๆ ระหว่างแหล่งที่เป็นอาหาร และแหลง่ ขยายพันธ์ุ มีรายงานว่าด้วงแรดสามารถบนิ ไดน้ าน 2 - 3 ชวั่ โมง เป็นระยะทางไกล 2 - 4 กโิ ลเมตร ตัวหนอนของด้วงแรดล�ำตัวมักจะงอเป็นรูปอักษร C บางครั้งเห็นส่วนหัวกับส่วนท้ายล�ำตัวเกือบชนกัน ถา้ หนอนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมอาจมอี ายยุ นื ยาวถึง 420 วนั ส่วนดกั แด้ มักมีรปู ร่างลักษณะตา่ งกนั ไปตามแหล่งขยายพันธุ์ เช่น ถ้าพบในซากท่อนมะพร้าวหรือปาล์มน�้ำมันท่ีผุพัง หนอนวัยสุดท้ายจะสร้างรัง มีลกั ษณะเป็นโพรงรปู ไขเ่ พื่อเข้าดกั แด้ ถา้ อยูใ่ นกองปุย๋ หมกั ปยุ๋ คอก กองข้เี ลื่อย กองขยะ กองเศษพืชเนา่ เป่อื ย หนอนวัยสุดท้ายจะสร้างรังโดยใช้วัสดุเหล่านั้นปั้นเป็นก้อนรูปไข่ขนาดใหญ่และเข้าดักแด้อยู่ภายใน บางคร้ัง พบหนอนเข้าดกั แดอ้ ยใู่ นดนิ มรี ายงานวา่ พบดกั แด้อยใู่ ต้ดินลกึ ถึง 150 เซนตเิ มตร เอกสารวิชาการ  การจัดการศัตรูมะพร้าว

ต้นมะพรา้ วที่ถูกดว้ งแรดทำ� ลาย ตัวเต็มวัยเข้าท�ำลายพืช โดยการบินข้ึนไปกัดเจาะโคนทางใบหรือยอดอ่อนของมะพร้าวหรือพืช ตระกลู ปาลม์ รวมทงั้ เจาะทำ� ลายยอดออ่ นทใ่ี บยงั ไมค่ ลี่ ท�ำให้ใบที่เกิดใหม่ไม่สมบูรณ์ มีรอยขาดแหว่งเป็นร้ิวๆ คล้ายหางปลา หรือรูปพัด ถ้าโดนท�ำลายมากๆ จะท�ำให้ใบท่ีเกิดใหม่แคระแกรน รอยแผลท่ีถูกด้วงแรดกัด เปน็ เนอ้ื เยอ่ื ออ่ นทำ� ใหด้ ว้ งงวงมะพรา้ วเขา้ มาวางไข่ หรอื เปน็ ทางใหเ้ กดิ ยอดเนา่ จนถงึ ตน้ ตายไดใ้ นทสี่ ดุ ดว้ งแรดมะพรา้ ว ในระยะตัวหนอน ส่วนใหญ่พบตามพ้ืนดินในบริเวณท่ีมีการกองปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก จะกัดกินและท�ำลายระบบ รากของมะพรา้ วและปาลม์ ปลกู ใหมท่ ำ� ใหพ้ บอาการยอดเหยี่ วและแหง้ เปน็ สนี ำ�้ ตาลตน้ แคระแกรนไมเ่ จรญิ เตบิ โต รูปรา่ งลักษณะและชวี วิทยา ด้วงแรดมะพร้าวชนิดเล็ก และด้วงแรดมะพร้าวชนิดใหญ่มีรูปร่างลักษณะที่คล้ายกัน แต่ต่างกันเพียง ขนาดลำ� ตวั และขอบของแผน่ ปกคลมุ ดา้ นหลงั ของสว่ นอก ซง่ึ มลี กั ษณะคลา้ ยฟนั เลก็ ๆ ดว้ งแรดมะพรา้ วชนดิ ใหญ่ มี 3 ซี่ ด้วงแรดชนดิ เล็กมี 2 ซี่ ไข่ มีลักษณะกลมรี สีขาวนวล ขนาดกว้าง 2 - 3 มิลลิเมตร ยาว 3 - 4 มิลลิเมตร เม่ือใกล้ฟักไข่ จะมีสีน�้ำตาลอ่อน โดยปกติไข่จะถูกวางลึกลงไปจากดินประมาณ 5 - 15 เซนติเมตร ในแหล่งขยายพันธุ์ ท่ีมีการย่อยสลายของอินทรีย์วัตถุต่างๆ สมบูรณ์แล้ว บางคร้ังอาจพบท่ีตอมะพร้าวผุ โดยไข่จะถูกฝังอยู่ใต้ เปลอื กมะพรา้ วรอบตอทผี่ นุ น้ั หนอน เมื่อฟกั ออกมาจากไขใ่ หมๆ่ ลำ� ตวั มีสขี าว ขนาด 2 x 7.5 มิลลเิ มตร หวั กะโหลกสนี �ำ้ ตาลออ่ น กว้างประมาณ 2 - 2.5 มิลลิเมตร มีขาจริง 3 คู่ ด้านข้างล�ำตัวมีรูหายใจจ�ำนวน 9 คู่ เม่ือหนอนกินอาหาร แลว้ ผนงั ลำ� ตวั จะมลี กั ษณะโปรง่ ใส มองเหน็ ภายในสดี ำ� หนอนเมอื่ เจรญิ เตบิ โตเตม็ ทจ่ี ะมขี นาดลำ� ตวั ยาวประมาณ 60 - 90 มิลลิเมตร ดกั แด้ เม่ือหนอนเจริญเติบโตเตม็ ท่ีจะหยุดกินอาหารและสร้างรงั เปน็ โพรง หนอนจะหดตัวอย่ภู ายใน เปน็ เวลา 5 - 8 วนั จงึ เปลย่ี นรปู รา่ งเปน็ ดกั แดส้ นี ำ้� ตาลแดง ขนาดประมาณ 22 x 50 มลิ ลเิ มตร สามารถแยกเพศได้ โดยดักแด้เพศผู้จะเห็นสว่ นท่ีเปน็ ระยางค์คลา้ ยเขายนื่ ยาวชดั เจนกว่าของเพศเมยี ตัวเต็มวัย เป็นด้วงปีกแข็งสีดำ� เป็นมันวาว ใต้ท้องสีน�้ำตาลแดง มีขนาดกว้าง 20 - 23 มิลลิเมตร ยาว 30 - 52 มลิ ลเิ มตร สามารถแยกเพศได้โดยตวั เต็มวัยเพศผ้มู ีเขาลักษณะคลา้ ยเขาแรดอยู่บนส่วนหัวยาวโคง้  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

ไปทางด้านหลัง ขณะที่เขาของตัวเมียสั้นกว่า และบริเวณท้องปล้องสุดท้ายของเพศเมียมีขนสีน้�ำตาลแดงขึ้น หนาแน่นกวา่ ของเพศผู้ วงจรชีวติ ตง้ั แต่ไขจ่ นถึงตวั เตม็ วัย ใช้เวลาประมาณ 120 - 270 วนั โดยเฉล่ยี ประมาณ 180 วนั  ตัวเต็มวัย 90-120 วัน ไข่ 10-12 วัน   ดกั แด้ 23-28 วนั หนอน 80-150 วนั วงจรชวี ติ ด้วงแรดมะพร้าว Oryctes rhinoceros การผสมพันธแ์ุ ละปริมาณการวางไข่ ดว้ งแรดมะพรา้ วมอี ายยุ นื ยาวหลายเดอื นจงึ มกี ารผสมพนั ธห์ุ ลายครงั้ ตลอดอายขุ ยั มรี ายงานวา่ ดว้ งแรด มะพรา้ วเพศเมยี รบั การผสมพนั ธุ์ได้สูงสุดถึง 8 ครั้ง และดว้ งแรดมะพร้าวเพศเมยี ท่ไี ดร้ บั การผสมพันธคุ์ ร้งั เดยี ว สามารถวางไขท่ ี่สมบูรณไ์ ด้นานถึง 130 วัน ดว้ งแรดมะพรา้ วชอบวางไขใ่ นแหลง่ ขยายพันธทุ์ ม่ี ีความชน้ื พอเหมาะ ที่อุณหภูมิระหว่าง 20 - 30 องศาเซลเซียส ด้วงแรดมะพร้าวเพศเมียจะรับการผสมพันธุ์และวางไข่เมื่อ ออกจากดกั แดแ้ ลว้ ประมาณ 40 - 50 วนั วางไขค่ รงั้ ละประมาณ 10 - 30 ฟอง และวางไขไ่ ดส้ งู สดุ ประมาณ 152 ฟอง เอกสารวิชาการ  การจัดการศัตรูมะพร้าว

แหลง่ ขยายพนั ธ์ุของด้วงแรดมะพรา้ ว แหลง่ ขยายพนั ธข์ุ องดว้ งแรดมะพรา้ ว คอื สถานทผี่ สมพนั ธ์ุ วางไข่ และเปน็ แหลง่ อาหารของหนอนดว้ ง แรดมะพร้าววัยต่างๆ การระบาดที่พบส่วนใหญ่เกิดจากการปล่อยปละละเลยของเกษตรกรในการท้ิงเศษพืช หรือการกองวัสดุท่ีเป็นแหล่งขยายพันธุ์ และการขยายพ้ืนที่ปลูกมะพร้าวหรือปาล์มน�้ำมัน การโค่นต้นเก่า ที่มีอายุมากเพื่อปลูกใหม่ทดแทนท�ำให้มีแหล่งขยายพันธุ์ของด้วงแรดมะพร้าวเพิ่มมากข้ึน ประชากรด้วงแรด มะพร้าวที่เกิดใหม่จะเข้าท�ำลายต้นมะพร้าวหรือปาล์มท้ังที่ปลูกใหม่ และระยะท่ีให้ผลผลิต ส�ำหรับต้นที่มี ขนาดเล็กอาจท�ำให้ต้นผิดปกติและตายในท่ีสุด แหล่งขยายพันธุ์ของด้วงแรดมะพร้าว ได้แก่ ซากเน่าเปื่อย ของตอมะพร้าวหรือปาล์มน้�ำมัน ซากทะลายปาล์มน�้ำมัน กองมูลสัตว์เก่า กองปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ขุยมะพร้าว กากเมล็ดกาแฟ กากปาล์ม รวมทงั้ ซากพชื ตา่ งๆ ท่เี น่าเปอ่ื ย ฯลฯ แหลง่ ขยายพันธขุ์ องดว้ งแรดมะพร้าวบนตอมะพรา้ วผุ และกองเศษเปลอื กมะพร้าว การแพร่กระจายและฤดกู าลระบาด ด้วงแรดมะพร้าวสามารถแพร่กระจายได้ทั่วประเทศและเกิดได้ตลอดท้ังปี ปริมาณการเกิดจะมาก หรือน้อยข้ึนอยู่กับแหล่งขยายพันธุ์ จากการศึกษาพบว่าในท้องที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ฤดูที่ด้วงแรดมะพร้าว ผสมพันธ์แุ ละวางไขม่ ากท่ีสดุ อยูร่ ะหว่างเดือนมิถนุ ายนถึงเดอื นกรกฎาคม ดังนนั้ จะพบความเสยี หายอยู่ระหวา่ ง เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนพฤษภาคม พชื อาหาร พชื อาหารของดว้ งแรดมะพร้าว ได้แก่ มะพรา้ ว และพชื ตระกูลปาลม์ ต่างๆ  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

ศตั รูธรรมชาติ ศัตรูธรรมชาติของด้วงแรดมะพรา้ ว ไดแ้ ก่ เชอ้ื ราเขียวเมตาไรเซยี ม Metarhizium sp. การปอ้ งกันกำ� จัด 1. วิธีเขตกรรม ท�ำความสะอาดบริเวณสวนมะพร้าวเพ่ือก�ำจัดแหล่งขยายพันธุ์ เป็นวิธีท่ีใช้ได้ผลดี มานาน ถ้ามกี องปุ๋ยหมกั ปยุ๋ คอก กองขยะ กองข้ีเล่ือย แกลบควรกำ� จดั ออกไปจากบรเิ วณสวน หรือกองให้เป็น ที่แล้วหมั่นกลับเพื่อตรวจดู หากพบหนอนให้จับท�ำลายหรือเผากองขยะน้ันเสีย ส่วนของล�ำต้นและตอมะพร้าว ท่ีโค่นท้ิงไว้ หรือมะพร้าวที่ยืนต้นตายควรโค่นลงมาเผาท�ำลาย ต้นมะพร้าวที่ถูกตัดเพื่อปลูกแทน ถ้ายังสดอยู่ เผาทำ� ลายไมไ่ ด้ ควรทอนออกเปน็ ทอ่ นสน้ั ๆ นำ� มารวมกนั ไว้ ปลอ่ ยใหผ้ สุ ลายลอ่ ใหด้ ว้ งแรดมาวางไข่ ดว้ งจะวางไข่ ตามเปลือกมะพร้าวที่อยู่ติดกับพ้ืนดินเพราะมีความชุ่มชื้นสูงและผุเร็ว เผาท�ำลายท่อนมะพร้าวเพ่ือก�ำจัดท้ังไข่ หนอนและดักแด้ของด้วงแรดมะพร้าว ตอมะพร้าวท่ีเหลือให้ใช้น�้ำมันเครื่องใช้แล้วราดให้ท่ัวตอเพื่อป้องกัน การวางไขไ่ ด้ 2. การใช้ชวี วธิ ี ใช้เชื้อราเขียว Metarhizium sp. ใส่ไว้ตามกองขยะ กองปุ๋ยคอก หรือท่อนมะพร้าวที่ มีหนอนดว้ งแรดมะพรา้ วอาศัยอยู่ เกลี่ยเชื้อใหก้ ระจายท่วั กอง เพื่อใหเ้ ชื้อมีโอกาสสมั ผัสกับตวั หนอนใหม้ ากทส่ี ดุ รดน�้ำให้ความช้ืน หาวัสดุ เช่น ใบมะพร้าวคลุมกองไว้ เพ่ือรักษาความช้ืนและป้องกันแสงแดด เชื้อจะท�ำลาย ดว้ งแรดมะพร้าวทุกระยะการเจริญเติบโต 3. การใช้สารเคมี 3.1 ตน้ มะพรา้ วอายุ 3 - 5 ปี ซ่งึ ยงั สูงไมม่ าก ใชล้ ูกเหม็นใสบ่ รเิ วณคอมะพร้าวท่ีโคนทางใบรอบๆ ยอดออ่ น ทางละ 2 ลกู ตน้ ละ 6 - 8 ลกู กลน่ิ ของลกู เหมน็ จะไลไ่ มใ่ หด้ ว้ งแรดมะพรา้ วบนิ เขา้ ไปทำ� ลายคอมะพรา้ ว 3.2 ใชส้ ารฆา่ แมลงคลอรไ์ พรฟิ อส 40% EC หรอื ไดอะซนิ อน 60% EC หรือ คารโ์ บซัลแฟน 20% EC ชนดิ ใดชนดิ หนง่ึ อตั รา 80 มิลลิลิตรผสมนำ้� 20 ลติ ร ราดบริเวณคอมะพร้าวต้ังแต่โคนยอดอ่อนลงมาใหเ้ ปยี ก โดยใช้ปริมาณ 1 - 1.5 ลติ ร ทุก 15 - 20 วนั ควรใช้ 1 - 2 ครัง้ ในช่วงระบาด เอกสารวิชาการ  การจัดการศัตรูมะพร้าว

ด้วงงวงมะพรา้ ว ด้วงงวงมะพร้าว หรือด้วงสาคู หรือ ด้วงลาน ในประเทศไทยพบท�ำลายมะพร้าวอยู่ 2 ชนิด คือ ด้วงงวงมะพร้าวชนิดเล็ก และด้วงงวงมะพร้าวชนิดใหญ่ ท้ังสองชนิดจัดเป็นแมลงศัตรูท่ีมีความส�ำคัญ ทางเศรษฐกิจมาก ด้วงงวงมะพร้าวชนิดใหญ่มักชอบท�ำลายมะพร้าวบริเวณยอดอ่อน ในขณะท่ีด้วงงวง ด้ชนิดเล็กชอบเจาะหรอื ท�ำลายบริเวณล�ำตน้ วงงวงมะพรา้ วชนดิ เล็ก ชอ่ื สามญั ด้วงงวงมะพร้าวชนดิ เล็ก ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Rhynchophorus ferrugineus (Olivier) วงศ ์ Curculionidae อันดับ Coleoptera ความส�ำคญั และลกั ษณะการเข้าทำ� ลาย การท�ำลายของดว้ งงวงมะพร้าว ดว้ งงวงมะพรา้ วชนดิ เลก็ ทำ� ลายมะพรา้ วโดยเจาะเขา้ ไปในลำ� ตน้ และสว่ นยอด เชน่ บรเิ วณคอมะพรา้ ว การเข้าท�ำลายในระยะเร่ิมแรกเกษตรกรอาจไม่ทราบ เพราะหนอนเจาะเข้าไปกัดกินและเจริญเติบโตอยู่ภายใน ตน้ มะพรา้ วตลอดชพี จกั ร กวา่ จะทราบมะพร้าวกถ็ ูกท�ำลายอยา่ งรนุ แรง เชน่ ยอดเนา่ หรอื ล�ำตน้ ถกู กัดกินจนเปน็ โพรงไมอ่ าจปอ้ งกนั หรอื รกั ษาไดท้ นั การณ์ มะพรา้ วทถี่ กู ดว้ งงวงมะพรา้ วทำ� ลายสว่ นใหญจ่ ะตาย ดว้ งงวงมะพรา้ ว ชนิดเล็กมักท�ำลายตามรอยท�ำลายของด้วงแรดมะพร้าว โดยวางไข่บริเวณบาดแผลตามล�ำต้นหรือบริเวณ ท่ีด้วงแรดมะพร้าวเจาะไว้ หรือบริเวณรอยแตกของเปลือก ด้วงงวงมะพร้าวเองก็สามารถเจาะส่วนท่ีอ่อนของ มะพร้าวเพ่ือวางไข่ได้ หนอนที่ฟักออกจากไข่จะกัดกินชอนไชไปในต้นมะพร้าว ท�ำให้เกิดแผลเน่าภายใน ต้นมะพร้าวท่ีถูกท�ำลายจะแสดงอาการเฉาหรือยอดหักพับ เพราะบริเวณที่หนอนท�ำลายจะเป็นโพรง มีรูและ แผลเน่าตอ่ เน่อื งไปในบรเิ วณใกลเ้ คยี ง หนอนจะกัดกินไปจนกระทง่ั ตน้ เปน็ โพรงใหญ่ไมส่ ามารถส่งน้�ำและอาหาร ไปถึงยอดได้ และท�ำใหต้ น้ มะพรา้ วตายในทสี่ ดุ รูปรา่ งลกั ษณะและชวี วทิ ยา ตัวเต็มวัย เป็นด้วงสีน้�ำตาลแดงหรือน้�ำตาลด�ำ บริเวณด้านหลังของส่วนอกมีสีน�้ำตาลแดงอาจมีจุด หรือลาย ด้วงมีขนาดแตกต่างกันคือประมาณ 25 - 50 มิลลิเมตร ส่วนหัวมีงวงยื่นออกมา เพศผู้มีงวงส้ันกว่า เพศเมยี และมีขนสน้ั ๆ ขนึ้ หนาแน่นตามความยาวของงวง เพศเมยี ไม่มีขนบรเิ วณงวง ดว้ งงวงมะพรา้ วสามารถ บินได้แข็งแรง บินได้ไกลประมาณ 900 เมตร และหากินในเวลากลางวัน ด้วงตัวเต็มวัยมีชีวิตอยู่ได้ประมาณ 61- 139 วัน เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

ไข่ ดว้ งงวงตัวเมยี วางไขไ่ ดป้ ระมาณ 30 ฟองต่อวัน ตลอดอายุขัยสามารถวางไขไ่ ดป้ ระมาณ 527 ฟอง การฟักของไข่ประมาณ 80% วางไข่เด่ียวๆ โดยใช้งวงเจาะให้เป็นรูแล้วใช้อวัยวะส�ำหรับวางไข่สอดเข้าไปวาง ในรู ทเ่ี จาะ ไขม่ สี ขี าว รปู รา่ งยาวรี ขนาดยาวประมาณ 2 มลิ ลเิ มตร กวา้ ง 0.7 มลิ ลเิ มตร อายไุ ขป่ ระมาณ 2 - 3 วนั หนอน เรม่ิ ต้นฟักออกจากไขห่ นอนมสี ขี าว หวั สีน�้ำตาลแดง ลำ� ตัวย่นเป็นปลอ้ งๆ มขี นาดยาวประมาณ 1.8 มิลลิเมตร กวา้ ง 0.9 มลิ ลเิ มตร หนอนมกี ารลอกคราบ 10 - 11 คร้ัง หนอนจะอาศัยกนิ อย่ภู ายในตน้ มะพรา้ ว ตลอดช่ัวอายุการท�ำลายของหนอนจึงไม่ปรากฏให้เห็นจนกว่าต้นมะพร้าวจะแสดงอาการ เช่น ล�ำต้นเป็นโพรง ยอดเน่า ใบเห่ียวเฉา เป็นต้น เม่ือเจริญเติบโตเต็มที่หนอนมีขนาดล�ำตัวยาวประมาณ 30-40 มิลลิเมตร กว้าง 15 - 18 มลิ ลเิ มตร ระยะหนอนประมาณ 61 - 109 วนั ดักแด้ เม่ือเข้าดักแด้ หนอนจะใช้เศษอาหารเช่นเศษใบพืชสร้างเป็นรังดักแด้ หากอยู่ในต้นมะพร้าว จะใช้เส้นใยจากต้นมะพร้าวสร้างเป็นรัง รังดักแด้มีรูปร่างกลมยาว มีลักษณะขรุขระค่อนข้างรุงรัง แต่แน่นหนา แข็งแรง และห่อหุ้มหนอนจนมองไม่เห็น รังยาวประมาณ 80 มิลลิเมตร ประมาณ 2 - 3 วัน จากนั้นหนอน จะเปลย่ี นรปู รา่ งเปน็ ดกั แดส้ ขี าวนวล ลกั ษณะคลา้ ยตวั เตม็ วยั ระยะดกั แด้ 9 - 25 วนั จากนน้ั จงึ ออกเปน็ ตวั เตม็ วยั ชพี จกั รจากไขจ่ นเปน็ ตัวเตม็ วยั ใช้เวลาประมาณ 75 - 135 วัน ด้วงงวงมะพรา้ วชนดิ ใหญ่ ชอ่ื สามัญ ด้วงงวงมะพร้าวชนดิ ใหญ่ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Rhynchophorus vulneratus (Panzer) วงศ ์ Curculionidae อนั ดบั Coleoptera ความส�ำคัญและลักษณะการเขา้ ทำ� ลาย การท�ำลายของดว้ งงวงมะพรา้ ว ดว้ งงวงมะพร้าวชนิดใหญ่ เปน็ แมลงศัตรูส�ำคัญของมะพร้าวอีกชนดิ หนงึ่ เคยระบาดรนุ แรงในจงั หวดั ทางภาคใต้ของประเทศไทยต้ังแต่จังหวัดชุมพรลงไป โดยเฉพาะท่ีอ�ำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส และอ�ำเภอ ปากพนงั จงั หวดั นครศรีธรรมราช หนอนของดว้ งงวงจะอาศัยกดั กินในตน้ มะพร้าวตลอดอายุขยั จนกระท่ังเจริญ เติบโตเป็นดักแด้และตัวเต็มวัยภายในล�ำต้นเช่นเดียวกับด้วงงวงมะพร้าวชนิดเล็ก จึงยากต่อการป้องกันก�ำจัด หากหนอนเข้าท�ำลายบรเิ วณยอดจะทำ� ให้มะพรา้ วตายอยา่ งรวดเร็ว รปู ร่างลักษณะและชวี วทิ ยา ตัวเต็มวัย ตัวเต็มวัยเป็นด้วงมีลักษณะคล้ายคลึงกับด้วงงวงมะพร้าวชนิดเล็ก แต่มีขนาดใหญ่กว่า คือลำ� ตัวยาวประมาณ 48 - 51 มลิ ลเิ มตร กวา้ ง 16 - 18 มลิ ลเิ มตร ส่วนหวั สหี มากสุกตลอดจนถงึ งวงดา้ นบน ด้านล่างของงวงสีด�ำ หนวดสีน�้ำตาล มีแผงขนท่ีปลายหนวดเป็นแผ่นสีเหลืองอมน�้ำตาล ปีกสีด�ำ ปีกคู่หน้า เป็นร่องยาวขนานตามล�ำตัว ตรงก่ึงกลางปีกด้านบนสามเหลี่ยมสีด�ำบนพื้นสีแสดเพศเมียขนาดใหญ่กว่าเพศผู้ แต่มีงวงเรียวเล็กกว่า ดว้ งตวั เต็มวัยมอี ายไุ ด้นานประมาณ 3 เดือน  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

ไข่ ด้วงงวงเพศเมียวางไข่ได้ประมาณ 20 - 30 ฟองต่อวัน ตลอดชีวิตวางไข่ได้ 350 - 900 ฟอง การฟักของไข่ 50 - 70 เปอร์เซน็ ต์ จะวางไขโ่ ดยใช้งวงเจาะแล้วหนั ตัวใชอ้ วยั วะสำ� หรับวางไข่สอดลงในรูที่เจาะไว้ ปกตริ ทู เี่ จาะจะเฉยี งประมาณ 45 องศา ไขอ่ ยลู่ กึ จากผวิ ประมาณ 5 มลิ ลเิ มตร มลี กั ษณะกลมรี สขี าวเรยี บเปน็ มนั ยาวประมาณ 1.9 - 2.1 มลิ ลเิ มตร ระยะไขป่ ระมาณ 3 วนั หนอน จากนั้นไข่จะฟักออกเป็นตัวหนอนสีขาว ขนาดล�ำตัวยาวประมาณ 2.9 - 3.1 มิลลิเมตร กวา้ ง 0.9 - 1.1 มิลลิเมตร เมื่อเจริญเติบโตขึน้ ส่วนหวั จะคอ่ ยๆ เปลี่ยนเป็นสนี ำ�้ ตาลอ่อนและเข้มข้นึ ตามล�ำดบั เป็นสีน�ำตาลแก่ ผิวของล�ำตัวเป็นรอยย่นด้านหลังของหนอนโค้งนูนและค่อยๆ ลาดลงทางส่วนหัวและส่วนท้าย เมอื่ โตเตม็ ที่หนอนมีขนาดยาว 50 - 60 มลิ ลิเมตร ระยะหนอน 115 - 117 วนั ดกั แด้ กอ่ นเขา้ ดกั แดห้ นอนจะสรา้ งรงั ดว้ ยเสน้ ใยจากตน้ มะพรา้ วสานขดั กนั ไปมาเปน็ วงตดิ กนั ใชเ้ วลา สรา้ งรังประมาณ 5 วัน แล้วเขา้ ดกั แดอ้ ยภู่ ายในรงั ขนาดของรังดกั แดย้ าว 89 - 91 มลิ ลเิ มตร กว้าง 38 - 42 มลิ ลิเมตร ดักแด้เป็นแบบ exarate ระยะแรกสขี าวเป็นมนั ตอ่ มาคอ่ ยๆ เปลีย่ นเปน็ สนี ้�ำตาลออ่ น งวงจะลู่มาตาม ส่วนทอ้ ง ดกั แด้มขี นาดยาว 39 - 41 มิลลเิ มตร กวา้ ง 18 - 20 มลิ ลิเมตร ระยะดักแด้ 30 - 40 วนั แลว้ จึงออก เปน็ ตวั เต็มวัย ระยะชีพจกั รประมาณ 150 - 165 วัน การแพรก่ ระจายและฤดูกาลระบาด มรี ายงานพบการระบาดในประเทศ อินเดยี ฟิลปิ ปินส์ อินโดนเี ซยี ปาปวั นวิ กินี ส�ำหรบั ประเทศไทย พบกระจายทั่วประเทศ และหากระบาดรนุ แรงอาจทำ� ให้มะพรา้ วตายทงั้ สวนได้ พืชอาหาร พืชอาหารของด้วงงวงมะพรา้ ว ปาลม์ นำ�้ มัน เขื่องหลวง หมาก ลาน สาคู อนิ ทผลัม ตน้ ชิด การป้องกันก�ำจัด 1. ปอ้ งกนั และกำ� จดั ดว้ งแรดมะพรา้ วอยา่ ใหร้ ะบาดในสวนมะพรา้ ว เพราะรอยแผลทด่ี ว้ งแรดมะพรา้ ว เจาะไวจ้ ะเป็นช่องทางให้ด้วงงวงมะพร้าววางไข่ และเม่ือฟกั ออกเปน็ ตัวหนอนแล้วตวั หนอนของดว้ งงวงมะพรา้ ว กจ็ ะเขา้ ไปทำ� ลายในตน้ มะพรา้ วไดง้ ่ายข้นึ 2. ใช้วิธีเดียวกับวิธีการป้องกันก�ำจัดด้วงแรดมะพร้าว จะสามารถก�ำจัดไข่ หนอน และตัวเต็มวัย ของดว้ งงวงมะพร้าวได้ 3. ใช้น�้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์ท่ีใช้แล้ว หรือชันผสมกับน�้ำมันยาง ทาบริเวณแผลโคนต้นหรือ ล�ำต้นมะพรา้ ว เพ่ือปอ้ งกนั การวางไข่ 4. ตน้ มะพรา้ วทถี่ กู ดว้ งงวงมะพรา้ วชนดิ ใหญท่ ำ� ลาย ควรตดั โคน่ ทอนเปน็ ทอ่ นแลว้ ผา่ จบั หนอนทำ� ลาย ไม่ควรให้ต้นมะพร้าวเกิดแผลหรือปลูกโคนลอยเพราะจะเป็นช่องทางให้ด้วงงวงมะพร้าววางไข่ และตัวหนอน ท่ีฟักจากไข่จะเจาะเข้าท�ำลายในต้นมะพร้าวได้ หากล�ำต้นเป็นรอยแผล ควรทาด้วยน้�ำมันหล่อล่ืนเครื่องยนต์ ท่ีใช้แลว้ หรือชันผสมกับนำ�้ มนั ยาง เพ่อื ปอ้ งกันการวางไข่ 5. ใช้สารฆ่าแมลงฉีดเข้าไปในล�ำต้นมะพร้าว (trunk injection) เช่นเดียวกับวิธีป้องกันก�ำจัด หนอนหัวด�ำมะพรา้ ว  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

การควบคุมแมลงศัตรู มะพรา้ วโดยชีววิธี การควบคุมแมลงศัตรูมะพร้าวโดยชีววิธี เป็นการควบคุมแมลงศัตรูมะพร้าวท่ีได้ผล ระยะยาว เป็นมติ รตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม ไมม่ พี ิษตกคา้ ง มคี วามปลอดภัยตอ่ ผู้ผลติ และผู้บรโิ ภค หลักการ ในการควบคุมแมลงศัตรูมะพร้าวโดยชีววิธีน้ัน ควรด�ำเนินการตั้งแต่เร่ิมพบการเข้าท�ำลายของ แมลงศัตรมู ะพร้าวจะสามารถชว่ ยยบั ย้ังการระบาดไมใ่ หม้ กี ารแพร่กระจายเปน็ วงกวา้ ง หรอื รนุ แรง เกินระดับความเสียหายท่ียากต่อการควบคุมได้ แมลงศัตรูมะพร้าวที่ส�ำคัญที่พบการระบาดและ สรา้ งความเสียหายมี 4 ชนิด ไดแ้ ก่ หนอนหัวดำ� มะพร้าว แมลงด�ำหนามมะพร้าว ดว้ งแรดมะพรา้ ว และดว้ งงวงมะพร้าว หนอนหัวด�ำมะพร้าว และแมลงด�ำหนามมะพร้าว เป็นแมลงศัตรูมะพร้าวต่างถิ่นท่ีมี การระบาดเข้ามาในประเทศไทย การควบคุมแมลงต่างถิ่นท้ัง 2 ชนิดนี้ วิธีหนึ่งท่ีใช้ได้ผลดีคือการ ควบคุมโดยชีววธิ ีแบบคลาสสิค (Classical Biological Control) ซ่ึงเป็นการนำ� แมลงศตั รูธรรมชาติ ทมี่ คี วามเฉพาะเจาะจงกบั แมลงแตล่ ะชนดิ จากถน่ิ กำ� เนดิ มาใชใ้ นการควบคมุ ไดแ้ ก่ แตนเบยี นหนอน หวั ดำ� มะพร้าว Goniozus nephantidis ท่มี ถี ่นิ กำ� เนิดในแถบเอเชียใต้ และแตนเบียน Asecodes hispinarum ท่มี ีถิ่นก�ำเนดิ ในประเทศปาปวั นิวกีนี โดยแตนเบียนทง้ั 2 ชนดิ นี้ กรมวชิ าการเกษตร ไดน้ ำ� เขา้ มาและทำ� การศกึ ษาทดสอบความปลอดภยั ในการนำ� มาใช้ รวมทงั้ การเพาะเลยี้ งเพมิ่ ปรมิ าณ และปลดปลอ่ ยเพอื่ ควบคมุ การระบาดของหนอนหวั ดำ� มะพรา้ ว และแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว นอกจาก น้ยี งั ได้ศึกษาแตนเบียนดักแด้แมลงดำ� หนามมะพรา้ ว Tetrastichus brontispae ซง่ึ เป็นแตนเบยี น ท้องถ่ินทางภาคใต้ของประเทศไทย มาพัฒนาเพ่ือเพ่ิมปริมาณ และปล่อยเพ่ิมประสิทธิภาพใน การควบคมุ การระบาดของแมลงดำ� หนามมะพรา้ วอกี ดว้ ย นอกเหนอื จากวธิ กี ารดงั กลา่ วแลว้ การใช้ เช้อื ชวี ภณั ฑบ์ ที ี Bacillus thuringiensis การใชแ้ ตนเบียนบราคอน แตนเบยี นไข่ไตรโครแกรมมา และแตนเบียนดักแดบ้ ราไคมีเรยี เปน็ วิธที สี่ ามารถควบคุมหนอนหัวด�ำมะพร้าวไดด้ ้วย ส�ำหรับด้วงแรดมะพร้าว และด้วงงวงมะพร้าว กรมวิชาการเกษตรได้ศึกษาพัฒนา เชื้อราเขียว Metarhizium sp. เพื่อใช้ในการก�ำจัดด้วงแรดมะพร้าว ซึ่งจะลดโอกาสการ เข้าทำ� ลายของดว้ งงวงมะพรา้ ว เอกสารวิชาการ  การจัดการศัตรูมะพร้าว

แตนเบยี นหนอนแมลงด�ำ หนาม มะพรา้ ว ชอื่ สามญั แตนเบยี นหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Asecodes hispinarum Bouček วงศ์ Eulophidae อันดบั Hymenoptera ความส�ำคัญและลกั ษณะการทำ� ลาย แตนเบียนหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว มีถ่ินก�ำเนิดอยู่ในประเทศปาปัวนิวกินี ถูกน�ำเข้ามาเพื่อ ใช้ควบคุมแมลงด�ำหนามมะพร้าวในซามัว เวียดนาม มัลดีฟต์ จีน ลาว และนารัว โดยสามารถควบคุม แมลงด�ำหนามมะพร้าว ในประเทศเหล่าน้ีได้เป็นอย่างดี กรมวิชาการเกษตรจึงน�ำเข้าแตนเบียนหนอน แมลงดำ� หนามมะพรา้ ว “Asecodes hispinarum” จากประเทศเวยี ดนาม เขา้ มาใชค้ วบคมุ แมลงดำ� หนามมะพรา้ ว ในประเทศไทย โดยความชว่ ยเหลือจากองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) และมหาวิทยาลยั นงลามในประเทศเวียดนาม โดยน�ำเข้ามาในลักษณะซากหนอนตายท่ีมีดักแด้แตนเบียนอยู่ภายใน เรียกว่า “มมั ม”่ี จำ� นวน 100 มมั มี่ เมอ่ื วนั ที่ 25 สงิ หาคม 2547 และทำ� การเลยี้ งศกึ ษาในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกกั กนั เพอื่ ทดสอบ ความปลอดภัยในการน�ำมาใช้ พบว่ามีความปลอดภัยสามารถน�ำมาใช้ควบคุมแมลงด�ำหนามมะพร้าว ในประเทศไทยได้ แตนเบียนหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว ตัวเต็มวัยเพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงเข้าไปวางไข่ในล�ำตัว หนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว สามารถลงท�ำลายหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าวได้ทุกระยะ แต่ชอบลงท�ำลาย ระยะวัย 3 และวัย 4 ตัวหนอนของแตนเบียนหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าวเม่อื ฟกั ออกจากไขจ่ ะดูดกนิ ของเหลว เจริญเติบโตและเข้าดักแด้ภายในล�ำตัวหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว หนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าวที่ถูกเบียน จะเคลือ่ นไหวชา้ กินอาหารนอ้ ยลง และตายในทส่ี ุดภายหลังจากถูกเบยี น 5 - 7 วัน หนอนท่ตี ายจากการถูกเบียน ล�ำตัวจะมีสีเข้มข้ึนและแข็ง เรียกว่า “มัมมี่” แตนเบียนตัวเต็มวัยเมื่อออกจากดักแด้แล้วจะใช้ปากกัดผนังมัมม่ี ออกมาภายนอก แตนเบยี นหนอนแมลงดำ� หนามมะพร้าวเบียน “มมั ม่ี” ซากหนอนแมลงด�ำหนามมะพรา้ ว ทมี่ ีแตนเบยี นอยภู่ ายใน  หนอนแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

รปู รา่ งลักษณะและชวี วิทยา แตนเบียนหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว มีขนาดเล็ก ล�ำตัวยาว 0.5 - 0.7 มิลลิเมตร มีปีกใส 2 คู่ เพศเมียมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้เล็กน้อย ตัวเต็มวัยเพศผู้มีส่วนท้องเล็กเรียวยาว เพศเมียมีส่วนท้องใหญ่เป็น กระเปาะ ใต้ท้องมีอวยั วะวางไข่ ลักษณะเป็นเข็มยาวเรียว ซอ่ นอยูใ่ นชอ่ งเก็บใต้ทอ้ ง แตนเบยี นนเ้ี ลือกลงทำ� ลาย เฉพาะหนอนแมลงดำ� หนามมะพร้าวเทา่ น้นั แตนเบยี นแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว สามารถจบั คผู่ สมพนั ธไ์ุ ดท้ นั ทที เี่ จาะออกจากมมั ม่ี ภายหลงั ผสมพนั ธ์ุ 1 - 2 ชว่ั โมง แตนเบียนจะสามารถเขา้ เบียนหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าวได้ ตัวเตม็ วยั มอี ายุ 4 - 7 วัน ระยะ การเจริญเตบิ โตต้งั แตร่ ะยะไขถ่ งึ ตวั เตม็ วัยประมาณ 17 - 20 วนั ภายในมมั มีจ่ ะมดี กั แดแ้ ตนเบยี น 23 - 129 ตวั เฉลย่ี 50 ตัวต่อมัมม่ี แตนเบยี นหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว Asecodes hispinarum การเพาะเล้ยี งแตนเบยี นหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว การเพาะเลี้ยงแตนเบียนหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว จ�ำเป็นต้องใช้หนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว วยั 4 (อายุ 15-18 วัน หลังฟกั ออกจากไข)่ เป็นแมลงอาศัย จึงต้องเพาะเลีย้ งตามขั้นตอนและวธิ กี ารดงั นี้ อุปกรณ์ 1) อปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการเพาะเล้ยี งหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว ไดแ้ ก่ ใบออ่ นมะพร้าว (ใบออ่ นทยี่ ังไม่คลี่) ใบแกม่ ะพรา้ ว (ใบแกท่ ี่อยู่ทางใบท่ี 4 - 5) กลอ่ งพลาสตกิ ขนาด 17 x 27 x 9 เซนตเิ มตร เจาะรทู ฝี่ า ปดิ รดู ว้ ยผา้ ใยแกว้ ขนาด 9 x 19 เซนตเิ มตร กลอ่ งพลาสตกิ ขนาด 10 x 15 x 6 เซนตเิ มตร เจาะรทู ฝี่ า ปดิ รดู ว้ ยผา้ ใยแกว้ ขนาด 4 x 10 เซนตเิ มตร กระดาษทชิ ชู กรรไกรตดั ก่ิง หนังยาง 2) อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการเพาะเล้ียงแตนเบียนหนอนแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว ไดแ้ ก่ ใบแก่มะพรา้ ว (ใบแก่ทีอ่ ยู่ทางใบที่ 4 - 5) น�้ำผง้ึ ความเขม้ ขน้ 50% หลอดพลาสตกิ ขนาดเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางยาว 2.5 เซนตเิ มตร สงู 6 เซนตเิ มตร กล่องพลาสตกิ ขนาด 10 x 15 x 6 เซนตเิ มตร เจาะรูที่ฝาปิดด้วยผ้าใยแกว้ ขนาด 4 x 10 เซนติเมตร กระดาษทชิ ชู  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

วธิ ีการ การเพาะเลี้ยงหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว การเตรยี มพ่อแม่พนั ธห์ุ นอนแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว เก็บแมลงด�ำหนามมะพร้าวจากต้นมะพร้าวที่ถูกท�ำลาย มาคัดแยกตัวเต็มวัยและหนอน โดยแยกเล้ียงตัวเต็มวัยแมลงด�ำหนามมะพร้าวจำ� นวน 500 - 600 ตัว ดว้ ยใบออ่ นมะพร้าว ทเ่ี ช็ดทำ� ความสะอาด แล้ว ตัดให้ได้ขนาดยาว 20 เซนติเมตร จ�ำนวน 50 ใบ ใส่ในกล่องพลาสติกขนาด 17 x 27 x 9 เซนติเมตร ทเ่ี ตรียมไว้ เลีย้ งทีอ่ ุณหภูมิ 25 – 28 องศาเซลเซยี ส สำ� หรับดักแดเ้ ก็บในกล่องพลาสตกิ รอให้ออกเปน็ ตัวเต็มวยั แลว้ จึงน�ำไปเล้ียงต่อ การเลยี้ งขยายหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว เมื่อตัวเต็มวัยผสมพันธุ์และวางไข่ เก็บไข่แมลงด�ำหนามมะพร้าวออกจากกล่องเลี้ยงตัวเต็มวัยทุก 2 - 3 วนั นำ� ไข่ประมาณ 500 ฟอง มาโรยใส่ดา้ นในใบอ่อนมะพร้าว ซงึ่ เช็ดทำ� ความสะอาดและตัดให้ได้ขนาดยาว 10 เซนตเิ มตร จำ� นวน 25 - 30 ชิ้น มัดซ้อนไว้ด้วยหนังยาง วางไว้ในกล่องพลาสติก รอใหห้ นอนฟกั ออกจากไข่ เปน็ เวลา 3 - 4 วัน เม่ือไข่ฟัก เลี้ยงหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าวในกล่องพลาสติกขนาด 10 x 15 x 6 เซนติเมตร โดยท่ีฝากลอ่ งเจาะเป็นชอ่ งบุด้วยผ้าใยแก้วขนาดกว้าง 4 x 10 เซนตเิ มตร เพอ่ื เปน็ ที่ระบายอากาศและปอ้ งกัน ไม่ใหแ้ มลงหนีออกจากกลอ่ ง โดยเข่ียหนอนประมาณ 300 ตวั ใสใ่ นกลอ่ งทม่ี ใี บมะพร้าว เก็บบนช้นั เลยี้ งแมลง เปลยี่ นใบมะพรา้ วทุก 5 - 7 วัน หรือเมอ่ื ใบเปลีย่ นเปน็ สนี ำ้� ตาล โดยเลยี้ งท่ีอุณหภมู ิ 25 – 28 องศาเซลเซยี ส เลย้ี งหนอนประมาณ 15 - 18 วนั จะไดห้ นอนวัย 4 ขนาดยาวประมาณ 1 เซนติเมตร เหมาะสม สำ� หรับนำ� ไปเลีย้ งแตนเบียนหนอนแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว การเลีย้ งตวั เตม็ วัยพ่อแมพ่ นั ธุ์ การโรยไข่แมลงดำ� หนามมะพร้าว ดว้ ยใบอ่อนมะพรา้ วในกลอ่ งพลาสตกิ ในใบออ่ นมะพร้าว การวางเรียงใบมะพร้าวในกล่องพลาสติก หนอนแมลงดำ� หนามมะพรา้ ววัย 4 ทเี่ หมาะสมส�ำหรบั ใช้เลยี้ งแตนเบยี น  การเพาะเลีย้ งหนอนแมลงดำ� หนามมะพร้าว เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

การเพาะเลย้ี งแตนเบียนหนอนแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว การเตรยี มพ่อแม่พันธแุ์ ตนเบยี นหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว คัดเลือกมัมมี่ท่ีมีพ่อแม่พันธุ์แตนเบียนท่ีสมบูรณ์อายุ 7 - 10 วันนับจากวันเบียน ล้างผ่านด้วย Clorox 0.1% แล้วน�ำขึ้นผึ่งให้แห้งบนกระดาษทิชชู วางทิ้งไว้ 1 คืน น�ำใส่ในกล่องพลาสติกเล็กขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 5 เซนติเมตร สูง 3 เซนตเิ มตร ตง้ั ไวเ้ ปน็ เวลา 10 - 11 วัน (อายุ 17 - 21 วันนับจากวันเบยี น) ท่ีอณุ หภมู ิ 25 – 28 องศาเซลเซียส จากนั้นนำ� ใสก่ ลอ่ งพลาสตกิ เล้ียงแมลงขนาด 10x15x6 เซนตเิ มตร ทเี่ ตรยี มไว้ เม่ือพบแตนเบยี นฟกั ออกจากมมั ม่ี ปลอ่ ยไวเ้ ปน็ เวลา 2 - 3 ชว่ั โมง เพอ่ื ใหแ้ ตนเบยี นไดผ้ สมพนั ธก์ุ นั จากนน้ั นำ� ไปใชเ้ บยี นหนอนแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว ร่นุ ใหม่ การเพาะเลยี้ งแตนเบยี นหนอนแมลงดำ� หนามมะพร้าว คดั หนอนแมลงด�ำหนามมะพรา้ ววยั 4 จำ� นวน 150 ตวั ใส่กลอ่ งทมี่ ีใบมะพร้าวเชด็ ทำ� ความสะอาด และตัดให้ได้ขนาดยาว 10 เซนติเมตร จ�ำนวน 3 - 4 ช้ิน ด้านข้างกล่องแปะกระดาษชุบน�้ำผ้ึงเข้มข้น 50% เพ่ือเปน็ อาหารแตนเบียน แล้วปลอ่ ยพ่อแมพ่ นั ธแุ์ ตนเบยี นจ�ำนวน 400 - 500 ตัว (มมั มพี่ ่อแม่พันธ์ุ 20 มมั ม่)ี ลงในกลอ่ ง ท่ีอณุ หภมู ิ 25 – 28 องศาเซลเซียส แตนเบียนจะลงท�ำลายหนอนทันทีท่ีปล่อยลงในกล่อง น�ำกล่องวางบนชั้นเล้ียงแมลง 3 - 4 วัน จากน้ันย้ายหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าวท่ีถูกลงท�ำลายแล้ว 4 - 5 กล่อง มาเล้ียงรวมกันในกล่องใหม่ ใส่ใบมะพร้าวที่เรียงซ้อนและมัดรวมกันไว้ เพ่ือเป็นอาหารของหนอนที่ถูกลงท�ำลายแต่ยังมีชีวิตอยู่ โดยหนอน ทถี่ กู ลงทำ� ลายจะเรมิ่ ตายและกลายเปน็ มมั มี่ 7 - 10 วนั หลงั จากถกู ลงทำ� ลาย แลว้ คดั แยกหนอนทก่ี ลายเปน็ มมั มี่ ออกจากกล่องทุกวัน จดบนั ทกึ วันทเ่ี ก็บมัมมี่ แบ่งมัมม่ีเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ประมาณ 10% น�ำไปใช้เป็นพ่อแม่พันธุ์ โดยแยกเก็บมัมมี่ใน หลอดพลาสติกมีฝาปิดสนิท ส่วนท่ีเหลือ 90% น�ำไปปล่อยเพื่อควบคุมแมลงด�ำหนามมะพร้าวในสวนมะพร้าว ซง่ึ แตนเบยี นจะฟักออกเป็นตวั เต็มวัยหลงั จากเก็บมมั มพี่ ักไวแ้ ล้วประมาณ 10 - 11 วัน หนอนแมลงดำ� หนามมะพรา้ ววยั 4 กลอ่ งเลย้ี งขยายแตนเบียนหนอน ทเ่ี หมาะสมสำ� หรับใชเ้ ลยี้ งแตนเบยี น แมลงด�ำหนามมะพรา้ ว การเพาะเลยี้ งแตนเบียนหนอนแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว เอกสารวิชาการ  การจัดการศัตรูมะพร้าว

แ ตมนะพเบรียา้ นวดักแด้แมลงดำ�หนาม ชอื่ สามัญ แตนเบียนดกั แด้แมลงดำ� หนามมะพรา้ ว ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Tetrastichus brontispae Ferriere วงศ์ Eulophidae อันดับ Hymenoptera ความสำ� คัญและลกั ษณะการท�ำลาย แตนเบยี นดกั แดแ้ มลงดำ� หนามมะพรา้ ว เปน็ แมลงทม่ี ปี ระโยชน์ ชว่ ยทำ� ลายตวั ดกั แดข้ องแมลงดำ� หนาม มะพร้าว ซึ่งเป็นแมลงศัตรูมะพร้าวที่ส�ำคัญ แตนเบียนชนิดนี้มีถิ่นก�ำเนิดในชวา ต่อมามีการน�ำเข้าไปใช้ ในการควบคุมแมลงด�ำหนามมะพร้าวโดยชีววิธีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และแปซิฟิคใต้ แตนเบียนชนิดนี้ จัดเป็นแตนเบียนประจ�ำท้องถิ่นทางภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย อาจมีอยู่แล้วในธรรมชาติ หรือเข้ามา พรอ้ มกบั แมลงดำ� หนามมะพรา้ ว มบี ทบาททส่ี ำ� คญั มากในการควบคมุ และลดการระบาดของแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว ในพ้ืนที่จังหวัดภาคใต้ตอนล่างได้เป็นอย่างดี สามารถส�ำรวจพบแตนเบียนชนิดน้ีได้ทั่วไปในสวนมะพร้าว ทม่ี แี มลงดำ� หนามมะพร้าวเข้าทำ� ลาย แตนเบยี นดักแด้แมลงดำ� หนามมะพร้าว เพศเมยี ท่ีผสมพนั ธุแ์ ล้วจะใช้อวัยวะวางไข่แทงเขา้ ไปในลำ� ตวั ของดกั แดแ้ มลงดำ� หนามมะพรา้ วและวางไข่ ซง่ึ แตนเบยี นสามารถเบยี นแมลงดำ� หนามมะพรา้ วในระยะหนอนวยั 4 ระยะก่อนเข้าดักแด้ และระยะดกั แด้ได้ แตจ่ ะชอบเบียนระยะดกั แดม้ ากท่สี ดุ หนอนของแตนเบยี นเมือ่ ฟกั ออก จากไข่ ดูดกินของเหลว เจริญเติบโตและเข้าดักแด้ภายในล�ำตัวแมลงด�ำหนามมะพร้าว ภายหลังจากถูกเบียน ประมาณ 8 วนั ดักแด้จะมีลักษณะลำ� ตวั แขง็ กลายเปน็ สีน้ำ� ตาลและจะเข้มมากข้ึนจนถงึ สีด�ำ เรียกว่า “มมั มี”่ ซ่ึงแตนเบียนตัวเต็มวัยที่อยู่ภายในมัมมี่จะใช้ปากกัดผนังมัมมี่ออกมาภายนอก แตนเบียนสามารถจับคู่ผสมพันธุ์ ได้ทันทีหลังจากที่ฟักออกจากมัมม่ี ภายหลังผสมพันธุ์ แตนเบียนสามารถเข้าเบียนแมลงด�ำหนามมะพร้าวได้ โดยพบว่าแตนเบยี นมพี ฤตกิ รรมเขา้ เบยี นดักแดอ้ ายุ 1 - 6 วนั ถงึ แมว้ า่ ดักแดอ้ ายุ 6 วัน จะออกเปน็ ตวั เตม็ วัย ในวันเดียวกันนั้น แต่ส�ำหรับหนอนวัย 4 ที่มีอายุน้อย เม่ือถูกแตนเบียนหนอนจะตายก่อนท่ีจะเข้าดักแด้และ กลายเปน็ มัมม่ี เม่ือผ่าหนอนดจู ะพบหนอนของแตนเบียนอยูภ่ ายใน แสดงให้เห็นว่าในสภาพธรรมชาติแตนเบยี น ดักแดแ้ มลงด�ำหนามมะพร้าว สามารถท�ำลายหนอนวยั 4 ได้ ถงึ แมว้ ่าจะไม่ได้ผลผลติ แตนเบียนหรอื ได้ผลผลิต แตนเบียนน้อย แต่ถา้ เป็นหนอนทีใ่ กลจ้ ะเขา้ ดักแด้จะสามารถเจรญิ เตบิ โตและกลายเปน็ มัมม่ีได้  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

แตนเบยี นดักแด้แมลงดำ� หนามมะพร้าว ก�ำลังลงเบยี นแมลงดำ� หนามมะพรา้ วระยะก่อนดกั แด้ และดกั แด้ “มัมม”่ี ดกั แด้แมลงดำ� หนามมะพร้าวทถี่ ูกแตนเบียนดกั แด้แมลงด�ำหนามมะพร้าวท�ำลาย รปู ร่างลักษณะและชวี วิทยา ตัวเต็มวัยของแตนเบียนดักแด้แมลงด�ำหนามมะพร้าว เป็นแตนเบียนสีด�ำขนาดเล็ก ตัวเต็มวัยเพศผู้ มีขนาดล�ำตัวยาวเฉล่ีย 1.1 มิลลิเมตร ส่วนเพศเมียมีขนาดล�ำตัวยาวเฉล่ีย 1.4 มิลลิเมตร แตนเบียนเพศเมีย จะมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้ ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 4 - 7 วัน ไข่มีสีขาวเปลือกใส ภายในเป็นสีขาวขุ่น ลักษณะคล้ายทรงกระบอกแต่ความกว้างไม่เท่ากัน ขนาดยาว 0.2 มิลลิเมตร ส�ำหรับระยะหนอนมีลักษณะ คล้ายทรงกระบอกส่วนปลายท้องค่อนข้างแหลมกว่าส่วนหัว หนอนมีสีขาวใสภายในล�ำตัวเห็นเป็นสีเหลืองอ่อน และจะมีสีเหลืองเข้มข้ึนเม่ือมีอายุมากขึ้น มีขนาดล�ำตัวยาว 0.2 - 1.9 มิลลิเมตร โดยหนอนอายุ 5 - 6 วัน จะมีขนาดตัวยาวมากท่ีสุด และจะหดตัวสั้นลงเมื่อจะเข้าดักแด้ ซ่ึงดักแด้มีลักษณะล�ำตัวสีขาวในระยะเริ่มแรก และพัฒนาเป็นสีด�ำในที่สุด แตนเบียนดักแด้แมลงด�ำหนามมะพร้าวเล้ียงท่ีอุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส ใหเ้ บียนดักแด้แมลงด�ำหนามมะพรา้ ว พบว่า ระยะไข่ 1 - 2 วัน ระยะหนอน 6 - 8 วัน และระยะดักแด้ 10 - 13 วนั รวมวงจรชวี ติ 18 - 22 วัน แตนเบยี นทีเ่ ล้ยี งดว้ ยนำ้� ผ้งึ 10% มีอายุ 7 - 26 วัน มากกว่า แตนเบยี นที่ไม่ได้ ให้น้�ำผึ้งซ่ึงมีอายุ 1 - 6 วัน และเล้ียงด้วยน้�ำเปล่ามีอายุ 3 - 14 วัน แตนเบียนเพศเมียมีอายุนานกว่าเพศผู้ แตนเบียนดักแด้แมลงด�ำหนามมะพร้าวเพศเมีย 1 ตัว สามารถวางไข่ในแมลงด�ำหนามมะพร้าวได้ 1 - 4 ตัว และสามารถผลิตแตนเบียนได้ 11 - 57 ตัว คิดเป็นอัตราส่วนเพศเมีย 67.35 - 76.39% ระยะตั้งแต่ไข่จนถึง ตวั เตม็ วยั ประมาณ 18 - 22 วนั แตนเบยี นดักแดแ้ มลงด�ำหนามมะพร้าว  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

การเพาะเลี้ยงแตนเบียนดกั แดแ้ มลงดำ� หนามมะพร้าว ในการเพาะเลี้ยงแตนเบียนดักแด้แมลงด�ำหนามมะพร้าว จ�ำเป็นต้องใช้ดักแด้แมลงด�ำหนามมะพร้าว อายุ 1 - 2 วนั เปน็ แมลงอาศยั ซงึ่ การเพาะเลี้ยงดกั แดแ้ มลงด�ำหนามมะพร้าวสามารถท�ำตามขน้ั ตอนและวธิ ีการ เพาะเลี้ยงหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าวเช่นเดียวกัน โดยเล้ียงแมลงด�ำหนามมะพร้าวหลังจากฟักออกจากไข่ ใหไ้ ด้อายุประมาณ 19 - 21 วนั จะไดด้ กั แดแ้ มลงด�ำหนามมะพร้าวท่ีเหมาะสมส�ำหรบั น�ำไปเล้ยี งแตนเบยี นดักแด้ แมลงดำ� หนามมะพรา้ ว ดักแด้แมลงด�ำหนามมะพร้าวทเี่ หมาะสม กล่องพ่อแมพ่ นั ธุแ์ ตนเบียนดกั แด้แมลงด�ำหนามมะพรา้ ว ส�ำหรับใชเ้ ลย้ี งแตนเบียน การเพาะเลยี้ งแตนเบยี นดักแดแ้ มลงดำ� หนามมะพรา้ ว การเตรียมพ่อแมพ่ ันธุแ์ ตนเบยี นดักแดแ้ มลงดำ� หนามมะพร้าว เตรยี ม “มมั ม”่ี พอ่ แมพ่ นั ธแ์ุ ตนเบยี นดกั แดแ้ มลงดำ� หนามมะพรา้ วใสก่ ลอ่ งพลาสตกิ จำ� นวน 4 - 8 มมั ม่ี ปล่อยใหแ้ ตนเบยี นออกเป็นตวั เต็มวยั ทง้ิ ไวใ้ หผ้ สมพนั ธุ์ 1 วัน นำ� กล่องพลาสตกิ สเ่ี หล่ียม ขนาด 10 x 15 x 6 เซนตเิ มตร ท่ีเตรยี มไว้ ใหน้ ำ้� ผ้ึงความเข้มขน้ 50% เปน็ อาหารส�ำหรับแตนเบียนตวั เต็มวัย โดยใชพ้ กู่ นั ชุบน�ำ้ ผงึ้ ทาบนกระดาษทชิ ชชู นดิ หนา ทีต่ ัดเปน็ แผน่ สเี่ หลี่ยม ขนาด 2 x 6 เซนติเมตร กดใหก้ ระดาษทิชชูติดกบั กลอ่ งด้านขา้ ง เลือกดักแด้แมลงด�ำหนามมะพร้าว ประมาณ 300 ตัว ใส่ลงในกล่องเบียน ใส่ใบแก่มะพร้าวตัดให้มี ขนาดยาวประมาณ 10 เซนติเมตร จ�ำนวน 2 - 3 ช้ิน จากนั้นใช้แปรงเข่ียพ่อแม่พันธุ์แตนเบียนดักแด้ แมลงดำ� หนามมะพรา้ วท่เี ตรียมไว้ลงในกลอ่ งแลว้ ปิดฝากล่อง เล้ยี งทีอ่ ณุ หภมู ิ 25 – 28 องศาเซลเซียส ปล่อยไวป้ ระมาณ 10 วนั เพ่อื ให้แตนเบียนดกั แด้แมลงดำ� หนามมะพร้าวเขา้ เบียนดกั แด้ ดักแด้ถูกเบียนจะทยอยตายและกลายเป็นมัมม่ี หลังจากให้เบียนแล้ว 10 วัน คัดแยกดักแด้ที่ตาย และแห้งแข็งเป็นมัมมี่สีด�ำหรือน้�ำตาล ออกจากแต่ละกล่อง และน�ำไปเก็บรวมไว้ในกล่องพลาสติกสี่เหล่ียม มฝี าปิดสนทิ และรองพ้ืนกล่องดว้ ยกระดาษทชิ ชู หากพบดักแด้ท่ีตายจากเชอ้ื ราหรือเนา่ ตาย ให้รีบเก็บแยกออก จากกล่องทนั ที เพื่อป้องกนั ไมใ่ ห้ดกั แดท้ เ่ี หลือตดิ โรคตาย น�ำ “มัมมี่” อายุประมาณ 17 วัน ใส่ลงในถ้วยพลาสติกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4.5 เซนติเมตร สูง 4 เซนติเมตร ที่มีฝาปิดพร้อมท่ีจะน�ำไปปล่อย หรือทิ้งไว้แตนเบียนก็จะเร่ิมเจาะออกจาก “มัมม่ี” หลังจาก ถกู เบยี นประมาณ 18-21 วัน ข้นึ กบั สภาพอุณหภูมิ แตนเบียนเพศผู้จะเจาะออกจากมัมมี่ก่อนแตนเบียนเพศเมีย และจะเข้าผสมพันธุ์ทันทีท่ีเพศเมีย เจาะออกจาก “มมั ม”่ี น�ำแตนเบียนทเี่ จาะออกจากมมั มไี่ ปขยายพันธตุ์ ่อไป จากกระบวนการเล้ียงดังกล่าวข้างต้น จะสามารถเพาะเลี้ยงแตนเบียนดักแด้แมลงด�ำหนามมะพร้าว ไดม้ ากเพยี งพอทจี่ ะนำ� ไปปลอ่ ยในสวนมะพรา้ ว เพอื่ ชว่ ยเพมิ่ การควบคมุ แมลงดำ� หนามมะพรา้ วโดยชวี วธิ ี หรอื ใช้ ร่วมกับวธิ กี ารอนื่ ๆ เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

การปลอ่ ยแตนเบยี นหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว และแตนเบยี นดกั แดแ้ มลงดำ� หนามมะพร้าวควบคมุ แมลงด�ำหนามมะพรา้ ว แตนเบียนหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว และแตนเบียนดักแด้แมลงด�ำหนามมะพร้าว มีการจัดการ ในลกั ษณะเดยี วกัน คือเกบ็ ตัวอย่างแตนเบยี นไว้ 1% ของแต่ละชดุ การผลติ เพอื่ ตรวจสอบคณุ ภาพของแตนเบยี น โดยแตนเบียนชดุ ทีผ่ ลติ ไดแ้ ละน�ำไปปลอ่ ยต้องได้รบั การตรวจสอบคุณภาพแตนเบยี นทผี่ ลิต ดังน้ี แตนเบียนหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว ท่ผี ลติ ได้ต้องมแี ตนเบียนเพศเมยี เฉล่ยี 25 ตัวต่อ 1 มมั มี่ แตนเบียนดกั แด้แมลงดำ� หนามมะพร้าว ที่ผลิตไดต้ ้องมีแตนเบียนเพศเมียเฉลยี่ 11 ตวั ตอ่ 1 มัมมี่ อุปกรณ์ปล่อยแตนเบียนหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าว และแตนเบียนดักแด้แมลงด�ำหนามมะพร้าว ได้แก่ หลอดพลาสตกิ พร้อมฝาปดิ ขนาดเส้นผา่ นศูนย์กลาง 2.5 เซนตเิ มตร สงู 6 เซนติเมตร หรือ ถว้ ยพลาสติก พรอ้ มฝาปิด ขนาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลาง 4.5 เซนตเิ มตร สูง 4 เซนตเิ มตร ซ่งึ ทัง้ หลอดพลาสติก และถ้วยพลาสติก เจาะรใู นลักษณะเดยี วกันคอื ดา้ นขา้ งหลอดเจาะรู 3 - 4 รู ดา้ นลา่ ง และดา้ นบนเจาะดา้ นละ 1 รู เพือ่ ระบายน้�ำ และสำ� หรับแขวน นำ� มมั มี่อายุ 7 - 9 วนั จ�ำนวน 5 มมั มี่ ใส่ในหลอดพลาสติกมฝี าปดิ (ระวงั มดหรอื สตั วอ์ ื่นทำ� ลาย มัมมี่) น�ำไปแขวนใหใ้ กล้ยอดมะพรา้ วมากทีส่ ุด ปล่อยไรล่ ะ 5 - 10 มัมมี่ โดยปล่อย 3 - 5 ครั้ง หา่ งกัน 7 - 10 วนั หากสามารถเพาะเล้ียงและปล่อยได้มาก จะเห็นผลการควบคุมได้เร็วย่ิงข้ึน เม่ือสามารถควบคุมได้แล้ว ใหป้ ล่อยเพ่ิมเตมิ เป็นระยะๆ 5 - 6 คร้งั เพ่ือปอ้ งกนั การกลบั มาระบาดใหม่ การเกบ็ รักษามมั ม่ี กอ่ นนำ� ไปปลอ่ ยควบคุมแมลงด�ำหนามมะพรา้ วในธรรมชาตนิ ้นั ถา้ หากว่ายังไม่ถึง เวลาปล่อย สามารถที่จะชะลอการออกเป็นตัวเต็มวัยของแตนเบียนได้ โดยน�ำมัมมี่ อายุ 17 วันหลังจากเบียน ซ่ึงท่ีมดี ักแดแ้ ตนเบียนอยู่ภายใน ห่อด้วยกระดาษทชิ ชใู สถ่ ว้ ยพลาสตกิ เกบ็ เข้าตคู้ วบคมุ อุณหภมู ิท่ี 10 – 13 องศา เซลเซียส หรือตู้เย็นช่องธรรมดา จะชะลอการออกเป็นตัวเต็มวัยได้ประมาณ 2 สัปดาห์ และเม่ือน�ำออกจาก ตูค้ วบคมุ อุณหภมู ิ จะออกเป็นตัวเต็มวยั แตนเบยี นภายใน 1 - 2 วันถดั ไป ข้นึ อย่กู ับฤดูกาล แตนเบียนเมอ่ื ออกมา จะผสมพนั ธ์ุและเข้าท�ำลายดกั แดแ้ มลงดำ� หนามมะพรา้ วตอ่ ไป การประเมนิ ผลสำ� เรจ็ ประเมินความเสียหายจากการท�ำลายของแมลงด�ำหนามมะพร้าวแปลงละ 1 ต้น โดยตัดยอดที่ใบ ยังไม่คล่ีแล้วนับจ�ำนวนประชากรทุกวัย ท�ำการประเมินก่อน และหลังปล่อยแตนเบียน ทุก 2 เดือน หาอัตรา การเบยี นของแตนเบียนหนอนแมลงด�ำหนามมะพรา้ ว และแตนเบยี นดกั แด้แมลงดำ� หนามมะพร้าว ในแมลงดำ� หนามมะพร้าว ท�ำการจ�ำแนกระดับการท�ำลายโดยนับทางใบมะพร้าวใบยอดที่ถูกท�ำลาย ซึ่งการจ�ำแนกระดับ การทำ� ลายของแมลงดำ� หนามมะพรา้ วตามวธิ กี ารใน Proceedings of the Dissemination Workshop on the CFC/DFID/APCC/FAO Project on Coconut Integrated Pest Management Held in Columbo Sri Lanka 12-20th October 2006 ก�ำหนดโดยนับทางใบมะพร้าวใบยอดท่ีถูกท�ำลายดังนี้คอื ระดบั รนุ แรง มจี ำ� นวนมากกวา่ 10 ทางใบ ระดบั ปานกลางมจี ำ� นวน 6 - 10 ทางใบ ระดบั นอ้ ยมจี ำ� นวนนอ้ ยกวา่ 6 ทางใบ และ ไม่มกี ารระบาดคือไม่พบการท�ำลาย ระดับการทำ�ลาย แมลงด�ำ หนามมะพรา้ ว(นบั ทางใบยอดทถ่ี กู ท�ำ ลาย)  รุนแรง (3) > 10 ทางใบ ปานกลาง (2) 6 - 10 ทางใบ น้อย (1) < 6 ทางใบ ไมม่ ีการระบาด (0) ไม่พบทางใบท่ีถกู ท�ำ ลาย เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

แตนเบียนหนอนหวั ดำ�มะพรา้ ว ชื่อสามัญ แตนเบยี นหนอนหวั ด�ำมะพร้าว ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Goniozus nephantidis (Muesebeck) วงศ์ Bethylidae อนั ดับ Hymenoptera ความสำ� คัญและลกั ษณะการท�ำลาย แตนเบยี นหนอนหวั ดำ� มะพรา้ ว เปน็ แมลงทมี่ ปี ระโยชน์ ชว่ ยควบคมุ หนอนหวั ดำ� มะพรา้ วไดด้ ใี นประเทศ อนิ เดยี และศรีลังกา กรมวิชาการเกษตรน�ำเขา้ มาจากศรลี ังกา จำ� นวน 1,000 ดักแด้ เม่ือวนั ท่ี 28 เมษายน 2555 เพื่อทดสอบความปลอดภยั และประสิทธภิ าพในการควบคุมหนอนหวั ด�ำมะพร้าวในประเทศไทย ผลการทดสอบ พบว่า มีความปลอดภัยในการน�ำแตนเบียนชนิดน้ีมาใช้ควบคุมหนอนหัวด�ำมะพร้าว เนื่องจากมีความเฉพาะ เจาะจงตอ่ แมลงอาศยั ค่อนขา้ งสงู แตนเบียนหนอนหัวด�ำมะพร้าวเพศเมียท่ีพร้อมวางไข่จะมีพฤติกรรมค่อนข้างดุ ก้าวร้าว และหวงที่ เมื่อพบหนอนหัวด�ำมะพร้าวจะเข้าโจมตีที่ล�ำตัวหนอนบริเวณท่ีติดกับส่วนหัว เนื่องจากหนอนหัวด�ำมะพร้าว มีกรามที่แข็งแรง และเคล่ือนไหวรวดเร็ว หากแตนเบียนเข้าโจมตีที่ส่วนหาง หนอนหัวด�ำมะพร้าวสามารถ หันหัวกลับมากัดแตนเบียนตายได้ แตนเบียนเพศเมียจะต่อยและท�ำให้หนอนหัวด�ำมะพร้าวหยุดเคล่ือนไหว และวางไขท่ ลี ะฟองบนลำ� ตวั หนอน ไขจ่ ะฟกั เปน็ ตวั หนอน เกาะดดู กนิ เจรญิ เตบิ โตและถกั ใยเขา้ ดกั แดอ้ ยภู่ ายนอก ล�ำตัวหนอนหัวด�ำมะพร้าว จากการศึกษาในห้องปฏิบัติการ พบว่า แตนเบียนเพศเมียวางไข่ 2 - 13 ฟอง อัตราการฟักเป็นตัวหนอน 92.28% อัตราการเจริญเติบโตและรอดชีวิตถึงระยะดักแด้ 90.42% และเป็น ตัวเตม็ วัย 83.88% รปู ร่างลักษณะและชีววทิ ยา แตนเบยี นหนอนหวั ดำ� มะพรา้ วขนาดคอ่ นขา้ งใหญ่ มคี วามยาวลำ� ตวั 1.1 - 1.3 มลิ ลเิ มตร เพศผมู้ ขี นาด เล็กกว่าเพศเมียเล็กน้อย ล�ำตัวมีสีด�ำสะท้อนแสง ปลายท้องของเพศเมียมีลักษณะเรียวแหลม ส่วนปลายท้อง มเี ขม็ แหลมโคง้ สน้ั ซอ่ นอยู่ ใชส้ ำ� หรบั “ต่อย” คือการแทงอวัยวะที่มีลักษณะคลา้ ยเขม็ แหลมเขา้ ในล�ำตัวหนอน หัวด�ำมะพร้าวและปล่อยสารเข้าในล�ำตัวหนอนหัวด�ำมะพร้าว ท�ำให้หนอนหัวด�ำมะพร้าวเป็นอัมพาต หยุดการเคลือ่ นไหว แตไ่ มต่ าย ระยะเวลาการเจริญเติบโตระยะไข่ 1 - 2 วัน ระยะหนอน 4 - 5 วนั ระยะดกั แด้ 10 - 11 วนั ระยะไขถ่ งึ ตวั เตม็ วยั 15 - 19 วนั อตั ราสว่ นเพศผตู้ อ่ เพศเมยี ประมาณ 1 : 5 (เพศผู้ 1 ตวั : เพศเมยี 5 ตวั ) แตนเบียนเพศเมียจะผสมพันธุ์และวางไข่ประมาณ 6 - 7 วันหลังออกจากดักแด้ และมีอายุนาน 7 - 40 วัน  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

แตนเบียนโกนิโอซัส 1 ตัววางไข่วันละ 4 - 18 ฟอง ขึ้นกับขนาดของหนอนที่ใช้เล้ียง สามารถขยายพันธุ์ โดยให้เบียนหนอนหัวด�ำมะพร้าวได้ 7 - 8 ตัว จากการทดสอบพฤติกรรมการเบียน พบว่า แตนเบียนจะต่อย และท�ำใหห้ นอนตายครงั้ ละ 2 - 3 ตัว แต่จะวางไขบ่ นตวั หนอนเพยี ง 1 ตวั เท่านั้น ตัวเต็มวยั 7-40 วนั ไข่ 1-2 วนั ดักแด้ 10-11 วัน หนอน 4-5 วัน วงจรชวี ิตแตนเบยี นหนอนหัวดำ� มะพรา้ ว Goniozus nephantidis การเพาะเลีย้ งแตนเบียนหนอนหวั ดำ� มะพร้าว การเพาะเลยี้ งแตนเบยี นหนอนหวั ดำ� มะพรา้ ว สามารถใชห้ นอนหวั ดำ� มะพรา้ วและหนอนผเี สอ้ื ขา้ วสาร เปน็ แมลงอาศยั ได้ แมลงอาศยั ทเี่ หมาะสำ� หรบั นำ� มาเลย้ี งขยายแตนเบยี น คอื หนอนหวั ดำ� มะพรา้ ววยั 6 ความยาว ล�ำตัวประมาณ 2.5 เซนติเมตร ใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 35 - 40 วัน หรือหนอนผีเสื้อข้าวสาร ความยาวล�ำตัว ประมาณ 1.5 เซนตเิ มตร ใชเ้ วลาเลยี้ งประมาณ 35 - 40 วนั โดยจำ� เปน็ ตอ้ งเลย้ี งแตนเบยี นดว้ ยหนอนผเี สอ้ื ขา้ วสาร 3 รุ่น สลับกับเลี้ยงแตนเบียนด้วยหนอนหัวด�ำมะพร้าว 1 รุ่น เพ่ือไม่ให้แตนเบียนอ่อนแอและวางไข่น้อยลง ซ่ึงขน้ั ตอนและวธิ ีการมดี ังน้ี อุปกรณ์ อุปกรณก์ ารเพาะเล้ยี งหนอนหวั ด�ำมะพรา้ ว ไดแ้ ก่ ใบแกม่ ะพรา้ ว (ใบแกท่ ่ีอยู่ทางใบที่ 4 - 5) กลอ่ งพลาสตกิ ขนาด 13 x 18 x 7 เซนตเิ มตร เจาะรูที่ฝาติดตะแกรงลวด 60 mesh ขนาด 4 x 10 เซนตเิ มตร เอกสารวิชาการ  การจัดการศัตรูมะพร้าว

โหลพลาสตกิ ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 16.5 เซนตเิ มตร สงู 17 เซนตเิ มตร เจาะรทู ฝี่ าตดิ ตะแกรงลวด 60 mesh ขนาด 4 x 10 เซนติเมตร นำ�้ ผ้ึง ความเข้มขน้ 50% พู่กันขนาดเล็กเบอร์ 3 – 5 กระดาษทิชชู กรรไกรตดั กิ่ง กรรไกรตดั กระดาษ อุปกรณก์ ารเพาะเลยี้ งหนอนผเี ส้อื ข้าวสาร ได้แก่ กล่องพลาสติกขนาด 23 x 33 x 7 เซนติเมตร เจาะรูที่ฝาติดตะแกรงลวด 60 mesh ขนาด 4 x 10 เซนติเมตร ต้อู บแหง้ อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซยี ส ตะกรา้ หรือถงุ ไนล่อนตาขา่ ยละเอียด ส�ำหรบั เก็บผีเสอื้ ตัวเตม็ วัย เครอื่ งดูดลม ส�ำหรับเก็บผเี ส้ือข้าวสาร ร�ำละเอียด ปลายข้าว น้�ำตาลทรายขาว ถาดอลมู ิเนียม สำ� หรับผสมอาหารเลี้ยงหนอนผเี สื้อข้าวสาร อุปกรณก์ ารเพาะเลย้ี งแตนเบยี นหนอนหัวด�ำมะพร้าว ไดแ้ ก่ แมลงอาศยั ไดแ้ ก่ หนอนหวั ดำ� มะพรา้ วอายุ 35 - 40 วนั หรอื หนอนผเี สอ้ื ขา้ วสารอายุ 35 - 40 วนั นำ้� ผึ้ง ความเขม้ ข้น 50% หลอดพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3.5 เซนติเมตร สูง 6 เซนติเมตร เจาะรูที่ฝาปิดด้วย ผา้ ใยแก้ว เพ่อื ระบายอากาศ กล่องพลาสติก ขนาด 13 x 18 x 7 เซนติเมตร เจาะรูท่ีฝาติดตะแกรงลวด 60 mesh ขนาด 4 x 10 เซนตเิ มตร ฟองน�้ำอเนกประสงคต์ ดั ขนาด 0.5 x 0.5 x 0.5 เซนตเิ มตร ตะแกรงมงุ้ ลวดตาละเอยี ด สำ� หรบั ยดึ ติดชิ้นฟองน้ำ� อเนกประสงค์ท่ีฝาหลอดพลาสติก พ่กู ันเบอร์ 0 และเบอร์ 5 ปากคีบชนดิ ปลายแหลม แผน่ กระดาษขาวประมาณ 80 แกรม ขนาด 5 x 7.5 เซนตเิ มตร พบั ขอบทงั้ 4 ดา้ นขนึ้ ทำ� เปน็ กระบะ ตะกรา้ สีเ่ หลีย่ มทรงเต้ยี หรือถาดส�ำหรับวางหลอดเลยี้ งแตนเบยี น ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร กล้องจุลทรรศน์ หรอื แวน่ ขยาย วธิ กี าร การเพาะเลย้ี งหนอนหวั ด�ำมะพร้าว การเตรียมพ่อแม่พนั ธ์ุผเี ส้อื หนอนหวั ดำ� มะพรา้ ว เกบ็ หนอนหวั ดำ� มะพรา้ วจากธรรมชาติ มาเลย้ี งดว้ ยใบมะพรา้ วในกลอ่ งพลาสตกิ ขนาด 13 x 18 x 7 เซนตเิ มตร ท่ีเตรียมไว้ เปลีย่ นใบมะพร้าวทุก 3 วนั โดยใส่ใบมะพรา้ วใหม่ลงในกล่อง ปล่อยใหห้ นอนเคลื่อนย้าย  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

จากใบเกา่ มาท่ใี บใหมเ่ อง ใช้เวลา 1 - 2 วนั จงึ นำ� ใบมะพร้าวเกา่ ออก ตง้ั กลอ่ งพลาสติกเลีย้ งหนอนหวั ดำ� มะพร้าว ไวบ้ นชนั้ เลยี้ งแมลงทอี่ ณุ หภมู ิ 25 - 28 องศาเซลเซยี ส จนกระทง่ั หนอนพฒั นาเปน็ ดกั แด้ ใหค้ ดั แยกดกั แดท้ สี่ มบรู ณ์ เพื่อรอให้เป็นผีเส้ือตัวเตม็ วัย เตรียมโหลพลาสติกส�ำหรับแม่ผีเส้ือวางไข่ โดยน�ำโหลพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 16.5 เซนตเิ มตร สงู 17 เซนติเมตร ทเ่ี ตรียมไว้ ใช้พูก่ นั จุ่มน้ำ� ผึง้ ความเข้มขน้ 50% ป้ายบนกระดาษทิชชูขนาดเล็ก 3 แผน่ ทีว่ างทาบไวท้ ผี่ นงั โหลพลาสติก 3 ดา้ น ด้านที่เหลือเปน็ กระดาษทชิ ชูท่ปี ้ายด้วยน�ำ้ สะอาด พนื้ กลอ่ งวาง กระดาษทชิ ชไู วส้ �ำหรบั ให้ผีเสื้อวางไข่ น�ำผเี สอ้ื ท่ฟี กั จากดกั แดแ้ ล้ว ใส่ลงในโหลพลาสตกิ โหลละ 25 คู่ (เพศผู้ 25 ตวั และเพศเมีย 25 ตวั ) ท้งิ ไว้ 1 - 2 วัน ใหผ้ เี สือ้ วางไข่บนกระดาษทิชชู การเล้ยี งขยายหนอนหวั ด�ำมะพร้าว เตรียมกล่องพลาสติกเลี้ยงแมลงและใส่ใบมะพร้าวที่ท�ำความสะอาดแล้วตัดเป็นท่อนยาว 10 เซนตเิ มตร น�ำมาเรยี งซ้อนกนั 8 ใบ ใช้กรรไกรตัดกระดาษทิชชทู ่ีมไี ข่หนอนหัวด�ำมะพร้าวออกเปน็ ช้ินเลก็ ๆ ขนาด 1 - 1.5 เซนตเิ มตร แลว้ นำ� กระดาษทชิ ชูขนาดเลก็ ทมี่ ไี ข่ผีเสอื้ วางสอดไปในใบมะพรา้ ว จากนน้ั ใชก้ ระดาษ ทชิ ชปู ดิ ทกี่ ลอ่ งดา้ นในกอ่ นปดิ ฝาเพอื่ ปอ้ งกนั หนอนวยั 1 หนอี อกจากกลอ่ งเลย้ี งทอี่ ณุ หภมู ิ 25 – 28 องศาเซลเซยี ส หนอนหวั ด�ำมะพร้าวจะทยอยฟักออกจากไขภ่ ายใน 4 - 5 วัน โดยระยะแรกๆ จะอย่รู วมกันเปน็ กลุ่มและบอบบางมาก การเปล่ียนอาหารหรือใบมะพร้าวจึงต้องใช้ความระมัดระวัง (ห้ามใช้พู่กันเข่ียไข่หรือ หนอนทเี่ พงิ่ ฟกั ) โดยใหใ้ สใ่ บมะพรา้ วใบใหมล่ งไปในกลอ่ ง หนอนหวั ดำ� มะพรา้ วจะยา้ ยมาทใี่ บมะพรา้ วใบใหมเ่ อง ใชเ้ วลา 1 - 2 วัน จึงน�ำใบมะพร้าวเกา่ ออก เปลีย่ นใบมะพรา้ วทกุ 3 - 5 วัน (อยา่ ปลอ่ ยให้ใบมะพร้าวแห้ง) ประมาณ 35 - 40 วนั จะได้หนอน หัวด�ำมะพร้าวขนาดใหญว่ ัย 6 ความยาวลำ� ตวั ประมาณ 2.5 เซนตเิ มตร ทส่ี ามารถน�ำไปเลย้ี งขยายแตนเบียนได้ การคดั เลอื กดกั แดห้ นอนหวั ด�ำมะพร้าวทสี่ มบรู ณแ์ ขง็ แรง ไขห่ นอนหัวดำ� มะพรา้ วท่ีขอบใบมะพร้าว การเพาะเลยี้ งขยายหนอนหวั ดำ� มะพรา้ ว เอกสารวิชาการ  การจัดการศัตรูมะพร้าว

การเพาะเล้ียงหนอนผเี สื้อข้าวสาร การเตรียมอาหารสำ� หรับเลย้ี งหนอนผีเส้ือข้าวสาร นำ� ร�ำละเอียด : ปลายข้าว : น�้ำตาลทรายขาว ในอัตราส่วน 60 : 3 : 1 มาผสมกันในถาดอลมู ิเนียม แล้วอบส่วนผสมในตู้อบที่อุณหภูมิ 80 - 90 องศาเซลเซียส นาน 8 - 9 ช่ัวโมง เพ่ือกำ� จัดแมลงที่ติดมากับรำ� เชน่ มอดขา้ วสาร มอดแปง้ ด้วงงวงข้าว ท้ิงไว้ให้เยน็ แล้วใสใ่ นกล่องพลาสตกิ ใหม้ นี ำ้� หนักของอาหารกล่องละ 1 กิโลกรัม การเลีย้ งขยายหนอนผีเสือ้ ขา้ วสาร น�ำผีเสื้อข้าวสารตัวเต็มวัยเพศผู้เพศเมีย ใส่ตะกร้าท่ีบุด้วยตาข่ายไนล่อน เพื่อให้ผีเสื้อข้าวสาร ผสมพนั ธ์ุและวางไข่ โดยปลอ่ ยทิง้ ไว้ 1 วนั จากนน้ั ใชแ้ ปรงปดั ที่ตาขา่ ยไนล่อนเพอ่ื แยกเอาไขอ่ อกใสใ่ นถาดและ นำ� ไปเพาะเลย้ี งต่อ โรยไข่หนอนผีเสื้อข้าวสาร ประมาณ 0.1 กรัม ให้ท่ัวกล่องพลาสติกที่มีอาหารและปิดฝาครอบ ให้สนทิ บนฝาเจาะรูระบายอากาศขนาด 4x10 เซนตเิ มตร ตดิ ตะแกรงลวดตาละเอียดขนาด 60 mesh ทส่ี ามารถ ป้องกนั ไม่ใหแ้ มลงชนดิ อน่ื เข้าไป วางกล่องท่ีโรยไขข่ องหนอนผเี สอ้ื ข้าวสารแลว้ ในห้องที่มอี ุณหภมู ิ 28 - 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 35 - 40 วนั จะได้หนอนทีม่ ีขนาดลำ� ตวั ยาว 1.5 เซนตเิ มตร เหมาะส�ำหรบั เล้ียงขยายแตนเบียนได้ แบง่ หนอนที่แข็งแรงสว่ นหนงึ่ เล้ยี งจนกระท่งั พัฒนาเป็นดักแดแ้ ละเป็นผเี สอื้ ตัวเต็มวัยพ่อแม่พนั ธุ์ สว่ นผสมอาหารสำ� หรับเลี้ยงขยายหนอนผีเส้อื ขา้ วสาร ผีเสอ้ื ข้าวสารพอ่ แมพ่ นั ธุ์ในกรงตาขา่ ย ส�ำหรับผสมพันธ์แุ ละวางไข่ การเพาะเล้ียงแตนเบยี นหนอนหัวด�ำมะพรา้ ว การเตรยี มพอ่ แมพ่ นั ธุแ์ ตนเบียนทพี่ ร้อมสำ� หรับวางไข่ แตนเบียนเพศเมียที่ได้รับการผสมพันธุ์แล้วเท่าน้ันท่ีจะน�ำมาใช้เป็นแม่พันธุ์ แตนเบียนที่พร้อม น�ำไปใช้ต้องปล่อยทิ้งไว้ให้เพศผู้และเพศเมียผสมพันธุ์กันเป็นเวลาอย่างน้อย 4 วัน หลังฟักออกจากดักแด้ ซ่ึงเพศเมียจะมีขนาดตัวใหญ่กว่าเพศผู้ ให้ใช้พู่กันเบอร์ 0 เขี่ยแตนเบียนเพศเมียออกมาอย่างเบามือ ใส่ใน หลอดพลาสตกิ ส�ำหรบั เบียน การเตรยี มแมลงอาศัย หนอนหวั ด�ำมะพรา้ วหรือหนอนผเี ส้ือขา้ วสาร การเพาะเล้ยี งแตนเบียนหนอนหัวด�ำมะพร้าว ใช้หนอนหัวดำ� มะพร้าวและหนอนผีเสือ้ ขา้ วสารเปน็ แมลงอาศัย โดยเลี้ยงแตนเบยี นด้วยหนอนผีเสือ้ ข้าวสาร 3 รนุ่ สลับกับเลีย้ งแตนเบยี นด้วยหนอนหัวด�ำมะพร้าว เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

1 รุ่น (เพ่ือป้องกันไม่ให้แตนเบียนอ่อนแอและวางไข่ได้น้อยลง) หนอนที่น�ำมาใช้เพาะเลี้ยงแตนเบียน คือหนอนหัวด�ำมะพร้าววัย 6 ความยาวล�ำตัวประมาณ 2.5 เซนติเมตร ใช้เวลาเล้ียงประมาณ 35 - 40 วัน หรือหนอนผเี สอื้ ขา้ วสาร ความยาวล�ำตัวประมาณ 1.5 เซนตเิ มตร ใชเ้ วลาเลย้ี งประมาณ 35 - 40 วนั การเพาะเลีย้ งขยายแตนเบียนหนอนหัวด�ำมะพรา้ ว ปล่อยหนอนใส่ในหลอดเบียนที่มีแตนเบียนเพศเมียอยู่ภายในโดยใช้หนอนหัวด�ำมะพร้าวหน่ึงตัว ต่อแตนเบยี นเพศเมยี 1 ตวั ปดิ ดว้ ยฝาทีต่ ดิ ตะแกรงลวดละเอยี ดทม่ี ีชนิ้ ฟองน�้ำใส่น�ำ้ ผ้งึ ไว้ 1 หยด เพอ่ื เปน็ อาหาร แตนเบียน (อยา่ ใหน้ ้ำ� ผ้ึงแห้ง) น�ำหลอดที่ใส่แตนเบียนและหนอนหัวด�ำมะพร้าวแล้ว วางเรียงในตะกร้าตามแนวนอน บันทึก รายละเอยี ด แตนเบียน และวนั ทเ่ี บียนบนหลอดเบยี น ปล่อยให้แตนเบียนเข้าเบียนหนอนหัวด�ำมะพร้าว เป็นเวลา 4 วัน เม่ือพบแตนเบียนวางไข่ จึงตรวจนับจำ� นวนไขข่ องแตนเบยี น ภายใต้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ หรอื แว่นขยาย ใช้ปากคีบน�ำตัวหนอนท่ีมีไข่แตนเบียนออกจากหลอดเบียน และใส่หนอนแมลงอาศัยตัวใหม่ ให้แตนเบียนลงเบียน ส�ำหรับหนอนหัวด�ำมะพร้าวท่ีแตนเบียนวางไข่บนล�ำตัวแล้ว ให้น�ำไปวางในกระดาษ ขนาด 5 x 7.5 เซนตเิ มตร ทพ่ี บั ขอบกระดาษใหม้ ลี กั ษณะคลา้ ยกระบะเลก็ ๆ ซงึ่ จะวางหนอน 10 ตวั ตอ่ หนง่ึ กระบะ (ไม่ควรวางหนอนซ้อนทับกันเน่ืองจากจะมีผลต่อแตนเบียนที่ก�ำลังเจริญเติบโตอยู่) จากนั้นน�ำไปเก็บใน กลอ่ งพลาสติกทเ่ี จาะฝากล่องและปดิ ดว้ ยผา้ แก้วเพือ่ ระบายอากาศ ตั้งทิง้ ไว้ 1 สัปดาห์ หนอนแตนเบยี นจะฟกั ออกจากไขเ่ จรญิ เตบิ โตและเขา้ ระยะดกั แด้ คอยสงั เกตตวั หนอนแมลงอาศยั หากเรมิ่ มีสีดำ� คล้ำ� ใหค้ ีบหนอนทิ้ง เพราะอาจทำ� ให้ดกั แด้แตนเบียนติดเช้อื และไม่ฟักเป็นตัวเตม็ วยั น�ำกระบะกระดาษทม่ี ดี กั แดข้ องแตนเบยี นบรรจุใสห่ ลอดขนาดเส้นผ่านศูนยก์ ลาง 3.5 เซนติเมตร สูง 7 เซนติเมตร ทีเ่ ตรยี มไว้ จากน้ันประมาณ 1 สัปดาห์คอยสังเกตการฟักตัวของแตนเบียน เมื่อพบแตนเบียนตัวเต็มวัย แล้วจึงเติมน้�ำผึ้งลงในช้ินฟองน้�ำเพื่อเป็นอาหารให้กับแตนเบียน เม่ือแตนเบียนฟักออกจากดักแด้หมดแล้ว ปล่อยใหผ้ สมพันธต์ุ อ่ ไปอีก 4 วนั จึงจะนำ� ไปเบยี นแมลงอาศัยรุ่นต่อไป หลอดสำ� หรบั ปลอ่ ยแตนเบียนวางไข่บนตวั หนอน การวางหลอดเบียนในตะกรา้ พลาสตกิ การวางกระบะดกั แดแ้ ตนเบียนในกลอ่ งพลาสติก แตนเบยี นโกนีโอซสั ท่ฟี กั ออกจากดักแด้  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

การปลอ่ ยแตนเบียนหนอนหัวด�ำมะพร้าว กอ่ นปลอ่ ยแตนเบยี นออกสธู่ รรมชาติ ควรใหแ้ นใ่ จวา่ แตนเบยี นผสมพนั ธเ์ุ รยี บรอ้ ยแลว้ ในหลอดพลาสตกิ (จะผสมพันธหุ์ ลังจากออกจากดักแดแ้ ลว้ 4 - 5 วนั ) ซ่งึ เม่อื ปลอ่ ยแตนเบียนในธรรมชาติ แตนเบยี นจะสามารถ เบียนและวางไขบ่ นตวั หนอนหัวดำ� มะพรา้ วไดท้ นั ที อุปกรณ์ปล่อยแตนเบียนหนอนหัวด�ำมะพร้าว ได้แก่ หลอดพลาสติกใสท่ีฝาเจาะรูปิดด้วยผ้าใยแก้ว เพอ่ื ระบายอากาศ ขนาดเส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง 4 เซนตเิ มตร สูง 6 เซนตเิ มตร ภายในมสี �ำลีชุบน้�ำผึ้งเขม้ ขน้ 50% เพอ่ื เปน็ อาหารของแตนเบยี น เกบ็ ตวั อยา่ งแตนเบยี นไว้ 1% เพอื่ ตรวจสอบคณุ ภาพของแตนเบยี น โดยแตนเบยี น ชดุ ทผ่ี ลติ ไดแ้ ละนำ� ไปปลอ่ ยตอ้ งมคี ณุ ภาพ โดยแตนเบยี นทผี่ ลติ ไดต้ อ้ งสามารถใหผ้ ลผลติ เพศเมยี รนุ่ ตอ่ ไปไดเ้ ฉลย่ี 5 ตวั ตอ่ หนอน 1 ตัว การใช้แตนเบียนหนอนหัวด�ำมะพร้าว ควบคุมหนอนหัวด�ำมะพร้าวในประเทศอินเดีย และศรีลังกา แนะนำ� ใหป้ ลอ่ ยตวั เต็มวยั ชว่ งเย็น ในอตั รา 50 - 100 ตวั ต่อไร่ ปลอ่ ยทุก 7 - 10 วนั ติดต่อกัน 3 เดือน โดยบรรจุ ตัวเต็มวัยแตนเบียนโกนีโอซัสเพศเมีย ในหลอดพลาสติกที่เตรียมไว้ ภายในมีส�ำลีชุบน้�ำผ้ึงเข้มข้น 50% เพ่ือ เป็นอาหารของแตนเบียน น�ำไปปล่อยในสวนมะพร้าว โดยเปิดฝาหลอดให้แตนเบียนบินออกจากอุปกรณ์ หากสามารถปลอ่ ยแตนเบยี นไดจ้ �ำนวนมากจะท�ำให้มปี ระสิทธภิ าพในการควบคุมมากขนึ้ ตามไปด้วย กรณีที่จ�ำเป็นต้องขนส่งแตนเบียนไปยังพื้นที่ระบาดที่ไกลจากพ้ืนที่ ควรจัดส่งในรูปแบบของดักแด้ เพราะหากส่งเป็นตัวเต็มวัยจะท�ำให้แตนเบียนตายในระหว่างทางได้ เน่ืองจากอุณหภูมิการเก็บรักษาระหว่าง การขนส่ง มีผลต่อการอยู่รอดของแตนเบียน และการจัดส่งแตนเบียนควรก�ำหนดระยะเวลาให้พอเหมาะ เพราะหากจัดสง่ ลา่ ชา้ อาจท�ำใหแ้ ตนเบียนฟกั ออกจากดกั แด้เป็นตวั เต็มวัยก่อนถงึ พืน้ ทรี่ ะบาดได้ การประเมินผลส�ำเร็จ ประเมินพ้ืนท่ีระบาดแปลงละ 10 ต้น นับจ�ำนวนประชากรหนอนหัวด�ำมะพร้าว (หนอนขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และดักแด้) โดยใช้ 10 ใบย่อยต่อ 1 ต้น ประเมินผลก่อน และหลังปล่อยแตนเบียน ทกุ 1 เดอื น ประเมนิ ความเสยี หายจากการทำ� ลายของหนอนหวั ดำ� มะพรา้ ว โดยสงั เกตจากทางใบทย่ี งั ไมถ่ กู ทำ� ลาย ตามวธิ กี ารใน Proceedings of the Dissemination Workshop on the CFC/DFID/APCC/FAO Project on Coconut Integrated Pest Management Held in Columbo Sri Lanka 12 - 20th October 2006 ซึ่งก�ำหนดโดยนับทางใบมะพร้าวที่ยังไม่ถูกท�ำลายดังนี้คือ ระดับรุนแรงมีจ�ำนวนน้อยกว่า 6 ทางใบ ระดับปาน กลางมจี ำ� นวน 6 - 13 ทางใบ ระดับนอ้ ยมีจำ� นวนมากกวา่ 13 ทางใบ และไมม่ กี ารระบาดคอื ไม่พบการท�ำลาย ระดับการทำ�ลาย หนอนหวั ดำ�มะพร้าว (นบั ทางใบท่ียังไมถ่ กู ท�ำ ลาย) รนุ แรง (3) < 6 ทางใบ ปานกลาง (2) 6 - 13 ทางใบ น้อย (1) > 13 ทางใบ ไม่มีการระบาด (0) ไม่พบทางใบทีถ่ ูกท�ำ ลาย  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

การใช้ราเขยี วเมตาไรเซียมเพื่อควบคมุ ด้วงแรดมะพรา้ วในกองกบั ดกั ราเขยี วเมตาไรเซยี ม Metarhizium sp. ราเขียวเมตาไรเซียม Metarhizium sp. เป็นจุลินทรีย์ขนาดเล็ก พบในดิน ลักษณะ ทางกายภาพเมอื่ สอ่ งดภู ายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนก์ ำ� ลงั ขยาย 40 เทา่ พบวา่ เสน้ ใยมผี นงั กน้ั เปน็ ปลอ้ งๆ ไมม่ ีสี สรา้ งหนว่ ยสบื พันธ์ุแบบไม่อาศยั เพศที่เรยี กวา่ โคนิเดยี มลี ักษณะเป็นรปู ยาวรีคลา้ ยเมล็ดข้าว เรียงต่อกันเป็นลูกโซ่ ในช่วงแรกที่เกิดใหม่โคนิเดียจะมีสีขาว ต่อมาจะเปลี่ยนเป็นสีเขียวเข้ม จึงใช้เป็นช่ือเรียกของราชนิดน้ี ราเขียวเป็นเช้ือราที่มีประโยชน์ท�ำให้เกิดโรคกับแมลง ส่วนใหญ่ ใช้ควบคุมแมลงศัตรูพืชท่ีมีวงชีวิตระยะท่ีอาศัยในดิน โดยเฉพาะกลุ่มหนอนด้วงต่างๆ ได้แก่ หนอนด้วงแรดมะพร้าว และหนอนด้วงหนวดยาวอ้อย นอกจากน้ีพบว่าบางสายพันธุ์สามารถ ใชค้ วบคมุ แมลงศตั รพู ชื ในกลมุ่ อน่ื ๆ ไดแ้ ก่ ตก๊ั แตน มวน และเพลยี้ กระโดด โดยทว่ั ไปราเขยี วสามารถ ทำ� ลายเหยอ่ื ไดใ้ นระยะตัวหนอน ดกั แด้ และตวั เตม็ วยั ราเขยี วเมตาไรเซยี มเล้ยี งในอาหารสงั เคราะห์ PDA ลักษณะราเขียวเมตาไรเเซยี ม เอกสารวิชาการ  การจัดการศัตรูมะพร้าว

การเขา้ ท�ำลาย ราเขียวเมตาไรเซียมสามารถเข้าท�ำลายแมลงได้โดยผ่านเข้าทางผนังล�ำตัวแมลง การเข้าท�ำลายแมลง โดยเร่ิมจากสปอร์ (โคนิเดีย) ของราเขียวที่ติดกับผนังล�ำตัวแมลง เมื่อได้รับความช้ืนและอุณหภูมิที่เหมาะสม จะกระตุ้นให้เกิดการงอกและแทงทะลุผ่านช้ันผนังล�ำตัวเข้าสู่ภายใน เชื้อราจะท�ำลายชั้นไขมันเป็นส่วนแรก และแพรเ่ ขา้ สชู่ อ่ งวา่ งภายในลำ� ตวั แมลง เสน้ ใยราเขยี วเจรญิ เตบิ โตโดยการดดู ซมึ และใชอ้ าหารภายในลำ� ตวั แมลง อาศยั ในขณะเดยี วกันเสน้ ใยบางสว่ นอาจเขา้ ทำ� ลายเนอ้ื เย่ือ หรอื อวัยวะภายในของแมลงใหไ้ ดร้ บั ความเสียหาย จากน้ันจะเจริญเติบโตและแพร่กระจายจนเต็มตัวเหยื่อ แมลงท่ีตายด้วยเชื้อรามักมีลักษณะแห้งและแข็ง เรียกลักษณะเช่นน้ีว่า “มัมม่ี” เน่ืองจากมีเส้นใยเชื้อราเจริญอัดแน่นอยู่ภายในล�ำตัว หลังจากแมลงตายราเขียว จะแทงทะลุผ่านผนังล�ำตัวออกมาแพร่กระจายพันธุ์ภายนอก ในช่วงแรกจะพบเส้นใยสีขาวข้ึนปกคลุมล�ำตัว และจะเปล่ยี นเป็นสเี ขยี วในเวลาต่อมา การใช้ราเขียวเมตาไรเซียมควบคุมด้วงแรดมะพร้าวเป็นวิธีการป้องกันก�ำจัดทางชีววิธีท่ีได้ผลในระยะ ยาว ไม่มพี ิษตกค้าง มีความปลอดภัยต่อสภาพแวดลอ้ ม โดยราเขียวมีความคงทนสามารถมีชวี ิตอย่ใู นดินไดข้ า้ มปี และมคี วามเฉพาะเจาะจงตอ่ กลมุ่ แมลงอาศยั การใชร้ าเขยี วควบคมุ ดว้ งแรดมะพรา้ วสว่ นใหญจ่ ะคลกุ ผสมราเขยี ว ลงในกองกบั ดกั หรอื ในแหลง่ ทพี่ บการระบาดของด้วงแรดมะพร้าว เพอื่ ทำ� ลายตวั หนอนและดกั แด้ทอ่ี ยู่ในดนิ ตวั หนอนดว้ งแรดมะพรา้ วทถ่ี กู ราเขียวเมตาไรเซยี มเขา้ ท�ำลาย ราเขยี วเมตาไรเซยี มที่อย่ภู ายในตวั หนอน การผลติ ขยายราเขยี วเมตาไรเซียม เตรยี มขา้ วโพดบดหยาบและนำ้� โดยใสข่ ้าวโพดบดหยาบ 400 กรมั เตมิ น้ำ� 400 มิลลิลติ ร (อัตราส่วน 1 : 1) ใส่ถุงพลาสติกทนร้อน ปิดปากถุงด้วยจุกส�ำลีและหุ้มทับด้วยกระดาษ ก่อนน�ำไปนึ่งฆ่าเชื้อท่ีอุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส ท่ีความดนั 15 ปอนด์ต่อตารางนวิ้ เป็นเวลา 20 นาที ปลอ่ ยทิ้งไว้ให้เย็น แล้วใส่หัวเชอื้ ราเขียว ที่เตรียมไว้คลุกให้กระจายท่ัวอาหาร เลี้ยงไว้ในอุณหภูมิห้อง ประมาณ 2 สัปดาห์ เชื้อจะสร้างโคนิเดียสีเขียว กระจายเตม็ ถุง จึงนำ� ราเขียวที่ผลิตไดไ้ ปใช้ควบคุมดว้ งแรดมะพรา้ วต่อไป  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

ข้าวโพดบดหยาบท่ีใช้เลี้ยงราเขยี วเมตาไรเซียม เชื้อเจริญเต็มถุงประมาณ 2 สัปดาห์ คุณสมบตั ิทด่ี ีของราเขียวเมตาไรเซียม ผลิตไดง้ า่ ย สามารถเลยี้ งได้บนเมลด็ ธัญพชื และอาหารเทียม มคี วามคงทนในสภาพแวดล้อมสูง สามารถมีชีวติ อยใู่ นดนิ ไดข้ ้ามปี ใชไ้ ดง้ ่าย โดยการคลกุ ผสมลงดิน หรอื การผสมนำ�้ ฉีดพ่น แพร่กระจายได้ง่าย โดยปลิวไปกับลม หรือติดไปกบั คน สัตว์ หรอื แมลง ขอ้ จำ� กดั ในการใชร้ าเขยี วเมตาไรเซยี ม ราเขียวเมตาไรเซียมต้องการความช้ืนสูงในการงอกของโคนิเดีย จึงควรเลือกช่วงเวลาท่ีเหมาะสม เช่น ในช่วงปลายฤดฝู น หรอื ช่วงตน้ ฤดหู นาว ทมี่ อี ากาศเยน็ และมคี วามช้ืนสูง ผู้ใช้ควรหลีกเล่ียงการใช้ในช่วงท่ีมีแสงแดดจัด เช่น ในฤดูร้อนหรือในช่วงเวลากลางวัน ควรใช้ในช่วง เวลาเย็น พลบค่ำ� หรอื หลงั พระอาทติ ย์ตก ผู้ใช้ควรสวมเคร่ืองป้องกัน เช่น ใช้ผ้าปิดปาก และจมูก เพ่ือหลีกเลี่ยงการสูดหายใจเอาโคนิเดียเชื้อ เขา้ ระบบทางเดินหายใจ สำ� หรบั ผ้ทู ีเ่ ปน็ โรคภมู แิ พอ้ าจทำ� ให้เกดิ อาการผนื่ คนั ได้ การจดั เตรยี มกองกับดักเพื่อใชร้ าเขยี วเมตาไรเซียมในสวนมะพรา้ ว เลอื กพน้ื ทท่ี พ่ี บการระบาดของดว้ งแรดมะพรา้ ว โดยสังเกตจากทางใบเกดิ ใหม่ทไี่ มส่ มบรู ณ์ มีรอยขาด แหว่งเป็นร้ิวๆ คล้ายหางปลา หรือรูปพัด ซ่ึงเกิดจากการเข้าท�ำลายของด้วงแรดมะพร้าวตัวเต็มวัย จัดเตรียม กองกับดกั ในพน้ื ท่ีดังกลา่ วเพอ่ื ลอ่ ใหด้ ้วงแรดมะพรา้ วตัวเต็มวัยมาจับคผู่ สมพนั ธ์แุ ละวางไข่ รอยแผลบรเิ วณยอดอ่อนท่ีถูกดว้ งแรดมะพร้าวกัดกิน ลกั ษณะทางใบท่ีถกู ท�ำลาย  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

วิธีการท�ำกองกบั ดกั 1. รวบรวมวัสดเุ หลอื ใชภ้ ายในสวนมะพร้าว ไดแ้ ก่ ทางใบมะพรา้ ว เศษใบไม้ หญา้ แหง้ ขยุ มะพร้าว เศษขเ้ี ลอ่ื ย ทะลายปาลม์ ปยุ๋ คอก มลู สตั วต์ า่ งๆ ตอมะพรา้ วผุ รวมถงึ เศษซากพชื อน่ื ๆ ทหี่ าไดง้ า่ ยและมอี ยใู่ นพนื้ ที่ เป้าหมายมากองรวมกัน ความสงู จากพ้ืนดนิ ประมาณ 50 เซนตเิ มตร หรอื การใช้กองป๋ยุ หมกั ปุย๋ คอก ทเ่ี กษตรกร ทำ� ใช้ในสวนอยูแ่ ล้วมาเปน็ กองกับดกั โดยใชแ้ ผ่นไมต้ กี ้ันเป็นแนวขอบใหม้ คี วามจุขนาด 2x2x0.5 เมตร กองกบั ดัก 2. คลุกส่วนผสมต่างๆ ให้ท่ัว ให้ความช้ืนโดยการรดน�้ำ ควรด�ำเนินการในหน้าฝน เนื่องจากมีสภาพ ความชื้นสูง จุลินทรีย์ต่างๆ ในดินท�ำงานได้ดีซ่ึงจะท�ำให้เกิดขบวนการหมักและเกิดการย่อยสลายภายใน กองกับดักได้เร็วขึ้น ทิ้งกองกับดักไว้จนส้ินสุดขบวนการหมัก อุณหภูมิภายในกองกับดักเย็นลง กลิ่นที่เกิดจาก ขบวนการหมกั จะดึงดดู ตัวเต็มวยั ของดว้ งแรดมะพรา้ วให้มาจับคู่ผสมพันธ์แุ ละวางไขใ่ นกองกับดัก  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

ใชว้ สั ดุทห่ี าง่ายในพื้นที่ใส่ให้เตม็ กองกับดกั เพอ่ื ดึงดดู ตวั เตม็ วัยด้วงแรดมะพร้าวให้มาวางไข่ ท้งิ กองกบั ดกั ไว้จนส้ินสุดขบวนการหมกั ประมาณ 2 – 3 เดือน จะพบหนอนด้วงแรดมะพร้าวภายในกองกบั ดกั เอกสารวิชาการ  การจัดการศัตรูมะพร้าว

3. นำ� ราเขยี วเมตาไรเซยี มทเี่ ลย้ี งไวใ้ สใ่ นกองกบั ดกั อตั รา 800 กรมั ตอ่ กองกบั ดกั (ขนาด 2x2x0.5 เมตร) คลกุ เคลา้ ใหท้ วั่ ทง้ั กอง เพอ่ื ใหร้ าเขยี วมโี อกาสสมั ผสั กบั หนอนดว้ งแรดมะพรา้ วในกองกบั ดกั ใหม้ ากทส่ี ดุ ใหค้ วามชน้ื โดยการรดน�้ำ หาวัสดุคลุมหน้าดินเพ่ือป้องกันการสูญเสียความชื้นในดิน และเพื่อให้ราเขียวสามารถงอกและ เจริญเตบิ โตได้ เม่อื ด้วงแรดมะพรา้ วมาวางไขใ่ นกองกับดัก ตัวหนอนทฟ่ี กั ออกจากไขจ่ ะตดิ เช้อื ราเขยี ว ใส่ราเขียวเมตาไรเซยี มและคลกุ เคล้าให้ทวั่ หลังจากพบหนอนดว้ งแรดมะพรา้ วภายในกองกับดัก 4. ราเขียวเมตาไรเซียมในกองกับดักจะมีประสิทธิภาพในการก�ำจัดหนอนด้วงแรดมะพร้าวได้นาน ประมาณ 6 - 12 เดอื น การทำ� กองกบั ดกั ควรท�ำอยา่ งตอ่ เน่ือง โดยการเตมิ วสั ดใุ นการกองกบั ดักและใสร่ าเขียว เมตาไรเซยี ม เพอื่ ชว่ ยควบคมุ ตวั หนอนดว้ งแรดมะพรา้ วทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ใหม่ และควรเตมิ วสั ดใุ นกองกบั ดกั ทกุ 4 เดอื น หรืออย่างน้อยปีละ 2 - 3 คร้ัง หนอนดว้ งแรดมะพร้าวตดิ เช้ือท่พี บในกองกับดักหลงั จากใส่ราเขียวเมตาไรเซียมประมาณ 1 เดือน  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

ไรศัตรมู ะพรา้ ว ไรเป็นส่ิงมีชีวิตขนาดเล็ก ที่อาศัยอยู่ได้ท่ัวทุกแห่ง เช่น ไรท่ีอาศัยอยู่ในน้�ำ ดิน อาหาร ไรตวั เบยี น ไรในบ้านเรอื น เศษซากพืชซากสตั ว์ และไรศตั รพู ืช ส่วนใหญ่ไรศตั รูพืชจะพบเขา้ ทำ� ลาย ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ใบ ยอด ตาดอก ผล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ลักษณะอาการของมะพร้าว ท่ีเกิดจากการเข้าท�ำลายของไร เกษตรกรไม่ทราบว่าเกิดจากการเข้าท�ำลายของไร เนื่องจากไร เป็นสิ่งมีชีวิตท่ีมีขนาดเล็กมากบางชนิดไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า ไรศัตรูที่เข้าท�ำลาย บนมะพร้าวพบเข้าท�ำลายท้ังใบมะพร้าว และเข้าท�ำลายผลของมะพร้าว ส�ำหรับไรศัตรูพืชที่พบ เป็นศัตรูของมะพร้าว มีดังน้ี ไรส่ีขามะพรา้ ว ชื่อสามัญ - ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Colomerus novahebridensis Keifer วงศ์ Eriophyidae อันดับ Trombidiformes ความส�ำคัญและลักษณะการท�ำลาย ไรสี่ขาชนิดน้ีพบคร้ังแรก ในประเทศไทยเม่ือปี 2554 โดย Dr. Giberto J. de Moraes จากประเทศบราซิล เข้ามาเก็บตัวอย่างไรสี่ขาบนมะพร้าว และคาดว่า ลกั ษณะอาการทพ่ี บบนผลมะพรา้ วนนี้ า่ จะเปน็ ไร Aceria guerreronis Keifer ซง่ึ เปน็ ไรศตั รู ที่ส�ำคัญของมะพร้าว เนอื่ งจากมลี ักษณะอาการท่คี ลา้ ยคลึงกนั มาก แต่จากการเกบ็ ตัวอยา่ ง เอกสารวิชาการ  การจัดการศัตรูมะพร้าว

ไรท่ีแสดงอาการบนผลมะพร้าวดงั กลา่ ว มาจ�ำแนกชนิด พบวา่ เป็นไร Colomerus novahebridensis Keifer ซึ่งไม่ใช่ไรศัตรูพืชกักกันของประเทศไทย ลักษณะอาการท่ีส�ำคัญพบว่าไรชนิดนี้จะเข้าท�ำลายอยู่ภายในกลีบ ของขั้วผล ต้ังแต่ระยะผลขนาดเล็กเม่ือแกะขั้วผลออก จะเห็นด้านในของขั้วผลเป็นสีน้�ำตาล หากน�ำไปส่องดู ภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ จะเห็นไรสี่ขาเล็กๆ เปน็ จ�ำนวนมาก อาการของผลมะพรา้ วขนาดเล็กทถ่ี กู การเขา้ ท�ำลายของไร ภายในขัว้ ผลของมะพรา้ วทีพ่ บไร ลกั ษณะตวั ไรท่พี บบนผลมะพร้าว สำ� หรบั บรเิ วณผลภายนอกจะพบเหน็ แผลเลก็ ๆ โดยลกั ษณะของแผลจะมลี กั ษณะเปน็ แผลทส่ี ว่ นปลาย จะมลี กั ษณะคอ่ ยๆ เรยี วแหลม เมื่อผลมขี นาดโตข้ึนจะเหน็ แผลไดช้ ดั เจนขึน้ แผลจะมีลกั ษณะเปน็ แผลสีน�้ำตาล แขง็ แตห่ ากพบแผลทผี่ ลมลี กั ษณะตดั เปน็ เสน้ ตรงในแนวนอน จะเปน็ ลกั ษณะอาการทเี่ กดิ จากการเขา้ ทำ� ลายของ ไรขาว ซ่งึ บางครั้งพบลักษณะอาการทัง้ ท่เี กิดจากไรสข่ี าและไรขาวอยูภ่ ายในผลเดียวกนั อาการทเี่ กิดจากการท�ำลายของไรส่ีขา อาการท่ีเกดิ จากการทำ� ลายของไรขาว  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

รปู ร่างลกั ษณะและชวี วทิ ยา ไรมีรูปร่างคล้ายหนอน ขนาดความยาวของล�ำตัวประมาณ 213 - 272 ไมโครเมตร ความกว้างของ ล�ำตัว 45 - 52 ไมโครเมตร สีขาวใส จนถึงสเี หลือง มสี ขี่ า ไม่สามารถมองเหน็ ได้ดว้ ยตาเปลา่ สำ� หรับวงจรชีวิต เนอ่ื งจากเป็นการพบครัง้ แรกในประเทศไทย จงึ ยังไมม่ ผี ูศ้ ึกษาถึงวงจรชวี ติ ของไรชนิดน้ี การปอ้ งกนั กำ� จัด หากพบผลมะพรา้ วทม่ี ลี กั ษณะอาการเปน็ แผลดงั กลา่ ว ตดิ เขา้ มาตามดา่ นตรวจศตั รพู ชื หรอื ตามตะเขบ็ ชายแดน ขอใหร้ บี แจง้ หนว่ ยงานที่เกยี่ วขอ้ งเพอื่ ด�ำเนินการเผาท�ำลาย เพราะลักษณะอาการดงั กล่าวมคี วามใกล้ เคียงกับลกั ษณะอาการทีเ่ กิดจากไร Aceria guerreronis Keifer ซ่ึงเป็นศัตรูพืชกกั กนั ของประเทศไทย สำ� หรับไรสี่ขามะพร้าว Colomerus novahebridensis Keifer ยงั ไมไ่ ด้มีการศกึ ษาถงึ วธิ ีการปอ้ งกัน กำ� จดั ไรแมงมมุ เทียมปาลม์ ชื่อสามญั palm false spider mite ชือ่ วิทยาศาสตร์ Raoiella indica Hirst วงศ์ Tenuipalpidae อนั ดับ Trombidiformes ความสำ� คญั และลักษณะการท�ำลาย ไรแมงมุมเทียมปาล์มเป็นศัตรูท่ีส�ำคัญของมะพร้าว หมาก และปาล์ม โดยจะดูดท�ำลายอยู่ท่ีบริเวณ ใตใ้ บ การทำ� ลายรนุ แรงมากในระยะตน้ กลา้ มลี กั ษณะเปน็ จดุ ประสขี าวจางๆ ทบี่ รเิ วณใตใ้ บ สว่ นหนา้ ใบเหนอื บรเิ วณ ท่ไี รดูดท�ำลายอยู่ จะมีลกั ษณะเหลืองซดี ในระยะแรก และจะค่อยๆ เปลีย่ นเปน็ สีน้ำ� ตาลแดง หากระบาดมากๆ ใบจะสเี หลอื ง เมอ่ื ระบาดรนุ แรงมากขนึ้ จะหลบซอ่ นอยภู่ ายใตเ้ สน้ ใยบางๆ ทม่ี นั สรา้ งขนึ้ บรเิ วณใตใ้ บนนั้ นอกจาก มะพร้าว หมาก และปาล์มแล้ว ยงั พบเปน็ ศัตรสู ำ� คัญของอินทผาลัมด้วย เอกสารวิชาการ  การจัดการศัตรูมะพร้าว

ไรแมงมุมเทยี มปาล์ม ลักษณะการทำ� ลายของไรแมงมมุ เทยี มปาลม์ รปู รา่ งลักษณะและชวี วิทยา ไรแมงมมุ เทยี มปาล์มความยาวลำ� ตวั 290 ไมโครเมตร กวา้ ง 250 ไมโครเมตร มลี ักษณะตัวกลมแบน ล�ำตัวมีสีแดงสดสม�่ำเสมอท่ัวทั้งตัว มีขนด้านสันหลังยาว เข้าท�ำลายท้ังมะพร้าว ปาล์ม และ หมาก เพศเมีย ภายหลงั จากการลอกคราบเปน็ ตัวเตม็ วยั แล้วใช้เวลาประมาณ 3 - 7 วัน จงึ จะวางไข่ โดยวางไข่เฉลีย่ วนั ละ 2 ฟอง ตัวอ่อนมี 3 ระยะ ตวั อ่อนวัยท่ี 1 ใช้ระยะเวลาประมาณ 9 - 10 วัน ตัวออ่ นวยั ที่ 2 ใช้ระยะเวลา 6 - 7 วัน ตวั อ่อนวัยท่ี 3 ใชร้ ะยะเวลา 10 - 11 วนั รวมระยะเวลาจากไขเ่ ป็นตัวเตม็ วยั 33 วัน การปอ้ งกันกำ� จดั ยังไม่ไดม้ กี ารศึกษาถงึ วธิ ีการปอ้ งกนั ก�ำจดั  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว

ไรแมงมุมฟิจิ ช่ือสามัญ Fiji spider mite palm spider mite ช่อื วิทยาศาสตร์ Tetranychus fijiensis Hirst วงศ์ Tetranychidae อันดับ Trombidiformes ความส�ำคัญและลักษณะการท�ำลาย ไรแมงมุมฟิจิศัตรูที่ส�ำคัญของแพสชั่นฟรุท และพืชตระกูลปาล์ม ดูดท�ำลายที่บริเวณใต้ใบ และ สร้างเส้นใยบางๆ ปกคลุมกลมุ่ ไข่ ตวั อ่อน และตัวเต็มวัย มกั อยู่รวมกนั เป็นกลมุ่ บนใบแพสช่นั ฟรุท เหนือบริเวณ ท่ีมีไรดูดท�ำลายนั้นใบจะมีลักษณะเหลืองซีดและหลุดร่วง ต้นโทรม ส�ำหรับมะพร้าว ไรเข้าท�ำลายบริเวณ ใต้ใบมะพรา้ ว มกั อยรู่ วมเป็นจุดๆ มีจ�ำนวนตัวไมม่ ากนกั บนใบมะพร้าว และพบบนใบมะพรา้ วท่ัวๆ ไป เปน็ ปกติ อาการเขา้ ทำ� ลายจงึ ไมเ่ ดน่ ชดั เหมอื นทเ่ี ขา้ ทำ� ลายบนใบแพสชน่ั ฟรทุ ไรจะสรา้ งเสน้ ใยบางๆ บรเิ วณใตใ้ บมะพรา้ ว นอกจากนี้ พบบนพืชอาหารอกี หลายชนดิ เช่น หมาก สม้ โอ มะนาว ทอ้ สาลี่ และ เหลยี ง ไรแมงมมุ ฟจิ เิ พศเมยี ไรแมงมุมฟจิ เิ พศผู้ รูปรา่ งลกั ษณะและชีววิทยา สีของล�ำตัวเป็นสีแดงสด เมื่อไรอายุมากขึ้นสีของล�ำตัวจะเปลี่ยนเป็นสีแดงเข้ม ความยาวของล�ำตัว 464.7 ไมโครเมตร กว้าง 412.0 ไมโครเมตร วงจรชวี ติ ระยะเวลา จากไข-่ ตัวเตม็ วัย 10.7 - 12.63 วนั ตวั อ่อน มี 3 ระยะ ระยะเวลา 6.45 - 8.46 วนั การปอ้ งกนั กำ� จดั พ่นสาร เฟนบูทาทินออกไซด์ (fenbutatin oxide) 50% W/V SC 15 มิลลิลิตรต่อน้�ำ 20 ลิตร, เฟนไพรอกซิเมต (fenpyroximate) 5% W/V SC 20 มิลลลิ ิตรต่อน�ำ้ 20 ลติ ร  เอกสารวิชาการ การจัดการศัตรูมะพร้าว