Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย

Description: การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย.

Search

Read the Text Version

กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ • บทนํา • ขอแตกตางระหวางปลาดกุ อยุ และปลาดุกเทศ • การเพาะผสมเทยี มปลาดกุ บ๊ิกอยุ • การอนบุ าลลกู ปลา • การเล้ียงปลาขนาดตลาด • ข้ันตอนการเลย้ี ง • วิธีปองกันการเกดิ โรคในปลาดกุ ลกู ผสมทเ่ี ลย้ี ง • โรคของปลาดกุ เลย้ี ง • สารเคมแี ละยาปฏิชวี นะท่นี ยิ มใชป องกนั และรักษาโรคปลา • ปรมิ าณและผลผลติ • การเปรียบเทยี บตน ทนุ ในการเลย้ี งปลาดกุ • ตลาด • แนวโนมตลาด • ปญหาและอปุ สรรค

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย 2 บทนํา ปลาดกุ อยุ ( Clarias macrocephalus ) เปน ปลาพน้ื บา นของไทยชนดิ ไมม เี กลด็ รปู รา งเรยี วยาว มี หนวด 4 เสน ทร่ี มิ ฝป ากผวิ หนงั มสี นี ้ําตาล เนอ้ื มสี เี หลอื ง รสชาตอิ รอ ยนมุ นวลสามารถนํามาปรงุ แตง เปน อาหารชนดิ ตา งๆ ไดมากมายในประเทศไทยมพี ันธปุ ลาดุกอยจู ํานวน 5 ชนิด แตที่เปนที่รูจักทั่วๆไป คอื ปลาดุกอุยและปลาดุกดา น (Clarias batrachus)ซง่ึ ในอดตี ทง้ั ปลาดกุ อยุ และปลาดกุ ดา นไดม กี ารเพาะเลย้ี งกนั อยางแพรหลาย เมื่อไมนานมานี้เองเกษตรกรไดนําพันธุปลาดุกชนิดหนง่ึ เขา มาเลย้ี งในประเทศไทยซง่ึ อธบิ ดกี รมประมง ไดมีคําสั่งใหกลุมวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าสถาบนั วจิ ยั การเพาะเลย้ี งสตั วน ้ําจดื ดําเนนิ การศกึ ษาพบวา เปน ปลา ในตระกูลแคทฟช เชน เดยี วกบั ปลาดกุ อยุ มถี น่ิ กาํ เนดิ ในทวปี แอฟรกิ า มชี อ่ื วา (Clarias gariepinus African sharptooth catfish)เปน ปลาทม่ี กี ารเจรญิ เตบิ ใจรวดเรว็ มาก สามารถกนิ อาหารไดแ ทบทุกชนิด มคี วามตา น ทานโรคและสภาพแวดลอ มสงู เปน ปลาทม่ี ขี นาดใหญเ มอ่ื เจรญิ เตบิ โตเตม็ ที่ แตป ลาดกุ ชนดิ นม้ี เี นอ้ื เหลว และมี สีซีดขาว ไมน า รบั ประทานซง่ึ กรมประมงไดใ หช อ่ื วา ปลาดุกเทศ จากการศึกษาทางลกั ษณะรูปรางและชวี วทิ ยาของปลาดุกเทศทางกลุมวิจยั การเพาะเลย้ี งสตั วน ้ํา สถาบนั วิจัยการเพาะเล้ียงสัตวน้ําจืดไดทําการเพาะขยายพันธุปลาโดยนํามาผสมพันธุกับปลาดุกอุยและปลาดุกเทศ ผลปรากฏวา การผสมขา มพนั ธรุ ะหวา ง ปลาดกุ อุยเพศเมียผสมกบั ปลาดุกเทศเพศผูส ามารถเพาะขยายพนั ธุ ไดดีลูกทไ่ี ดม อี ตั ราการเจรญิ เตบิ โตรวดเรว็ ทนทานตอ โรคสงู มลี กั ษณะใกลเ คยี งกบั ปลาดกุ อยุ จงึ ทําให เกษตรกรนําวธิ กี ารผสมขา มพนั ธไุ ปปฏบิ ตั กิ นั อยา งแพรห ลาย ซง่ึ ลกู หลานทเ่ี กดิ จากคผู สมนท้ี างกรมประมงให ชื่อวา ปลาดกุ อยุ -เทศ แตโดยทั่วๆไปชาวบานเรียกกันวา บ๊ิกอยุ หรือ อุยบอ สวนการผสมขา มพนั ธรุ ะหวา ง ปลาดุกอุยเพศผกู บั ปลาดกุ เทศเพศเมยี ลกู ทไ่ี ดไ มแ ขง็ แรงและเหลอื รอดนอ ย เมื่อเทียบกับการเพาะพันธุเพื่อให ไดปลาบิ๊กอุย สว นการผสมขา มพนั ธรุ ะหวา งปลาดกุ ดา นกบั ปลาดกุ เทศ ไมป ระสบผลสําเร็จเทาที่ควร ในปจจุบันนี้อาจกลาวไดวาปลาดุกลูกผสมอุย-เทศหรือบิ๊กอุยนั้นเปนท่ีนิยมเลี้ยงของเกษตรกร เน่ือง จากเล้ียงงายมกี ารเจรญิ เตบิ โตรวดเรว็ อกี ทง้ั ทนทานตอ โรคและสภาพแวดลอ มไดด ี ทั้งยังเปนที่นิยมบริโภค ของประชาชนเนอ่ื งจากมรี สชาตดิ แี ละราคาถกู ขอ แตกตา งระหวา งปลาดกุ อยุ และปลาดกุ เทศ ลกั ษณะ ปลาดกุ อยุ ปลาดกุ เทศ 1. หวั เล็กคอ นขา งรไี มแ บน กระโหลกจะ ใหญและแบน กระโหลกจะเปน ตมุ ๆ 2. ใตค าง 3. หนวด ล่ืนมีรอยบมุ ตรงกลางเลก็ นอ ย ไมเรียบมรี อยบมุ ตรงกลางเลก็ นอ ย 4. กะโหลกทายทอย 5.ปาก มสี คี ล้ําไมข าว สขี าว 6. ครบี หู มี 4 คู โคนหนวดเลก็ มี 4 คู โคนหนวดใหญ 7. ครบี หลงั โคงมน หยักแหลม มี 3 หยัก ไมปา นคอ นขา งมน ปา น แบนหนา มีเง่ียงเลก็ สน้ั แหลมคมมากครบี แขง็ มีเง่ียงใหญ สน้ั นม่ิ ไมแ หลมคมและสว น ย่ืนยาวเกนิ หรอื เทากบั ครบี ออ น ของครีบออ นหมุ ถงึ ปลายครบี แขง็ ปลายครบี สเี ทาปนดํา ปลายครบี สแี ดง

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย 3 ลกั ษณะ ปลาดกุ อยุ ปลาดกุ เทศ 8. ครบี หาง 9. สดั สว นระหวา งหวั :ตวั กลมไมใ หญม ากนกั สเี ทาปนดํา กลมใหญ สีเทา ปลายครบี มสี ี แดงและมี 10. สขี องลําตวั 11. จุดที่ลําตวั แถบสขี าวลาดบรเิ วณคอดหาง 12. ผนงั ทอ ง 1:4 1:3 ดาํ น้าํ ตาลปนดําทบ่ี รเิ วณดา นบน เทา เทาอมเหลอื ง ของลําตวั ขณะท่ีปลามขี นาดเลก็ จะปรากฏจดุ ไมมีจดุ เมอ่ื ปลาโตขน้ึ จะปรากฏลาย ขาวเรยี งขวางเปน ทางประมาณ 9 - คลา ยหนิ ออ นอยทู ว่ั ตวั 10 แถวเมอ่ื ปลามขี นาดใหญ จุดจะ เลอื นหายไป มีสีขาวถงึ เหลอื งเฉพาะบรเิ วณอกถงึ ผนังทองมสี ขี าวตลอดจนถงึ โคนหาง ครบี ทอ ง การเพาะผสมเทยี มปลาดกุ บก๊ิ อยุ 1. การเลย้ี งพอ -แมพันธุ ควรเล้ียงในบอ ดนิ ทีม่ ขี นาดต้งั แต 100 ตารางเมตรขน้ึ ไป โดยปลอ ยในอตั รา 20-30 ตวั /ตรม. ที่ ระดับความลกึ ของน้ําประมาณ 1.0-1.5 เมตร ควรมกี ารถา ยเทน้ําบอยๆ เพอ่ื กระตนุ ใหป ลากนิ อาหารได ดี และพัฒนาระบบสบื พนั ธขุ องปลาใหม ไี ขแ ละน้ําเชอ้ื ดยี ง่ิ ขน้ึ จะใชเ วลา ประมาณ 3-4 เดอื น ฤดูกาลผสมพันธุปลาดุก จะอยใู นชว งเดอื นมนี าคม- ตลุ าคมกอ นฤดกู าลผสมพนั ธุ ในชว งเดอื นกมุ ภา พันธุ ควรเรม่ิ คดั ปลาทม่ี ไี ขแ กส มบรู ณบ างสว นมาเรม่ิ ดําเนนิ การผสมเทยี ม. 2. การคดั เลอื กพอ - แมพันธุ พอแมพ นั ธปุ ลาดกุ ทน่ี ํามาใชค วรเปน ปลาทส่ี มบรู ณ ไมบ อบช้ํา และควรมอี ายตุ ง้ั แต 1 ป ขน้ึ ไป การ สังเกตลักษณะปลาเพศเมียท่ดี ีในการเพาะพนั ธดุ ไู ด จากสว นทอ งจะอมู เปง ไมน ม่ิ หรอื แขง็ จนเกนิ ไป ติ่งเพศจะ มีลักษณะกลมมีสีแดง หรอื ชมพอู มแดง ถา เอามอื บบี เบาๆ ทท่ี อ งจะมไี ขล กั ษณะเปน เมด็ กลมสนี ้ําตาลออ นใส ไหลออกมา สวนปลาดกุ เพศผจู ะมตี ง่ิ เพศยาวเรยี วมสี ชี มพเู รอ่ื ๆ ปลาไมค วรมขี นาดอว นหรอื ผอมจนเกนิ ไป ขนาดพอ-แมพ นั ธปุ ลาดกุ ควรมขี นาดน้ําหนักมากกวา 200 กรมั ขน้ึ ไป หรอื ปลาทม่ี อี ายปุ ระมาณ 7-8 เดอื น หรือ 1 ป ใหอาหารที่มีคุณภาพดี เพื่อใหมีไขแก จะใชเวลา 3-4 เดอื น มกี ารถา ยเทน้ําบอยๆ เพอ่ื กระตนุ ให ปลาถึงวัยเจริญพันธุเร็วขึ้น สว นปลาดกุ เทศเพศผนู ยิ มใชข นาดน้ําหนกั ตัวมากกวา 500 กรมั ขน้ึ ไป และควร เปน ปลาทม่ี อี ายไุ มต ่ํากวา 1 ป ลําตวั เพรยี วยาวและไมอ ว นจนเกนิ ไป ภาพที่ 1 พอ พนั ธปุ ลาดกุ เทศ และแมพันธุปลาดุกอุย

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย 4 3. อปุ กรณแ ละวธิ กี ารผสมเทยี ม 1. พอ-แมพ นั ธปุ ลา 2. ฮอรโมนตอมใตส มองปลา หรอื ฮอรโ มนสงั เคราะหช นดิ ตา ง ๆ 3. โกรงบดตอ มใตส มอง 4. เขม็ ฉดี ยา 5. เครอ่ื งชง่ั น้ําหนกั สามารถชง่ั ไดถ งึ จดุ ทศนยิ ม 2 ตําแหนง 6. ภาชนะสําหรบั ผสมไขป ลากบั น้ําเชื้อ ไดแก กะละมงั พลาสตกิ และขนไก 7. นา้ํ เกลอื และน้ํากลน่ั 8. อุปกรณใ นการกกไขป ลา เชน กระชัง อวนมงุ เขยี ว 9. อุปกรณใ นการอนบุ าลลกู ปลา ภาพท่ี 2 อุปกรณที่จําเปนในการผสมเทียม 4. ชนิดและวิธีการฉีดฮอรโมน ฮอรโมนที่ใชในการฉีดเรง ใหแมป ลาดกุ มไี ขแ กเ พ่อื ทจ่ี ะรีดไขผสมกบั น้ําเชอ้ื นน้ั มหี ลายชนดิ ซง่ึ สามารถ แยกได ดงั น้ี 1. ฮอรโมนจากตอมใตสมอง (pituitary gland) ไดแก ตอ มใตส มองปลาชนดิ ตา งๆ เชน ตอ มใต สมองปลาจีน ปลาโรฮู ปลาสวาย ปลาไน เปน ตน มหี นว ยความเขม ขน คอื โดส ซง่ึ มสี ตู รการคํานวณ คอื การฉีดฮอรโมนผสมเทยี มปลาดกุ อุย โดยใชฮ อรโ มนจากตอ มใตส มองจะตอ งฉดี สองครง้ั ครั้งแรกฉีดที่ ระดับความเขม ขน 1 โดส ทิ้งระยะหาง 6 ชั่วโมง จงึ ฉดี ครง้ั ทส่ี องทร่ี ะดบั ความเขม ขน 2 โดส หลงั จากนน้ั ประมาณ 9 - 10 ชั่วโมง เมอ่ื สงั เกตเหน็ วา มไี ขต กออกมาจากชอ งทอ งของแมป ลาบางตวั แลว จงึ รดี ไขผ สมกบั นา้ํ เชอ้ื ได การฉีดฮอรโมนผสมเทยี มปลาดกุ เทศ สามารถไขฮ อรโ มนจากตอ มใตส มองฉดี เรง ใหแ มป ลามไี ขส กุ โดยไขความเขมขน ของฮอรโ มนได เชน เดยี วกบั การฉดี ปลาดกุ อยุ แตร ะยะเวลาการรดี ไขห ลงั การฉดี เขม็ สอง จะใชเ วลาประมาณ 4 ชั่วโมง ซง่ึ ตา งจากปลาดกุ อยุ 5-6 ชั่วโมง การใชตอมใตสมองฉดี เรงใหแ มป ลาวางไข อาจใชร ว มกบั ฮอรโ มนสกดั เพอ่ื ใหก ารฉดี ไขส ะดวกขน้ึ โดย ใสฮอรโมนสกดั ในระดบั ความเขม ขน 100-300 ไอยู/แมป ลาน้ําหนกั 1 กก. รว มกบั การใชต อ มใตส มองใน อัตราเทา เดมิ

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย 5 สวนปลาเพศผูสามารถกระตุนใหมีนํ้าเชอ้ื มากขน้ึ โดยใชต อ มใตส มองทร่ี ะดบั ความเขม ขน 0.5 โดส ฉีดใหก บั พอ ปลาพรอ มกบั การฉดี ฮอรโ มนใหก บั แมป ลาครง้ั ทส่ี อง 2. ฮอรโมนสกัด (Extract hormone) ไดแก เอช ซี จี HCG (Human chorionic Gonadotropin) มี หนวยความเขม ขน เปน ไอ.ยู. (l.U. - lnternational unit) การฉีดฮอรโมนผสมเทียมปลาดกุ อุย โดยใชฮ อรโ มนสกดั (HCE) สามารถฉดี เรง ใหแ มป ลามไี ขส กุ ได โดยการฉดี ครง้ั เดยี วทร่ี ะดบั ความเขม ขน 3,000-5,000 ไอยู/แมป ลาน้ําหนกั 1 กก. หลงั จากฉดี ฮอรโ มน สกัดเปน เวลาประมาณ 15 -16(1/2) ชั่วโมง สามารถรดี ไขผ สมน้ําเชอ้ื ได การฉีดฮอรโมนผสมเทียมปลาดุกเทศ โดยใชฮ อรโ มนสกดั (HCG)ฉดี เรง ใหแ มป ลามไี ขส กุ ได โดยการ ฉีดคร้ังเดยี วเหมอื นกบั ปลาดกุ อยุ ทร่ี ะดบั ความเขม ขน 2,000 -4,000 ไอยู/แมป ลาน้ําหนกั 1 กก.หลงั จาก ฉีดฮอรโมนเปน เวลาประมาณ 9(1/2) - 11 ชั่วโมง สามารถรดี ไขผ สมเทยี มได ในเพศผูการกระตนุ ใหพ อ พนั ธมุ นี ้ําเชอ้ื มากขน้ึ โดยการฉดี ฮอรโ มนสกดั ครง้ั เดยี วทร่ี ะดบั ความเขม ขน 200 - 400ไอยู/พอปลาน้ําหนัก1 กก.ประมาณ 6 ชั่วโมง กอ นผา เอาถงุ น้ําเชอ้ื ออกมาไขใ นการผสมเทยี ม 3. ฮอรโมนสังเคราะห (Synthetic hormone) ไดแ ก LHRHa หรือ LRH-a มหี นว ยความเขม ขน เปน ไมโครกรัม (ug) ซง่ึ ในการฉดี กบั ปลาดกุ ตอ งใชร ว มกบั สารระงบั การทํางานของระบบการหลง่ั ฮอรโ มน คอื โดมเพอริโดน (Domperidone) หรอื มชี ่ือทางการคาวาโมทีเลียม (Motilium) ซง่ึ มหี นว ยเปน มลิ ลกิ รมั (mg) ขนาดที่มีขายโดยทั่วไปคือ เมด็ ละ 1O มลิ ลกิ รมั การฉีดฮอรโมนผสมเทยี มปลาดุกอุย โดยไขฮ อรโ มนสงั เคราะหส ามารถฉดี เรง ใหแ มป ลาดกุ อยุ มไี ขส กุ ได โดยการฉดี ครง้ั เดยี วทร่ี ะดบั ความเขม ขน 20-30 ไมโครกรมั แมป ลาน้ําหนกั 1 กก. รว มกบั การใสโ ดมเพ อริโดนที่ระดับความเขมขน 5 มลิ ลกิ รมั / แมป ลาน้ําหนกั 1 กก. หลงั จากฉดี ฮอรโ มนสงั เคราะหน เ้ี ปน เวลา ประมาณ 16 ชั่วโมง สามารถรดี ไขผ สมน้ําเชอ้ื ได การฉีดฮอรโมนผสมเทียมปลาดุกเทศ โดยใชฮ อรโ มนสงั เคราะหส ามารถฉดี เรง ใหแ มป ลาดกุ เทศมไี ข สุกไดโ ดยการฉดี ครง้ั เดยี วทร่ี ะดบั ความเขม ขน 15-30 ไมโครกรมั / แมป ลาน้ําหนกั 1 กก. รว มกบั การใส โดมเพอริโดนทร่ี ะดบั ความเขม ขน 5 มลิ ลกิ รมั /แมป ลาน้ําหนกั 1 กก. หลงั จากฉดี ฮอรโ มนสงั เคราะห เปน เวลาประมาณ 10 ชั่วโมง สามารถรดี ไขผ สมน้ําเชอ้ื ได ในปลาเพศผูการกระตนุ ใหพ อ พนั ธมุ นี ้ําเชอ้ื มากขน้ึ โดยการฉดี ฮอรโ มนสงั เคราะหท ร่ี ะดบั ความเขม ขน 5 ไมโครกรมั /พอปลานํ้าหนัก1 กก. รว มกบั โดมเพอรโิ ดน 5 มลิ ลกิ รมั /พอปลานํ้าหนกั 1 กก.กอ นผา ถงุ นา้ํ เชอ้ื ประมาณ 10 ชั่วโมง 5. ปรมิ าณสารละลายทใ่ี ช หลังจากท่ีเตรยี มฮอรโ มนทจ่ี ะฉดี ใหก บั พอ -แมพ นั ธปุ ลาดกุ แลว การคํานวณสารละลายทจ่ี ะผสมกบั ฮอรโมนเพื่อฉีดใหกับพอ-แมพ นั ธปุ ลาเปน เรอ่ื งทค่ี วรคํานงึ คอื จะตอ งใชน ้ํากลน่ั หรอื น้ําสะอาดเตมิ ในปรมิ าณ ที่เหมาะสม โดยการฉดี ปลาดกุ ขนาด 200-500 กรัม จะใชป รมิ าณสารละลายผสมแลว ประมาณ 0.3-0.7 ซี ซี สวนปลาดกุ ขนาด 500-2,000 กรัม ควรใชป รมิ าณสารละลายผสมประมาณ 0.4 -1.2 ซีซี สว นปลาดกุ ขนาด 2,000 กรมั ขน้ึ ไปใช สารละลายประมาณ 1.0-2.5 ซีซี 6. ตําแหนงที่ฉีดฮอรโมน การฉีดฮอรโมนปลาดกุ นน้ั ตําแหนงที่เหมาะสมที่สุด คอื บรเิ วณกลา มเนอ้ื ใตค รบี หลงั สว นตน เหนอื เสนขา งตัว โดยใชเ ขม็ เบอร 22-24 แทงเขม็ เอยี งทํามมุ กบั ลําตวั ประมาณ 30 องศา แทงลึกประมาณ 1 นว้ิ / (2 เซนตเิ มตร)

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย 6 ในกรณีที่ตองฉีดสองคร้งั ควรฉดี ครง้ั ทส่ี องสลบั ขา งกบั การฉดี ครง้ั แรกหลงั จากฉดี ฮอรโ มนปลา ดุก แลวขงั ในภาชนะทม่ี รี ะดบั น้ําเพียงทวมหลังพอ-แมพ นั ธปุ ลาเทา นน้ั เพราะถา ใสน ้ํามากเกนิ ไปปลาจะบอบ ชาํ้ มาก ภาพที่ 3 ตําแหนงท่เี หมาะสมในการฉดี ฮอรโ มน คอื บรเิ วณกลา มเนอ้ื ใตค รบี หลงั สว นตน เหนอื เสน ขา งตวั ในกรณีท่ีตอ งฉดี สองครง้ั ควรฉดี ครง้ั ทส่ี องสลบั ขา งกบั การฉดี ครง้ั แรก หลงั จากฉดี ฮอรโ มนปลาดกุ แลว ขังในภาชนะที่มีระดับนํ้าเพียงทวมหลังพอ-แมพ นั ธปุ ลาเทา นน้ั เพราะถา ใสน ้ํามากเกนิ ไปปลาจะบอบช้ํามาก ตารางท่ี 1 ชนิดและปริมาณตอมใตสมองในการฉีดกระตุนใหปลาดุกอุยวางไข ชนดิ ตอ ม ฉดี ครง้ั ท่ี 1 (โดส) ฉดี ครง้ั ท่ี 2 (โดส) ปลาสวาย 1.5 2.5 ปลาจีน 1 2 ปลาไน 0.8 1.8 7. การรีดไขผสมนํ้าเชอ้ื การรีดไขข องปลาดกุ เพอ่ื ผสมกบั น้ําเชอ้ื นน้ั ใชว ธิ กี ง่ึ เปย กเปน วธิ ที เ่ี หมาะสมทส่ี ดุ นําแมป ลาทไ่ี ดร บั การ ฉีดฮอรโมนและมไี ขแ กเ ตม็ ทแ่ี ลว มารดี ไขใ สใ นภาชนะผวิ เรยี บ เชน กะละมงั เคลอื บ พรอ มกนั นผ้ี า เอาถงุ น้ําเชื้อ จากพอปลา นํามาวางบนผา มงุ เขยี ว แลวขยใ้ี หล ะเอยี ดพรอ มกบั เทน้ําเกลอื เขม ขน ประมาณ 0.7 % หรือ น้ําสะอาดลงบนผา มงุ เขยี วทข่ี ยถ้ี งุ น้ําเชอ้ื ใหน ้ําไหลผา นเพอ่ื ใหน ้ําเชอ้ื ลงไปผสมกบั ไข ผสมไขก ับนํ้าเชอ้ื ใหเ ขา กันโดยการคนเบาๆ ดว ยขนไกป ระมาณ 2-3 นาที จึงนําไขท ไ่ี ดร บั การผสมแลว ไปลา งน้ําสะอาด 1 ครง้ั แลว นําไปฟก น้ําเช้ือจากปลาตวั ผหู นง่ึ ตวั สามารถผสมกบั ไขท ไ่ี ดจ ากการรดี ปลาเพศเมยี ประมาณ 10 ตวั

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย 7 ภาพท่ี 4 การรีดไขจากแมปลาดุกอุย ภาพท่ี 5 ผาทองพอ พนั ธุเ พ่อื เอาถุงน้ําเชื้อ ภาพที่ 6 ผสมน้าํ เชอ้ื กบั ไข ภาพท่ี 7 คนใหน ้ําเช้อื และไขผสมกนั อยางทวั่ ถึง 8. การฟก ไข ไขปลาดุกอุยเปนไขตดิ ไขท ด่ี คี วรมลี กั ษณะกลม มนี ้าํ ตาลเขม ไขข องปลาดกุ เทศกเ็ ปน ไขต ดิ เชน เดยี ว กับปลาดุกอยุ ไขท ด่ี คี วรมลี กั ษณะกลมและมสี เี ขยี วเขม นําไขป ลาดกุ ทไ่ี ดร บั การผสมกบั น้ําเชื้อแลวไปฟก โดย โรยไขบ นผา มงุ เขยี วเบอร 20 ทข่ี งึ ตงึ ทร่ี ะดบั ต่ํากวา ผวิ น้ําประมาณ 5-10 เซนตเิ มตร โดยระดบั น้ําในบอ ท่ี ขึงผามุงเขียวนั้นมีระดบั น้ําลกึ ประมาณ 20-30 เซนตเิ มตร เปด น้ําไหลผา นตลอดเวลาและควรมเี ครอ่ื งเพม่ิ อากาศใสไวใ นบอ กกไขปลาดว ย ไขป ลาดกุ ทไ่ี ดร บั การผสมจะพฒั นาและฟก เปน ตวั โดยใชเ วลาประมาณ 21- 26 ชั่วโมง ทอ่ี ณุ หภมู ขิ องน้ํา 28-30 องศาเซลเซยี ส ลกู ปลาดกุ ทฟ่ี ก ออกเปน ตวั จะหลดุ ลอดตาของมงุ เขยี วลง สูพื้นกนบอดานลาง หลังจากลูกปลาหลุดลอดลงสูพื้นกนบอหมดแลวจึงยายผามงุ เขยี วที่ใชฟกไขออกจากบอ ฟกจะใชเ วลา 6-8 ชั่วโมง ลกู ปลาจะคอ ยๆ พฒั นาเจรญิ ขน้ึ เปน ลําดบั จนมอี ายปุ ระมาณ 48 ชั่วโมง จงึ เรม่ิ กนิ อาหาร บอเพาะฟกลูกปลาดุกควรมีหลังคาปกคลุมปองกันแสงแดดและนํ้าฝนไดแมปลาขนาดประมาณ 1 กิโลกรัม จะไดล กู ปลาประมาณ 5,000 -20,000 ตวั ทง้ั นข้ี น้ึ อยกู บั ฤดกู าลและขนาดแมป ลา ภาพท่ี 8 นําไขปลาทผี่ สมแลวไปฟก

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย 8 การอนบุ าลปลา ลูกปลาดุกท่ีฟกออกเปนตัวใหม ๆ จะใชอ าหารในถงุ ไขแ ดงทต่ี ดิ มากบั ตวั เมอ่ื ถงุ ไขแ ดงทต่ี ดิ มากบั ลกู ปลายุบ ใหไขไกต ม สกุ เอาเฉพาะไขแ ดงบดผา นผา ขาวบางละเอยี ดใหล กู ปลากนิ 1-2 ครง้ั หลงั จากนน้ั จงึ ใหล กู ไรแดงเปน อาหาร การขนสงลูกปลาเมอ่ื ลกู ปลาอายคุ รบ 2 วัน สามารถขนยา ยไดด ว ยความระมดั ระวงั โดยใชส ายยางดดู แลวบรรจใุ นถงุ พลาสตกิ ขนาด 18 นว้ิ ไมค วรเกนิ 10,000 ตวั ตอ ถงุ หากขนสง เกนิ 8 ชั่วโมง ใหล ดจํานวนลกู ปลาลง การอนุบาลลูกปลาดุกในบอซีเมนต สามารถดูแลรักษาไดงายขนาดของบอซีเมนตควรมีขนาด ประมาณ 2-5 ตารางเมตร ระดบั ความลกึ ของน้ําทใี ชอ นบุ าลลกึ ประมาณ 15-30 เซนตเิ มตร การอนบุ าลลกู ปลาดุกท่ีมีขนาดเล็ก(อายุ 3 วัน) ระยะแรกควรใสน้ําในบอ อนบุ าลลกึ ประมาณ 10-15 เซนตเิ มตร เมอ่ื ลกู ปลามีขนาดใหญข นึ้ จึงคอ ย ๆ เพม่ิ ระดบั น้ําใหส งู ขน้ึ การอนบุ าลใหลกู ปลาดกุ มขี นาด 2-3 เซนตเิ มตรจะใช เวลาประมาณ 10-14 วัน น้าํ ที่ใชใน การอนบุ าลจะตอ งเปลย่ี นถา ยทกุ วนั เพอ่ื เรง ใหล กู ปลาดกุ กนิ อาหารและ มีการเจริญเติบโตดี อีกท้ังเปนการปองกันการเนาเสียของนํ้าดวย การอนุบาลลูกปลาดุกจะปลอยในอัตรา 3,000-5,000 ตวั /ตรม. อาหารที่ใช คอื ไรแดงเปน หลกั ในบางครง้ั อาจใหอ าหารเสรมิ บา ง เชน ไขต นุ บด ละเอียด เตาหอู อ นบดละเอยี ด หรอื อาจใหอ าหารเรง การเจรญิ เตบิ โต ซง่ึ หากใหอ าหารเสรมิ จะตอ งระวงั เกย่ี ว กับการยอยของลกู ปลาและการเนา เสยี ของน้ําในบอ อนบุ าลใหด ดี ว ย การอนุบาลลูกปลาดกุ ในบอ ดนิ บอ ดนิ ทใ่ี ชอ นบุ าลลกุ ปลาดกุ ควรมขี นาด 200-800 ตรม. บอ ดนิ ทจ่ี ะ ใชอนุบาลจะตองมีการกําจัดศัตรูของลูกปลากอน และพื้นกนบอควรเรียบ สะอาดปราศจากพชื พรรณไมน ้ํา ตางๆ ควรมรี อ งขนาดกวา งประมาณ 0.5 -1 เมตร ยาวจากหัวบอจรดทายบอ และลกึ จากระดับ พน้ื กน บอ ประมาณ 20 เซนตเิ มตร เพอ่ื ความสะดวกในการรวบรวมลกู ปลา และ ตรงปลายรอ งควรมแี อง ลกึ มีพื้นที่ ประมาณ 2-4 ตรม. เพอ่ื เปน แหลง รวบรวม ลกู ปลาการอนบุ าลลกู ปลาดกุ ในบอ จะตอ งเตรยี มอาหารสําหรับ ลูกปลา โดยการเพาะไรแดงไวล ว งหนา เพอ่ื เปน อาหารใหแ กล กู ปลากอ นทจ่ี ะปลอ ง 1 ลกู ปลาดกุ ลงอนบุ าลใน บอ การอนุบาลในบอ ดนิ จะปลอ ยในอตั รา 300-500 ตวั /ตรม. การอนบุ าลลกู ปลาใหเ ตบิ โตไดข นาด 3-4 เซนติเมตร ใชเวลาประมาณ 14 วัน แตก ารอนบุ าลลกู ปลาดกุ ในบอ ดนิ นน้ั สามารถควบคมุ อตั ราการเจรญิ เติบโตและอตั รารอดไดย ากกวา การอนบุ าลในบอ ซเี มนต ปญหาในการอนบุ าลลกู ปลา น้าํ เสยี เกดิ ขน้ึ จากการใหอ าหารลกู ปลามากเกนิ ไป หากลูกปลาปวยให ลดปริมาณอาหารลง 30-500 % ดดู ตะกอนถา ยน้ําแลวคอยๆ เตมิ น้ําใหมห ลงั จากนน้ั ใชย าปฏชิ วี นะออก ซีเตตราซัยคลิน แชล กู ปลาในอตั รา 10-20 กรมั ตอ นํา 1 ลกู บาศกเ มตรหรอื ในไตรฟรุ าโชน 5-10 กรัม ตอ น้ํา 1 ลกู บาศกเ มตร วนั ตอ ๆมาใชย า 3/4 เทา ปลาจะลดจํานวนการตายภายใน 2 3 วัน ถา ปลาตายเพม่ิ ขน้ึ ควรกําจดั ลกู ปลาทง้ิ ไป เพอ่ื ปอ งกนิ การตดิ เชอ้ื ไปยงั บอ อน่ื ๆ การเลย้ี งปลาขนาดตลาด การเลี้ยงปลาดุกลูกผสมอุยเทศเพื่อใหไดขนาดตามที่ตลาดตองการนั้นสามารถเลี้ยงไดทั้งในบอดิน และบอ ซเี มนต 1. การเลย้ี งในบอ ซเี มนต ควรปรับสภาพของนํ้าในบอ ทเ่ี ลย้ี งใหม สี ภาพเปน กลาง หรอื เปน ดา งเลก็ นอย แตตองแนใ จวา บอ ซเี มนตจ ะตอ งหมดฤทธข์ิ องปนู ระดบั น้ําในบอ เมอ่ื เรม่ิ ปลอ ยลกู ปลาขนาด 2-3 ชม.

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย 9 ควรมีความลึกประมาณ 20-30 เซนตเิ มตร เมอ่ื ลกู ปลาเตบิ โตขน้ึ คอ ยๆเพม่ิ ระดบั น้ําใหส งู ขน้ึ ตามลําดบั โดยเพ่ิมระดบั น้ําประมาณ 5 ชม./อาทติ ยใ หอาหารเมด็ ประมาณ 3-7 เปอรเ ซน็ ตข องน้ําหนกั ตวั ปลา โดย ปลอยปลาในอัตรา 50-70 ตวั /ตรม. ปลาจะเตบิ โตไดข นาดประมาณ 100-200 กรัม/ตวั ในระยะเวลาเลย้ี ง ประมาณ 90 วัน อตั ราการรอดประมาณ 80% ซง่ึ อาหารทใ่ี ชเ ลย้ี งสามารถใหอ าหารชนดิ ตา งๆ ทดแทน อาหารเมด็ ได โดยใชอาหารพวกไสไกหรือปลาเปดผสมกับเศษอาหารก็ได แตจําเปน ตอ งถา ยเทน้ําเพอ่ื ปอ งกนั น้าํ เสียกวาการถายเทนํ้า เมอ่ื เลย้ี งดว ยอาหารเมด็ 2. การเลย้ี งในบอ ดนิ การเลี้ยงในบอดินน้ัน จะตอ งเตรยี มบอ ตามหลกั การเตรยี มบอ เลย้ี งปลาทว่ั ๆ ไปดงั น้ี 1. จะตองตากกน บอใหแ หง ปรบั สภาพกนบอใหส ะอาด 2. ใสปูนขาวเพอ่ื ปรบั สภาพของดนิ โดยใสป นู ขาวในอตั ราประมาณ 60 - 100 กก./ไร 3. ใสป ยุ คอกเพอื่ ใหเ กิดอาหารธรรพาติสําหรบั ลกู ปลาในอตั ราประมาณ 40 - 80 กก./ไร 4. นําน้าํ เขา บอ โดยกรองไมใ หศ ตั รขู องลกู ปลาตดิ เขา มากบั น้ําจนมรี ะดบั น้ําลกึ 30-40 ซม. หลงั จาก น้ันวันรุงข้ึนจึงปลอยปลาและเพอ่ื ใหล กู ปลามอี าหารกนิ ควรเตมิ ไรแดงในอตั ราประมาณ 5 กิโลกรัม เพื่อเปน อาหารแกลูกปลาหลงั จากนน้ั จงึ ใหอ าหารผสมแกล กู ปลา ลกู ปลาทน่ี ํามาเลย้ี งควรตรวจดวู า มสี ภาพปกติ การ ปลอยลูกปลาลงบอเลี้ยงจะตองปรับสภาพอุณหภูมิของน้ําในถุงและนํ้าในบอใหเทาๆกันกอน โดยการแชถุง บรรจุลูกปลาในน้ําประมาณ 30 นาที จึงปลอ ยลกู ปลา เวลาทเ่ี หมาะสมในการปลอ ยลกู ปลาควรเปน ตอนเยน็ หรอื ตอนเชา ขน้ั ตอนการเลย้ี ง 1. อัตราปลอ ยปลาดกุ ลกู ผสม (บก๊ิ อยุ ) ลูกปลาขนาด 2-3 ซม. ควรปลอ ยในอตั ราประมาณ 40 - 100 ตัว/ตรม. ซง่ึ ขน้ึ อยกู บั กรรมวธิ ใี นการเลย้ี ง คอื ชนดิ ของอาการขนาดของบอ และระบบการเปลยี นถา ยน้ํา ซ่ึงปกติท่ัวๆไป อตั ราปลอ ยเลย้ี งประมาณ 50 ตวั /ตรม. และเพอ่ื ปอ งกนั โรคซง่ึ อาจจะตดิ มากบั ลกู ปลา ใชน ้ํา ยาฟอรมาลินใสใ นบอ เลย้ี ง อตั ราความเขม ขน ประมาณ 30 สว นในลา น (3 ลติ ร/น้าํ 100 ตนั ในวนั ทป่ี ลอ ย ลูกปลาไมจําเปน ตอ งใหอ าหารควรเรม่ิ ใหอ าหารในวนั รงุ ขน้ึ 2. การใหอ าหาร เม่ือปลอยลกู ปลาดกุ ผสมลงในบอ ดนิ แลว อาหารทใ่ี หใ นชว งทล่ี กู ปลาดกุ มขี นาด เล็ก (2-3 ซม.) ควรใหอ าหารผสมคลกุ น้ําปน เปน กอ นใหล กู ปลากนิ โดยใหก นิ วนั ละ 2 ครง้ั หวานใหกินทั่ว บอโดยเฉพาะในบริเวณขอบบอ เมอ่ื ลกู ปลามขี นาดโตขน้ึ ความยาวประมาณ 5-7 ซม. สามารถฝกใหก ิน อาหารเม็ดได หลงั จากนน้ั เมอ่ื ปลาโตขน้ึ จนมคี วามยาว 15 ซม.ขน้ึ ไป จะใหอาหารเม็ดเพียงอยางเดียวหรือ อาหารเสรมิ ชนดิ ตา งๆ ได เชน ปลาเปด ผสมรําละเอยี ดอตั รา 9 : 1 หรอื ใหอ าหารทล่ี ดตน ทนุ เชน อาหาร ผสมบดจากสว นผสมตา งๆ เชน กระดูกไก ไสไก เศษขนมปง เศษเสนหมี่ เศษเลอื ดหมู เลอื ดไก เศษเกี้ยว หรือเศษอาหารวา งๆ เทา ทส่ี ามารถหาไดน ํามาบดรวมกนิ แลว ผสมใหป ลากนิ แตก ารใหอ าหารประเภทนจ้ี ะตอ ง ระวังเร่ืองคุณภาพของน้ําในบอ เลย้ี งใหด ี เมอ่ื เลย้ี งปลาไดป ระมาณ 3-4 เดอื นปลา จะมขี นาดประมาณ 200- 400 กรัม/ตวั ซง่ึ ผลผลติ ทไ่ี ดจ ะประมาณ 10 - 14 ตนั /ไร อตั รารอดตายประมาณ 40- 70 % 3. การถา ยเทน้ํา เม่ือตอนเร่ิมเลย้ี งใหมๆ ระดบั ความลกึ ของน้ําในบอ ควรมคี า ประมาณ 30 - 40 ซม. เม่ือลูกปลาเจรญิ เตบิ โตขน้ึ ในเดอื นแรกจงึ เพม่ิ ระดบั น้ําสงู เปน ประมาณ 50 -60 ซม. หลงั จากยา งเขา เดือนทส่ี องควรเพม่ิ ระดบั น้ําใหส งู ขน้ึ 10 ชม./อาทติ ย จนระดับนํ้าในบอ มคี วามลกึ 1.20 - 1.50 เมตร การ

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย 10 ถายเทนํ้าควรเรม่ิ ตง้ั แตก ารเลย้ี งผา นไปประมาณ 1 เดอื น โดยถายนํ้าประมาณ 20 % ของน้าํ ในบอ 3 วัน/ครง้ั หรอื ถา น้ําในบอ เรม่ิ เสยี จะตอ งถา ยน้ํามากกวา ปกติ 4. การปอ งกนั โรค การเกิดโรคของปลาดกุ ทเ่ี ลย้ี งมกั จะเกดิ จากปญ หาคณุ ภาพของน้ําในบอ เลย้ี งไมด ชี ง่ึ อาจเกิดจากสาเหตุของการใหอาหารมากเกินไปจนอาหารเหลือเนาเสีย เราสามารถปองกันไมใหเกิดโรคได โดยตองหมั่นสังเกตวา เมื่อปลาหยุดกนิ อาหารจะตอ งหยดุ ใหอาหารทันที เพราะปลาดกุ ลกู ผสมมนี สิ ยั ชอบ กินอาหารทใ่ี หใ หม โดยถงึ แมจ ะกนิ อิม่ แลว ถาใหอ าหารใหมอกี กจ็ ะคายหรือสํารอกอาหารเกา ทง้ิ แลว กนิ อาหาร ใหใหมอ กี ซง่ึ ปรมิ าณอาหารทใ่ี หไ มค วรเกนิ 4 - 5 % ของน้าํ หนกั ตวั ปลา ภาพท่ี 9 ตวั อยางอาหารผสมที่ปนเปนกอนสําหรับเลี้ยงปลา วิธีปอ งกนั การเกดิ โรคในปลาดกุ ลกู ผสมทเ่ี ลย้ี ง 1. ควรเตรยี มบอ และน้ําตามวธิ กี ารทเ่ี หมาะสมกอ นปลอ ยลกู ปลา 2. ชื้อพันธุปลาจากแหลงที่เชื่อถือไดวาแข็งแรงและปราศจากโรค 3. หม่ันตรวจดูอาการของปลาอยา งสม่ําเสมอถา เหน็ อาการผดิ ปกตติ อ งรบี หาสาเหตแุ ละแกไ ขโดยเรว็ 4. หลังจากปลอ ยปลาลงเลย้ี งแลว 3-4 วนั ควรสาดน้ํายาฟอรม าลนิ 2-3 ลติ ร/ปรมิ าตร น้ํา 100 ตนั และหากปลาที่เลี้ยงเกิดโรคพยาธิภายนอกใหแกไขโดยสาดนํ้ายาฟอรม าลนิ ในอตั รา 4 - 5 ลติ ร/ปรมิ าตรน้ํา 100 ตนั 5. เปลย่ี นถา ยน้ําจากระดบั กน บอ อยา งสม่ําเสมอ 6. อยา ใหอ าหารจนเหลอื โรคของปลาดกุ เลย้ี ง ในกรณีท่ีมีการปอ งกนั อยา งดแี ลว แตป ลากย็ งั ปว ยเปน โรค ซง่ึ มักจะแสดงอาการใหเห็น โดยแบง อาการ ของโรคเปนกลุมใหญๆ ดงั น้ี 1. การติดเชื้อจากแบคทีเรีย จะมกี ารตกเลอื ด มแี ผลตามลําตวั และครบี ครบี กรอ น ตาขนุ หนวดหงิก กกหูบวม ทอ งบวมมนี ้ําในชอ งทอ งกนิ อาหารนอ ยลงหรอื ไมก นิ อาหาร ลอยตวั 2. อาการจากปรสติ เขา เกาะตวั ปลา จะมเี มอื กมาก มแี ผลตามลําตวั ตกเลอื ด ครบี เปอ ย จดุ สขี าวตาม ลําตวั สตี ามลําตวั ซดี หรอื เขม ผดิ ปกตเิ หงอื กซดี วา ยน้ําทรุ นทรุ าย ควงสวา นหรอื ไมต รงทศิ ทาง

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย 11 3. อาการจากอาหารมคี ณุ ภาพไมเ หมาะสม คอื ขาดวติ ามนิ บกี ระโหลกรา ว บรเิ วณใตค างจะมี การตกเลือด ตวั คด กนิ อาหารนอ ยลง ถา ขาดวติ ามนิ บปี ลาจะวา ยน้ําตวั เกรงและชกั กระตกุ 4. อาการจากคุณภาพนํ้าในบอ ไมด ี ปลาจะวา ยน้ําขน้ึ ลงเรก็ กวา ปกตลิ อยหวั ครบี กรอ นเปอ ย หนวด หงิก เหงือกซีดและบวม ลําตวั ซดี ไมก นิ อาหาร ทองบวม มแี ผลตามตวั อน่ึง ในการรักษาโรดปลาควรจะไดพิจารณาใหรอบคอบกอนการตัดสินใจเลือกใชยาหรือสารเคมี สาเหตขุ องโรค ระยะรักษา คาใชจายในการรักษา ภาพท่ี 10 ปลาดุกมีเห็บระฆังเกาะ จะมเี มอื กสขี าวขนุ คลมุ ตวั อยู ภาพท่ี 11 ปลาดุกที่มีพยาธิเกาะเปนจํานวนมาก อาจเกิดครีบกรอนได ภาพท่ี 12 ลูกปลาทองบวมนํ้า เกดิ จากการตดิ เชอ้ื แบคทเี รยี และมกี ารตกเลอื ด

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย 12 ภาพที่ 13 ลูกปลามีรอยดางขาวตามลําตัว เกดิ จากเชอ้ื แบคทเี รยี Flexibacter columnaris ภาพที่ 14 ปลาดุกมพี ยาธิปลิงใสเกาะตามลําตัว ภาพท่ี 15 ปลาเปน แผลเกดิ จากเชอ้ื แบคทเี รยี Aeromonas hydrophila

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย 13 ภาพท่ี 16 โอโอดิเนียมบริเวณเหงือกปลา ภาพที่ 17 ปลามรี อยดา งและเปน แผลเนอ่ื งจากตดิ เชอ้ื แบคทเี รยี เขา แทรกซอ น สารเคมแี ละยาปฏชิ วี นะทน่ี ยิ มใชป อ งกนั และรกั ษาโรคปลา ชนดิ ของสารเคมี/ยา วตั ถปุ ระสงค ปรมิ าณทใ่ี ช เกลอื กาํ จดั แบคทีเรียบางชนิดเชื้อราและปรสิต บาง 0.1-0.5% แชตลอด 0.5-1.0 % แชภ าย ปูนขาว ชนิดลดความเครียดของปลา ใตการดูแลอยางใกลชิด คลอรนี ฆา เชอื้ กอนปลอยปลาปรับ PH ของดนิ และน้ํา 60-100 กโิ ลกรมั /ไร ละลายนํ้าแลวสาดให ทั่วบอ ดพิ เทอรเรก็ ซ ฆา เชอ้ื อปุ กรณต า งๆ ที่ใชกับบอเลี้ยงปลา 10 พพี เี อม็ แช 30 นาที แลวลางดวยนํ้า สะอาดกอ นใช ฟอรม าลนิ กาํ จดั ปลงิ ใส เห็บปลา หนอนสมอ 0.25-0.5 พพี เี อม็ แชตลอด ยาที่ใชควร ออกซดี เตตรา ซยั คลนิ เปน ผงละเอยี ดสขี าว ถายาเปลี่ยนเปนของ กาํ จดั ปรสติ ภายนอกทว่ั ไป เหลวไมควรใช 25-50 พีพีเอ็มแชตลอดระหวางการใชควร กาํ จัดแบคทีเรีย ระวงั การขาดออกซิเจนในนํ้า ผสมกบั อาหารในอัตรา 3-5 กรมั /อาหาร 1 กิโลกรัมใหกินนาน7-10 วนั ตดิ ตอ กนั แชใ นอัตรา 10-20 กรมั ตอ น้ํา 1 ตันนาน 5-7 วัน

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย 14 ชนดิ ของสารเคมี/ยา วตั ถปุ ระสงค ปรมิ าณทใ่ี ช ผสมกบั อาหารอัตรา 1 กรัมอาหาร 1 คลอแรมฟน คิ อล กาํ จัดแบคทีเรีย กโิ ลกรมั หนง่ึ สปั ดาหบ างครง้ั กใ็ ชไ มไ ดผ ล เนอ่ื งจากเชอ้ื แบคทเี รยี ดอ้ื ยา ปริมาณและผลผลิต การจําหนา ยผลผลติ ปลาดกุ ในราคาเฉลย่ี สงู สดุ และต่ําสดุ เปน รายภาคป 2535 ดงั น้ี ภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม ราคาปลาดกุ สงู สดุ กโิ ลกรมั ละ 44.92 บาท จังหวัดอุทัยธานี ราคาปลาดกุ ต่ําสดุ กโิ ลกรมั ละ 19.26 บาท ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จังหวัดอดุ รธานี ราคาปลาดกุ สงู สดุ กโิ ลกรมั ละ 70.23 บาท จังหวดั นครราชสมี า ราคาปลาดกุ ต่ําสดุ กโิ ลกรมั ละ 20.89 บาท ภาคกลาง จังหวัดชัยนาท ราคาปลาดกุ สงู สดุ กโิ ลกรมั ละ 28.61 บาท จังหวัดลพบุรี ราคาปลาดกุ ต่ําสดุ กโิ ลกรมั ละ 20.38 บาท ภาคตะวนั ออก จังหวัดสมุทรปราการ ราคาปลาดกุ สงู สดุ กโิ ลกรมั ละ 68.49 บาท จังหวัดนครนายก ราคาปลาดกุ ต่ําสดุ กโิ ลกรมั ละ 20.86 บาท ภาคตะวันตก จังหวัดประจวบคีรีขันธ ราคาปลาดกุ สงู สดุ กโิ ลกรมั ละ 30.95 บาท จังหวัดกาญจนบุรี ราคาปลาดกุ ต่ําสดุ กโิ ลกรมั ละ 20.07 บาท ภาคใต จังหวัดกระบี่ ราคาปลาดกุ สงู สดุ กโิ ลกรมั ละ 54.48 บาท จังหวัดพัทลุง ราคาปลาดกุ ต่ําสดุ กโิ ลกรมั ละ 23.20 บาท สาํ หรบั ในป 2538 ราคาปลาดกุ ไตรมาสแรก (เดือนมกราคม-มนี าคม 2538) เฉลย่ี กโิ ลกรมั ละ 32.63 บาทและไตรมาสทีส่ อง (เดอื นเมษายน-พฤษภาคม) เฉลย่ี กโิ ลกรมั ละ 33.97 บาท (จุลสารเศรษฐกิจ การประมง กรมประมง) จากการศกึ ษาของสํานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร พบวา ตนทนุ การผลติ ปลาดกุ บก๊ิ อยุ ในป 2535 โดยเฉลย่ี ตอ ไร เปน เงนิ 48,834.07 บาท จาํ หนา ยไดไรละ 64,624.23 บาทมีกําไรสุทธิ 15,790.16 บาท ตอไร สว นตน ทนุ การผลติ ตอ กโิ ลกรมั เปน เงนิ 15.30 บาท มกี ําไรสทุ ธเิ ฉลย่ี กโิ ลกรมั ละ 4.95 บาทไดรับผล ตอบแทนของการลงทนุ รอ ยละ 32.35 หากเปรียบเทียบตนทุนการผลิต ระหวา งปลาดกุ บก๊ิ อยุ กบั ปลาชอ นในป 2535 พบวา ตน ทนุ การผลติ เฉลย่ี ไรล ะ 411,297.83 บาท จาํ หนา ยผลผลติ มรี ายได 469,737.10 บาทตอ ไร สาํ หรบั ตน ทนุ การผลติ ตอ กิโลกรมั เปน เงนิ 40.47 บาท มกี าํ ไรสทุ ธเิ ฉลย่ี 5.75บาทตอกิโลกรมั ไดรับผลตอบแทนของการลงทนุ รอ ยละ 14.21

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย 15 เกี่ยวกับผลการศึกษาจํานวนฟารม เนอ้ื ท่ี ปรมิ าณและมลู คา การเลย้ี งปลาน้ําจดื ในป 2534 ของ กองเศรษฐกิจการประมง กรมประมงมดี งั น้ี ภาคเหนือ จํานวน 15,444 ฟารม เนอื้ ที่ 15,430 ไร ปรมิ าณผล ผลติ 13,298.46 ตนั มลู คา 288.1 ลา นบาท ไดแกพื้นที่จังหวัดนครสวรรค พิษณุโลก เพชรบูรณ อทุ ัยธานี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวน 29,226 ฟารม เนอื้ ที่ 46,501 ไร ปรมิ าณผลผลติ 11,334.13 ตนั มลู คา 264.7ลานบาท ในพน้ื ทจ่ี งั หวดั อดุ รธานี นครราชสมี า หนองคาย อบุ ลราชธานี ภาคกลาง จํานวน 14,172 ฟารม เนอ้ื ท่ี 77,322 ไร ปรมิ าณผลผลติ 85,199.22 ตนั มลู คา 1,614.5 ลา นบาท ในพื้นที่จังหวัด สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร สพุ รรณบรุ ี ฉะเชิงเทรา ภาคใต จํานวน 5,897 ฟารม เนอ้ื ท่ี 1,925 ไร ปริมาณผลผลติ 5,076.94 ตนั มลู คา 156.7 ลา นบาท ในพื้นที่จังหวัด สรุ าษฎรธ านี สตลู สงขลา ตน ทุนและผลตอบแทนจากการเพาะเลย้ี งปลาน้ําจดื ทส่ี ําคญั ป 2535 รายการ ดกุ บก๊ิ อยุ ชอ น นลิ ตะเพยี น ตน ทนุ ทง้ั หมดตอ ไร(บาท) 48,834.07 411,297.83 6,151.25 9,832.84 ผลผลติ ตอ ไร (กก.) 3,191.32 19,163.07 888,27 1,120.48 เกษตรกรขายได (บาท) พนั ธปุ ลาที่ปลอย (ตวั /ตรม.) 20.25 46.22 11.35 15.16 กําไรสทุ ธเิ ฉลย่ี ตอ กก. (บาท) 25-30 25-30 5-6 2-3 กําไรสทุ ธิเฉลี่ยตอ ไร (บาท) 4.95 5.75 4.43 6.39 ระยะเวลาในการเพาะเลย้ี ง (เดอื น) 15,790.16 58,439.27 3,930.61 7,162.64 ผลตอบแทนการลงทุน (รอยละ) 5.25 6.85 10.49 10.83 32.35 14.21 64.02 72.86 ภาพที่ 18 ผลผลติ ปลาดกุ บก๊ิ อยุ ซง่ึ ใชเ วลาเลย้ี ง 2.5-3 เดอื น ตลาด 1. ตลาดกลางทเ่ี ปน แหลง ซอ้ื ขายปลาน้ําจดื ขนาดใหญ ไดแก ตลาดบางปะกง ฉะเชิงเทรา ตลาดรงั สติ ปทุมธานี ตลาดลาดกระบงั กรุงเทพฯ และสะพานปลา กรุงเทพฯ จากการศกึ ษาวถิ กี ารตลาดปลาในภาค อีสานของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร พบวาปลานํ้าจืด (ปลาดกุ ปลาชอ น และปลาหมอเทศ) ซง่ึ ขนสง ใน ลักษณะแชน้ําไวระหวางการขนสง และวางขายในตลาดนน้ั จะผา นมอื ผรู วบรวมจากภาคกลางแลว สง ใหพ อ คา ขายสง มอื 1,2 จนกระทง่ั ถงึ พอ คา ขายปลกี 2. การบริโภคภายในประเทศ จากผลผลติ ปลาดกุ เฉลย่ี ในป 2530 จํานวน 13,900 ตนั ถาจํานวน ประชากรมปี ระมาณ 52 ลา นคน กจ็ ะบริโภคปลาดกุ เฉลีย่ 0.27 กก./คน/ป เทา นน้ั แตจ ากการศกึ ษาของ

การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย 16 มหาวิทยาลยั ขอนแกน พบวา ในภาคอสี านบรโิ ภคปลาน้ําจดื เฉลย่ี 21.3 กก./คน/ป ในจํานวนนเ้ี ปน ปลาชอน 7 กก./คน/ป ปลาดกุ 3.6 กก./คน/ป ปลาหมอ 1.8 กก./คน/ป นอกนน้ั เปน ปลานลิ ตะเพยี นและ ปลาอ่ืนๆ ปริมาณปลาดุกท่ีบรโิ ภค 3.6 กก./คน/ป นน้ั รอ ยละ 18.6 ไดจ ากการซอ้ื มา ดงั นน้ั คนอสี าน 1 คน ซื้อปลาดกุ บรโิ ภคเฉลีย่ 0.67 กก./คน/ป ซง่ึ สงู กวา ปรมิ าณเฉลย่ี ทง้ั ประเทศ 3. ราคา จากการศกึ ษาของสํานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร เกย่ี วกบั ราคาสตั วน ้ําทช่ี าวประมงขายได พบวา การเพม่ิ ขน้ึ ของราดาปลาน้ําจืด โดยเฉพาะปลาชอ นและปลาดกุ มแี นวโนม เพม่ิ สงู ขน้ึ ในอัตรารอ ยละ 5.85 และ 5.05 ตามลําดบั ซง่ึ อตั ราการเพม่ิ สงู ขน้ึ ของราคาปลาน้ําจดื นม้ี แี นวโนม สงู มากกวา สตั วน ้ําจาก ทะเล การตลาด พจิ ารณาฟารม เฉลย่ี ตอ กโิ ลกรมั ของสตั วน ้ําจดื สําคญั ๆ เปรียบเทยี บกันจะเหน็ วาอัตราการ เพ่ิมข้ึนของราคาฟารมของปลาดกุ สงู ขน้ึ ถงึ รอ ยละ 25.63 ซง่ึ สงู มากทส่ี ดุ สว นปลาชอ นนน้ั อตั ราเพม่ิ ขน้ึ ของ ราคาเพียงรอยละ 3.6 เทา นน้ั สว นราคากงุ กา มกรามนน้ั ลดลงรอ ยละ9.01 จากป 2529 สําหรับราคาฟารมเฉลี่ยในแตละภาคนั้นจะเห็นวาราคาฟารมในภาคใต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือน้ันสงู มากกวา ภาคกลาง และภาคตะวนั ตกและภาคตะวนั ออก และถาเปนรายจังหวัดแลวจะเห็น วาราคาฟารม ในจงั หวดั สตลู และสงขลานน้ั สงู สดุ กลา วคอื ราคาปลาดกุ ณ ฟารม สงู ถงึ กโิ ลกรมั ละ 40 บาท ซึ่ง แสดงวาปริมาณผลติ นน้ั มผี ลกระทบกบั ราคาฟารม กลา วคอื ในภาคกลาง และภาคตะวนั ตก ซง่ึ มกี ารกระจกุ ตวั กันของแหลง ผลติ มากทําใหร าคาฟารม เฉลย่ี นน้ั ต่ํากวา ภาคอน่ื ๆ ซง่ึ มกี ารกระจายตวั ของแหลง ผลติ มากกวา แนวโนมตลาด 1. ปลาดุกบก๊ิ อยุ เปน ปลาเลย้ี งงา ยเจรญิ เตบิ โตเรว็ จงึ มเี กษตรกรนยิ มเลย้ี งเปน จํานวนมาก สง ผลให ราคาปลาดกุ ไมเ คลอ่ื นไหวมากนกั 2. เน่ืองจากอุปนิสยั ของคนไทยซง่ึ นยิ มบรโิ ภคเนอ้ื ปลาอยแู ลว ถา สามารถลดตน ทนุ การผลติ เพอ่ื ให ราคาต่ําลงไดแลวจะทําใหก ารบรโิ ภคสงู ขน้ึ 3. ผลผลติ จากแหลง น้ําธรรมชาตลิ ดลงอนั เนอ่ื งมาจากแหลง น้ําเสือ่ มโทรมกจ็ ะมผี ลทําใหมีการบริโภค ปลาจากการเพาะเลย้ี งมากขน้ึ 4. เม่ือมีการเลย้ี งแบบอตุ สาหกรรม ซง่ึ สามารถควบคมุ ปรมิ าณและคณุ ภาพของปลาดกุ ไดแ ลว กม็ ี โอกาสในการแขง ขนั ในระดบั ตา งประเทศมากขน้ึ 5. ในปจจุบันมีการรณรงคบริโภคอาหารโปรตีนจากเนื้อปลา เพราะใหโปรตีนสูงยอยงาย และ ยังมรี าคาถกู ดว ย ปญ หาและอปุ สรรค 1. สวนเหลอ่ื มการตลาด(Market Margin)ของปลาดกุ ซง่ึ ตอ งแชน ้ํา ตลอดจนทั้งนี้เพราะผูบริโภคนิยม บริโภคแบบมีชีวิต ทําใหส ว นเหลอ่ื มการตลาดสงู จากการศึกษาของมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร พบวา สวน เหล่ือมการตลาดของปลาน้ําจดื เฉลย่ี กโิ ลกรมั ละ 14 บาท 2. สําหรบั ตลาดในประเทศนน้ั ยังมีการแขง ขนั กบั ปลาดกุ จากแหลง น้ําธรรมชาตใิ นบางชว งฤดู โดย เฉพาะในฤดฝู น ดงั นน้ั การผลติ และตลาดควรคํานงึ ถงึ ฤดกู าลดว ย 3. ตลาดตางประเทศยังคอนขางจํากัด เน่ืองมาจากการเผยแพรผลิตภัณฑแปรรูปยังไมกวางขวาง เหมอื นสตั วน ้ําชนดิ อน่ื จดั ทาํ เอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร