Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พืชสมุนไพรเศรษฐกิจสู่มาตรฐานการทำยา

พืชสมุนไพรเศรษฐกิจสู่มาตรฐานการทำยา

Description: พืชสมุนไพรเศรษฐกิจสู่มาตรฐานการทำยา.

Search

Read the Text Version

จดั ท�ำโดย กองกำรแพทยท์ ำงเลือก กรมกำรแพทยแ์ ผนไทยและกำรแพทยท์ ำงเลือก กระทรวงสำธำรณสขุ

ISBN 978-616-11-4661-0 พืชสมุนไพรเศรษฐกิจ ส่มู าตรฐานการทา� ยา ทีป่ รึกษำ อธบิ ดกี รมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก แพทยห์ ญิงอมั พร เบญจพลพทิ กั ษ์ รองอธบิ ดกี รมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก นายแพทยข์ วญั ชยั วศิ ษิ ฐานนท์ รองอธบิ ดกี รมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก นายแพทยธ์ ติ ิ แสวงธรรม ผู้เขยี น อาจารย์หมอพืชพันไมล์ ชัยเศวตสิริกุล นักพัฒนาอิสระ นกั เกษตรอนิ ทรยี อ์ สิ ระ ผู้เชยี่ วชาญดา้ นสมุนไพรไทยและต่างประเทศ บรรณำธิกำรบรหิ ำร ผู้อา� นวยการกองการแพทย์ทางเลือก นายแพทย์เทวญั ธานรี ัตน์ คณะบรรณำธิกำร นางสาวณัฐณชิ า ทิพยร์ ตั น์ นางสีไพร พลอยทรัพย์ นางสาวสธุ าสนิ ี ไถวศิลป์ นางจริ ภฎา วานิชอังกูร นางสาวนารีรตั น์ ทบั ทอง ประสำนงำน นางสาวสพุ ัตรา พวงพนั ธ์ นางสาวนรินทร ทองแสน จดั พมิ พโ์ ดย : กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ โทรศัพท์ 0 2591 7007 ตอ่ 2605 พิมพค์ รง้ั ท่ี 1: กรกฎาคม 2564 จำ� นวน : 12,000 เล่ม ออกแบบและพิมพ์ที่ : บริษทั วี อินดี้ ดไี ซน์ จ�ากดั โทรศัพท์ 083 902 4240, 081 931 7916 2 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คา� น�า ประเทศไทยเปน็ แหลง่ พนั ธกุ รรมพชื ทส่ี า� คญั แหง่ หนงึ่ ของโลก โดยเฉพาะพชื สมนุ ไพร ทมี่ กี ารนา� มาใชป้ ระโยชนท์ างดา้ นการประกอบอาหาร เครอื่ งสา� อาง และยารกั ษาโรคมาตง้ั แต่ อดตี จนถงึ ปจั จบุ นั รฐั บาลไดเ้ ลง็ เหน็ ถงึ ความสา� คญั จงึ กา� หนดนโยบายการพฒั นาพชื สมนุ ไพร เปน็ ยาในบญั ชยี าหลกั แหง่ ชาติ สง่ เสรมิ การใชย้ าสมนุ ไพรทดแทนยาแผนปจั จบุ นั และจดั ทา� แผนแมบ่ ทแหง่ ชาตวิ า่ ดว้ ยการพฒั นาสมนุ ไพรไทยตง้ั แตก่ ารเพาะปลกู ไปสกู่ ารพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ สมนุ ไพรใหเ้ ปน็ พชื เศรษฐกิจสรา้ งรายไดใ้ หก้ ับประเทศอย่างยัง่ ยนื กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก จงึ ไดจ้ ดั ทา� หนงั สอื “พชื สมนุ ไพร เศรษฐกจิ สมู่ าตรฐานการทา� ยา” เลม่ นขี้ น้ึ เพอื่ ใชเ้ ปน็ คมู่ อื และแนวทางใหก้ บั กลมุ่ เกษตรกร ในชมุ ชนใหม้ คี วามรดู้ า้ นการเพาะปลกู การบา� รงุ รกั ษา การเกบ็ เกยี่ ว การบรรจแุ ละการเกบ็ รักษาพืชสมุนไพร ได้แก่ กระชายด�า ขม้นิ ชัน ขงิ บวั บก พลคู าว ไพล ฟ้าทะลายโจร เปน็ ตน้ ทมี่ คี ณุ ภาพและไดม้ าตรฐานในการนา� ไปผลติ ยาสมนุ ไพรผลติ ภณั ฑเ์ สรมิ อาหารและเครอ่ื งสา� อาง กอ่ ใหเ้ กดิ รายไดแ้ ละมคี วามยงั่ ยนื ในชมุ ชน ซง่ึ ในครงั้ นต้ี อ้ งขอขอบคณุ อาจารยห์ มอพชื พนั ไมล์ ชยั เศวตสิรกิ ุล อาจารย์ชยกร นิรันดร์ และคณะผเู้ ชี่ยวชาญทกุ ทา่ น ท่ไี ด้ใหข้ ้อเสนอแนะใน การจดั ทา� หนังสือเล่มนี้ ส�าเร็จลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี หวังเปน็ อย่างยงิ่ ว่าหนังสอื “พชื สมนุ ไพรเศรษฐกจิ สมู่ าตรฐานการทา� ยา” เลม่ นี้ จะเปน็ ประโยชน์ ตอ่ การสง่ เสรมิ พฒั นากลมุ่ เกษตรกร สถาบนั เกษตรกรในชมุ ชนทว่ั ประเทศ ใหม้ คี วามรใู้ นการปลกู สมนุ ไพร และยกระดบั เกษตรกรผปู้ ลกู สมนุ ไพรอนั เปน็ การสรา้ งงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้จากสมุนไพรไทยในชุมชนท่ีเพ่ิมขึ้น ส่งผลให้ประชาชนสามารถ พ่ึงตนเองได้ สรา้ งความมนั่ คงทางเศรษฐกิจฐานรากของประเทศไทยต่อไป แพทย์หญงิ อมั พร เบญจพลพทิ ักษ์ อธิบดีกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กรกฎาคม 2564 กองการแพทย์ทางเลอื ก 3 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

สารบัญ หน้า คา� น�า 3 พชื สมนุ ไพรเสรมิ เศรษฐกจิ 5 กระชายดา� 24 ขม้นิ ชนั 41 ขิง 58 บัวบก 75 พลคู าว 91 ไพล 108 ฟ้าทะลายโจร 125 ประวตั ิผู้เขียน 4 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

กระชายด�า ชอ่ื วิทยำศำสตร์ : Kaempferia parviflora Wallich. ex Baker. ชื่อวงศ์ : Zingiberaceae ชอ่ื พอ้ ง : K. rubromarginata (S.Q. Tong) R.J. Searle, Stahlianthus rubromarginatus S.Q. Tongl.) ชื่อสำมญั : Black galingale ชื่ออ่นื ๆ : โสมไทย โสมกระชายด�า ขงิ ทราย กะแอน ระแอน ว่านกน้ั บัง วา่ นกา� บงั วา่ นกา� บงั ภยั วา่ นจงั งงั วา่ นพญานกยงู วา่ นกระชายดา� กระชายเลอื ด กระชายม่วง วา่ นเพชรดา� ถ่นิ กา� เนดิ กระชายด�า กระชายด�ามีถ่ินก�าเนิดในแถบเอเชียใต้ ทั้งในประเทศไทย ลาว พมา่ อนิ เดยี และจนี กระชายดา� เปน็ พชื พน้ื เมอื งเขตรอ้ นของเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ในประเทศไทยพบขน้ึ ตามธรรมชาตบิ นภเู ขา ในพนื้ ที่ สูงกว่าระดับน�้าทะเล 630 เมตร หรือมากกว่า ปัจจุบันมีการปลูก ทวั่ ทกุ ภาคของไทย ซงึ่ แหลง่ ปลกู ทสี่ า� คญั สว่ นใหญอ่ ยใู่ นเขตจงั หวดั เลย เพชรบรู ณ์ พษิ ณุโลก เชยี งใหม่ ตาก กาญจนบุรี และเชยี งราย กองการแพทยท์ างเลอื ก 5 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

สภาพแวดล้อม กระชายด�าสามารถขยายพันธุ์โดยใช้แง่งหรือเหง้าซ่ึงเป็นส่วน ของลา� ตน้ ใตด้ นิ โดยทวั่ ๆ ไปจะใชส้ ว่ นของเหงา้ เปน็ ทอ่ นพนั ธใ์ุ นการปลกู กระชายด�าชอบดินร่วนซุย ไม่ชอบน้�าขังหรือดินท่ีมีการระบายน้�าไม่ดี เน่ืองจากจะเน่าเสียโดยเฉพาะดินที่มีสภาพเป็นกรด ส่วนต้นเหนือดิน มกั จะยบุ หรอื แหง้ เมอ่ื เขา้ ฤดแู ลง้ สว่ นใหญจ่ ะเกบ็ เหงา้ แกเ่ มอื่ อายุ 10-11 เดือน หลังปลูก สขี องกระชายด�าถึงจะเข้มเตม็ ท่ี ตอ้ งปลกู และเกบ็ เกยี่ วตามฤดกู าล คอื ปลกู ในชว่ งเดอื นเมษายนถงึ พฤษภาคม และเก็บเกย่ี วในชว่ งเดอื นธนั วาคม-มกราคม ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ กระชายดา� เปน็ พชื ลม้ ลกุ กลมุ่ พชื ใบเลย้ี งเดยี่ ว สงู ประมาณ 30-90 เซนติเมตร ท่ีมีล�าต้นเป็นเหง้า ลักษณะค่อนข้างอวบกลมอยู่ใต้ดิน เนอื้ ในเหงา้ มสี มี ว่ งถงึ มว่ งดา� เปลอื กเหงา้ มสี นี า้� ตาลเขม้ มรี ากสะสมอาหาร ทีม่ ีลักษณะเปน็ ปุ๋มอวบไมย่ าวเหมือนกบั กระชายธรรมดา ขณะตน้ เล็ก จะมีแตร่ าก ต่อมาเม่ือโตขึน้ จะเปลย่ี นเปน็ หัวหรือเหง้าคล้ายขิง ล�ำตน้ กระชายด�ามลี า� ตน้ 2 ชนิด คือ ลา� ตน้ เหนอื ดนิ (Aerial stem) ล�าต้นเหนอื ดินกลางล�าตน้ เปน็ แกนแขง็ มกี าบใบล้อมรอบแน่น กาบใบหรือโคนใบมีสีแดง มีลักษณะอ่อนอวบ นุ่ม หุ้มแกนล�าต้นไว้ ลกั ษณะคลา้ ยขมน้ิ ชนั ใบเดย่ี ว แตม่ ลี า� ตน้ เลก็ กวา่ และเตย้ี กวา่ ขมน้ิ มาก ล�าต้นใต้ดิน (Underground stem) หรอื เรยี กเหง้าหรือหัวมีลักษณะ เป็นรูปวงกลมหรือวงรี เหง้ามีการเจริญเติบโตในแนวระนาบแผ่ขนาน ตามพ้ืนดิน เหงา้ แก่มแี งง่ 6 กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

รำก เปน็ รากฝอยแตกออกจากขอ้ บรเิ วณโคนเหงา้ มหี นา้ ทช่ี ว่ ย หาอาหาร และสะสมอาหารทบ่ี รเิ วณปลายราก เม่อื หัวแก่ รากจะสร้าง สา� หรบั สะสมอาหาร โดยพองออกเปน็ รปู วงรหี รอื รปู ไข่ สขี าวนวล เรยี กวา่ “รำกนำ�้ นม” กองการแพทย์ทางเลือก 7 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

ใบ เปน็ ใบเดย่ี วรปู ไขห่ รอื รปู รกี วา้ ง 7-18 เซนตเิ มตร ยาว 30-35 เซนตเิ มตร ใบเรยี งสลบั คลา้ ยกระชายธรรมดา แตม่ ใี บใหญแ่ ละเขยี วเขม้ กวา่ ผิวใบด้านล่างมีขนส้ัน ขอบแผ่นใบมักมสี นี ้�าตาลแดง กา้ นใบมีสีแดงอม มว่ งและหนาอวบ โดยใบแทงมว้ นเปน็ กรวยข้ึนมาจากลา� ต้นเทียม ดอก เป็นดอกช่อ ช่อละ 1-2 ดอก ช่อดอกออกจากยอดของ ลา� ต้นเทียม กา้ นช่อดอกยาวประมาณ 5 เซนติเมตร ดอกมีสีชมพูออ่ น หรือสีม่วง กลีบลิ้นมีสีขาวหรือสีม่วง กลีบดอกเช่ือมติดกันเป็นหลอด เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันมีลักษณะคล้ายกลีบดอกเกสรเพศผู้ มีขนาดเล็ก กา้ นชูอบั เรณูสั้นประมาณ 1 มิลลิเมตร เกสรเพศเมียมกี ้านชูยอดเกสร เปน็ เสน้ เรยี วยาว 8 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

ส่วนทใ่ี ชป้ ระโยชน์ เหงา้ / หวั สารสา� คญั เหง้ำ มีฤทธิ์ต้านเช้ือจุลชีพ (borneol) มีฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพ (sylvestrene) น้�ามันหอมระเหย (Essential oil) สารฟลาโวนอยด์ (flavonoids) กลมุ่ ฟลาโวน (flavones) เชน่ 5,7-dimethoxyflavone, 5,7,4’-trimethoxyflavone, 5,7,3’, 4’-tetramethoxyflavone และ 3,5,7,3’,4’-pentamethoxyflavone กลุ่มสารแอนโทไซยานิน (antho-cyanins) และสารประกอบฟนี อลกิ (phenolic compounds) Chavicinic acid, Boesenbergin A, Cardamonin, Pinostrobin, Alpinetin, Chalcone กองการแพทยท์ างเลือก 9 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

สรรพคุณ บา� รงุ กา� ลงั แกป้ วดเมอื่ ยและอาการเหนอ่ื ยลา้ และเพม่ิ สมรรถภาพ ทางเพศ ขับลม เป็นยาอายุวัฒนะ แก้จุกเสียด แก้ปวดท้อง ท้องอืด ทอ้ งเฟอ้ กระตนุ้ ระบบประสาททา� ใหก้ ระช่มุ กระชวย ยาอายุวัฒนะ จากการศกึ ษาในปจั จบุ นั พบวา่ กระชายดา� มฤี ทธติ์ า้ นการอกั เสบ และต้านเชือ้ จลุ ินทรียบ์ า� รงุ หัวใจ แก้อาการปวดทอ้ ง จุกเสยี ด ท้องเดิน และขบั ปสั สาวะ การปลกู 1. ฤดเู พำะปลกู ฤดูปลูกทเ่ี หมาะสมคือฤดูฝน ประมาณเดอื น มีนาคม-พฤษภาคม ซึ่งใบเร่ิมแก่และเห่ียวแห้งในช่วงต้นฤดูแล้ง และจะกลับมาแตกใบใหม่ในช่วงต้นฤดูฝนหลัง 1-2 ฝนแรก ฤดูกาล เพาะปลกู การปลกู กระชายดา� จะเรม่ิ เตรยี มดนิ ในชว่ งตน้ เดอื นมนี าคม และ จะปลกู ต้นช่วงเดอื นพฤษภาคม-มถิ นุ ายนของทกุ ๆ ปี ในช่วงต้นฤดฝู น เพราะกระชายดา� ต้องการฝนในระยะเจริญเติบโต 2. กำรเตรียมพ้ืนท่ี ระบบแวดล้อมที่ห่างจากเกษตรเคมี หากหลกี เลยี่ งจากแปลงปลูกเคมีไม่ได้ท�าแนวปอ้ งกนั เช่น ช้นั ท่ี 1 ปลูก หญา้ เนเปยี ร์ ชัน้ ที่ 2 ปลกู กล้วยหรือปลกู ไผเ่ ปน็ แนว หรอื ปลูกพืชทใ่ี ช้ ประโยชนไ์ ด้ 10 กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

3. กำรเตรียมดนิ 3.1 ตรวจเช็คดิน - สารพษิ ตกคา้ ง - โลหะหนกั อาทเิ ชน่ สารหนู ทองแดง ตะกวั่ แคดเมยี ม - ตรวจเช็คชนดิ ของดนิ - ตรวจวัดคา่ ความเป็นกรด-ด่าง (PH) 3.2 ตรวจธาตอุ าหาร การเตรียมดินปลูกกระชายด�าจ�าเป็นต้องไถพรวน เพื่อให้ ดินร่วนซุยขนึ้ ถา้ เปน็ พนื้ ท่ที ่ีมวี ัชพืชมาก และหนา้ ดนิ แข็ง ควรไถพรวน ไมน่ อ้ ยกว่า 2 ครัง้ คอื ไถดะ เพอื่ ก�าจัดวัชพชื และเปดิ หนา้ ดนิ ใหร้ ว่ นซยุ แลว้ ตากดนิ ไว้ 1-2 สปั ดาห์ เพอ่ื ทา� ลายไขแ่ มลง เชอื้ โรคในดนิ และไถแปร อย่างน้อย 2 รอบ เพือ่ ให้ดินฟรู ว่ นซุย กองการแพทยท์ างเลือก 11 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

4. กำรเตรียมพันธุ์ การขยายพันธุ์ใช้วิธีแบ่งเหง้า ท�าได้ท้ังปี แต่การปลูกตามฤดูกาลจะได้เหง้าที่มีคุณภาพ คือ ช่วงประมาณเดือน เมษายน-พฤษภาคม เหง้ากระชายด�ามีหลายแง่งให้น�ามาตัดออกเป็น แง่งเล็ก ๆ เม่ือปลูกแล้วกระชายด�าจะแตกหน่อ เกิดเหง้ากระชายด�า ใหม่ขึ้นมาแทน และจะขยายแตกหน่อออกไปจ�านวนมากหรือน้อยขึ้น อยู่กับการดูแลรักษา ส่วนแง่งท่ีใช้ปลูกในตอนแรกจะเห่ียวและแห้งไป ในที่สุด ก่อนน�าไปปลูกควรแช่หัวพันธุ์ในเช้ือราไตรโคเดอร์มา แล้วน�า ไปผึ่งใหแ้ ห้งกอ่ นน�าไปปลูก (หัวพันธุ์อินทรยี ์) 5. กำรเตรียมแปลง การเตรยี มแปลงปลูก มีดงั นี้ 5.1 หลงั จากไถพน้ื ทแ่ี ลว้ ปรบั พน้ื ทว่ี ดั ระดบั นา้� เพอ่ื หาระดบั การลาดเทของพนื้ ทห่ี าทิศทางการไหลของน�า้ ไม่ใหน้ �า้ ท่วมขังแปลง 12 กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

5.2 แปลงปลกู สภาพยกสนั รอ่ ง หรอื ยกแปลงใหส้ งู จากระดบั ดนิ เดมิ 40-50 เซนตเิ มตร แปลงกวา้ ง 120 เซนตเิ มตร (ปลกู สลบั ฟนั ปลา ได้ 2 แถว) ระหว่างแปลงควรหา่ งกนั อยา่ งน้อย 80 เซนติเมตร-1 เมตร เพื่อให้มีร่องระบายน้�าได้ดี หรือยกร่องเหมือนปลูกมันส�าปะหลัง แตส่ ันแปลงควรกว้าง 80 เซนติเมตร (ปลกู ได้ 1 แถว) การยกแปลงสงู เพ่ือลดการดูดสารโลหะหนักของรากพืช การดูดอาหารของรากพืชจะ อย่ทู คี่ วามลกึ ประมาณ 30-50 เซนตเิ มตร กองการแพทย์ทางเลอื ก 13 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

5.3 การใส่อินทรียวัตถุในแปลงปลูก อินทรียวัตถุทุกชนิด ตอ้ งตรวจเชค็ สารพษิ ตกคา้ งในอนิ ทรยี วตั ถทุ กุ ชนดิ กอ่ นและหลงั การหมกั อนิ ทรยี วตั ถหุ มกั อยา่ งนอ้ ย 3 เดอื น หรอื 90 วนั ประกอบไปดว้ ย มลู ววั แกลบดิบ ขุยมะพร้าว เศษใบไม้หรืออินทรียวัตถุในท้องถ่ิน ในอัตรา สัดส่วน 1:1 ต่อตารางเมตร และใส่ฮิวมสั ธรรมชาติ เพ่อื ใหด้ ินร่วนซยุ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพใหก้ บั รากพชื รากพชื นา� ไปใชใ้ นการสรา้ งหวั แลว้ ใชร้ ถ พรวนดินผสมคลกุ เคล้าใหเ้ ขา้ กัน และแต่งแปลงอกี คร้ัง 5.4 ระบบน้า� แต่ละแปลงจะประกอบไปดว้ ย 2 ระบบคอื 1) สปริงเกอร์ ความสงู ของหลกั สปริงเกอร์ 1.20 เมตร ระยะหา่ งของหวั สปรงิ เกอร์ 4 เมตร เพ่ือลา้ งใบ ล้างนา้� ค้าง ลา้ งเชอ้ื รา ชนิดต่าง ๆ ล้างไข่แมลง ล้างสิ่งสกปรก และสร้างความช้ืนสัมพัทธ์ ในแปลงปลกู 14 กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

2) นา�้ หยด จะเปน็ เทปนา�้ หยด หรอื สายนา้� หยด ระยะหา่ ง รูเทปน้า� หยด 25 เซนติเมตร 1 แปลงจา� เป็นตอ้ งใช้เทปน้�าหยดท้ังหมด 4 เสน้ ระยะหา่ งแตล่ ะเสน้ 30 เซนตเิ มตร เพอื่ ใหน้ า�้ และอาหาร ใหเ้ พยี ง พอต่อความต้องการของพืช และลดการสูญเสียอาหารและน้�าที่พืชจะ ไดร้ บั เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการใหป้ ยุ๋ และนา้� และระบบนา้� แตล่ ะชนดิ จะ แยกทอ่ เมนยอ่ ยของแต่ละชนดิ เพือ่ ใหก้ ารควบคุมการใหน้ า้� ไดส้ ะดวก มากขึ้น ระบบนา�้ ตอ้ งเปน็ ระบบนา้� ทสี่ ะอาด ไมค่ วรใชแ้ หลง่ นา�้ ธรรมชาติ เนื่องจากมีการปนเปื้อนสูง หากมีการใช้แหล่งน�้าธรรมชาติ ควรน�ามา พักทิง้ ไวใ้ นบ่อทเ่ี ตรียมไว้ (บ่อทมี่ ขี อบสงู กว่าทางน้า� ไหลบา่ ของน�า้ ฝน) และต้องบา� บดั ด้วยการเพิม่ ออกซิเจน หรอื บ�าบดั ด้วยพชื ที่มีคุณสมบัติ ในการดูดซับสารพษิ ไดด้ ี เชน่ จอก ผักตบชวา เป็นต้น กองการแพทยท์ างเลือก 15 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

5.5 การคลมุ ฟาง ฟางควรมกี ารหมกั อยา่ งนอ้ ย 1 เดอื น และ มีการตรวจหาสารพษิ ตกค้างและสารโลหะหนกั ในฟาง ก่อนคลมุ แปลง ในการคลมุ แปลงแตล่ ะแปลง ใหม้ คี วามหนาประมาณ 20-30 เซนตเิ มตร คลมุ ตลอดจนถงึ ขอบแปลงดา้ นลา่ งเพอื่ รกั ษาความชนื้ ในดนิ และปอ้ งกนั วชั พชื ขน้ึ แซม และรดดว้ ยเชอื้ ปฏปิ กั ษ์ (เชอ้ื ราไตรโคเดอรม์ า) 1 สปั ดาห์ ก่อนปลูก เพื่อป้องกันและก�าจัดเช้ือราชนิดอ่ืน ท่ีส่งผลต่อการเกิด โรคราเนา่ โคนเนา่ และลดปรมิ าณกา๊ ซการหายใจของจลุ นิ ทรยี เ์ นอ่ื งจาก การยอ่ ยสลายของอนิ ทรียวตั ถุ (เกดิ ความร้อน ทา� ใหอ้ ณุ หภมู ใิ นดินสงู ) และเพิม่ จุลินทรียใ์ นดิน 6. วธิ ปี ลกู หลงั จากเตรยี มแปลงและคลมุ ฟางเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ การปลูกกระชายดา� ระยะปลูก 25x25 เซนตเิ มตร โดยใชไ้ ม้แหลมหรอื เสียมเจาะหลุมให้ใกล้เคียงหัวน้�าหยด แล้ววางหัวพันธุ์ใช้ดินกลบ เกลีย่ ฟางคลุม เปน็ การปลูกเสรจ็ เรียบร้อย 16 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

ขอ้ ห้ำม หา้ มบุคคลภายนอกท่ไี ม่มีสว่ นเก่ียวข้องกบั การปฏบิ ตั ิ หน้าที่ในแปลง เข้าแปลงก่อนได้รับอนุญาต พนักงานที่จะต้องปฏิบัติ งานในแปลง ตอ้ งมกี ารฉีดพ่นฆ่าเชือ้ กอ่ นเขา้ แปลง เพอ่ื ปอ้ งกันการน�า เช้อื โรคจากภายนอกเขา้ สู่แปลงทุกคร้งั ท่ีมกี ารฉีดพ่นเชือ้ ปฏิปกั ษ์ และ สารสกัดสมนุ ไพร ต้องมีการใส่ชดุ คลมุ ปอ้ งกนั ทุกคร้งั การดแู ลรักษา 1. กำรใหน้ ำ้� กระชายดา� ตอ้ งการนา้� ในระยะแรก ใหน้ า�้ เชา้ -เยน็ หลงั จากเดือนท่ี 4 ให้แค่ช่วงเช้า หรือตามความเหมาะสม 2. กำรให้ป๋ยุ จะใหป้ ๋ยุ อยู่ 3 ประเภท คือ 2.1 ปุ๋ยหมัก อินทรียวัตถุทุกชนิด ต้องตรวจเช็คสารพิษ ตกคา้ งในอนิ ทรยี วตั ถทุ กุ ชนดิ กอ่ นการหมกั และหลงั การหมกั อนิ ทรยี วตั ถุ หมักอย่างนอ้ ย 3 เดือน หรือ 90 วนั ประกอบไปดว้ ย มูลววั แกลบดิบ ขุยมะพร้าว เศษใบไม้หรืออนิ ทรียวัตถุในท้องถิ่น หลังจากนัน้ กน็ �ามาใส่ ในแปลงปลูก การหมักอินทรียวัตถุทุกครั้งต้องใช้จุลินทรีย์ท้องถ่ิน และไตรโคเดอร์มาผสมนา�้ รดอนิ ทรยี วัตถุทหี่ มัก 2.2 อาหารพืชชนิดน�า้ และฮอรโ์ มนพชื ต่าง ๆ จะใชท้ งั้ หมด 2 แบบคือ 1) ฉดี พน่ ทางใบ 2) ให้ทางน�้าหยด การใหอ้ าหารพชื ชนดิ นา้� และฮอรโ์ มนพชื ตา่ ง ๆ จะใหใ้ นชว่ งเวลาเช้าเท่านนั้ 2.3 ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด จะใส่ในแปลงปลูกใส่ในอัตราตาม ช่วงอายุของพืชแตล่ ะช่วง กองการแพทยท์ างเลือก 17 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

3. กำรกำ� จดั วชั พชื ควรเอาใจใสด่ แู ลกา� จดั วชั พชื อยา่ งสมา่� เสมอ โดยเฉพาะในช่วงแรกหลังต้นงอกและระยะท่ีต้นยังเล็ก กรณีที่มีวัชพืช ขน้ึ มากควรใชม้ อื ในการกา� จดั หา้ มใชจ้ อบดายหญา้ และของมคี มดายหญา้ โดยเด็ดขาด ลดการท�าลายรากพชื (งดการพรวนดนิ งดการใช้อปุ กรณ์ มีคมทุกชนดิ ในการกา� จดั วัชพืช เพราะเป็นการทา� ลายรากพชื จะท�าให้ พืชชะงักการเจรญิ เตบิ โต) การป้องกนั กา� จดั โรคและแมลง โรคของกระชายดา� หมนั่ ตรวจเชค็ โรคพชื และแมลงศตั รพู ชื ในชว่ ง เช้าและเย็นทุกวัน โรคของกระชายด�าทพ่ี บไดแ้ ก่ โรคเหงา้ และรากเนา่ เกดิ จากนา�้ ขงั หรอื การใหน้ า้� มากเกนิ ไป โรคใบจดุ รานา้� คา้ ง ฉดี พน่ เชอื้ รา ไตรโคเดอร์มา (ฉดี พ่นตอนเยน็ เทา่ น้นั และพ่นต่อเน่ือง 4 วัน เพอื่ ตดั วงจรการขยายเช้อื รา) ศตั รพู ชื ได้แก่ 1) แมลงดูดกินน�้าเล้ียง (Scale insect หรือ Sucking insect) เช่น เพล้ีย หอย มักวางไข่ไว้ที่ผิวเปลือกเหง้าเห็นเป็นสะเก็ด สขี าว ดดู กนิ นา�้ เลย้ี งทา� ความเสยี หายแกต่ น้ และเหงา้ พบไดท้ งั้ ในแปลง และในระยะหลังเก็บเกี่ยว ใช้สารสกัดจากพืชและสมุนไพรในการ ปอ้ งกนั และกา� จดั เช่น สารสกดั จากพรกิ ข่าแก่ และเปลอื กไม้ และการ ฉดี พ่นเชือ้ ราบิวเวอร์เรยี เมธาไรเซย่ี ม (ฉดี พน่ ตอนเยน็ เทา่ นน้ั และพ่น ต่อเน่ือง 4 วัน เพื่อท�าลายในแต่ละการเจริญวัยของแมลง) และใช้ถุง กาวเหลืองดกั แมลง ทุกระยะ 4 เมตร เพือ่ ตรวจสอบชนิดและปรมิ าณ ของแมลง และระยะการเจริญวัยของแมลง 18 กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

2) หนอนหรอื แมลงกดั กนิ ใบ ซงึ่ จะมผี ลกระทบตอ่ การเจรญิ เติบโตของพืชการปอ้ งกันก�าจัด ในเบือ้ งต้นควรทา� ลาย ใช้สารสกดั จาก พืชและสมุนไพรในการป้องกันและกา� จดั เชน่ สารสกดั จากพริก ข่าแก่ และเปลือกไม้ และการฉีดพ่นเช้ือราบิวเวอร์เรีย เมธาไรเซ่ียม (ฉีดพ่น ตอนเยน็ เทา่ นน้ั และพน่ ตอ่ เนอ่ื ง 4 วนั เพอ่ื ทา� ลายในแตล่ ะการเจรญิ วยั ของแมลง) และใชถ้ งุ กาวเหลอื งดกั แมลง ทกุ ระยะ 4 เมตร เพ่ือตรวจ สอบชนิดและปริมาณของแมลง และระยะการเจริญวยั ของแมลง การปอ้ งกนั และกา� จดั ในสว่ นของโรคพชื จะใชเ้ ชอื้ ราไตรโคเดอรม์ า และเปลอื กไมท้ ม่ี รี สฝาด ในการปอ้ งกนั และกา� จดั สว่ นของแมลงศตั รพู ชื จะใช้สารสกัดจากธรรมชาติในการป้องกันและก�าจัด และเชื้อรา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซี่ยม และสารจับใบจากธรรมชาติร่วมด้วยทุกคร้ัง ในการฉีดพ่นเชื้อราและสารสกัดจากพืช จะท�าการฉีดพ่นในช่วงเย็น การพ่นป้องกันและก�าจัดโรคพืชและแมลงควรผสมสารจับใบจาก ธรรมชาติ เพอื่ ใหส้ ารจบั ใบ เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการทา� งานของสาร สกัดและเช้ือปฏปิ ักษ์ ใหเ้ กาะตดิ กับตัวแมลง ใบของพืชได้นาน การเกบ็ เก่ยี ว 1. กำรเกบ็ เกี่ยว ฤดกู าลการเกบ็ เกย่ี วประมาณเดอื นธันวาคม ถึงมกราคม เม่อื กระชายด�าอายุ 10-12 เดอื น สังเกตใบของกระชายดา� จะเร่ิมเหลือง และแห้งลง จึงท�าการเก็บเกี่ยวได้ส่วนมากจะอยู่ในช่วง เดือนธันวาคม-มกราคม จะได้กระชายด�าคุณภาพดี วิธีการเก็บเกี่ยว กองการแพทยท์ างเลอื ก 19 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

กระชายด�า โดยการใช้แรงงานคนในการขุด พยายามอย่าให้เป็นแผล ท่ีเกิดจากการขุดเพราะจะเกิดเช้ือราได้กระชายด�านิยมใช้แต่หัวเหง้า พอขุดเสร็จก็ตัดรากออกท้ิง (มีการตรวจสารส�าคัญและสารพิษตกค้าง ต้งั แต่ 5 เดอื น ถงึ ระยะการเกบ็ เก่ียว) 2. วธิ กี ำรขุด การขดุ ตอ้ งพยายามไม่ใหจ้ อบโดนเหง้า หรอื วิธี การตามความเหมาะสม ถา้ ดนิ แหง้ เกนิ ไปในขณะทจ่ี ะขดุ กใ็ หร้ ดนา้� กอ่ น ทุกคร้ัง เพ่ือให้สะดวกต่อการขุดและง่ายต่อการเอาดินออกจากหัว กระชายดา� เสรจ็ แลว้ จงึ ตัดใบ ราก และล้างน้า� ให้สะอาด 3. ผลผลติ กระชายดา� ใหผ้ ลผลติ ประมาณ ไรล่ ะ 1,000-2,000 กิโลกรัม 4. กำรทำ� ควำมสะอำด คดั แยกหวั และแงง่ ออกจากกนั ตดั ราก และส่วนต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการท้ิง คัดเลือกส่วนท่ีสมบรูณ์ปราศจากโรค และแมลงนา� มาลา้ งดว้ ยนา้� สะอาดหลาย ๆ ครง้ั จากนนั้ คดั แยกสว่ นของ ผลผลิตทจี่ ะน�าไปท�าแหง้ และเก็บรกั ษาไวท้ �าหัวพนั ธต์ุ ่อไป การบรรจแุ ละการเกบ็ รักษา 1. กำรเกบ็ รกั ษำเหงำ้ พนั ธห์ุ รอื เหงำ้ สด การเกบ็ เกย่ี วกระชายดา� จะเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูแล้ง และจะเร่ิมปลูกใหม่ในต้นฤดูฝน จะมีระยะ ทงิ้ ช่วงหา่ งประมาณ 2-3 เดอื น ดงั นน้ั การเกบ็ รกั ษาทีเ่ หมาะสมจะช่วย ลดหรือหลีกเล่ียงความเสียหายของเหง้าพันธุ์ได้โดยวางเหง้าพันธุ์ผึ่งไว้ ในทร่ี ม่ สะอาด ปราศจากเชอ้ื โรค แมลงและสตั วต์ า่ ง ๆ รบกวน มอี ากาศ ถ่ายเทสะดวก พนื้ ทเี่ ก็บแห้งและปราศจากความชน้ื 20 กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

2. กำรแปรรูป 2.1การทา� ใหแ้ หง้ กระทา� ไดโ้ ดยนา� กระชายดา� ไปทา� ความสะอาด หลังจากน้ันน�ามาหั่นเป็นแว่น ๆ ความหนาประมาณ 2-3 เซนติเมตร แลว้ น�าเข้าตอู้ บลมรอ้ น ที่อณุ หภมู ิ 30-55 องศาเซลเซียส อบประมาณ 12-16 ช่ัวโมง ขึ้นอยู่กับปริมาณกระชายด�าและน้�าในกระชายด�าน�า กระชายด�าท่ีแห้งแล้วควรบรรจุในถุงพลาสติกเข้าเคร่ืองแวคคั่ม (สญู ญากาศ) และเกบ็ ไว้ในห้องควบคุมอุณหภูมิ เพอื่ ให้สามารถเก็บได้ นานขึ้น อัตราการทา� แหง้ ผลผลิตสด : ผลผลติ แห้ง เทา่ กบั 6 : 1 2.2 บดละเอียดเปน็ ผง กองการแพทยท์ างเลือก 21 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

2.3 การสกัดน้�ามัน 3. กำรบรรจุและกำรเก็บรกั ษำ 3.1 หวั สด ผงึ่ ลมให้แหง้ แลว้ จัดเกบ็ ในพนื้ ทีร่ ะบายอากาศ ไดด้ ี ไม่ใหเ้ กดิ ความชนื้ 3.2 กระชายดา� ทแ่ี หง้ แลว้ ควรเกบ็ ในภาชนะทเี่ หมาะสม และ ห้องควบคุมอุณหภมู ิ เพ่ือรอการแปรรูปขัน้ ตอนต่อไป 22 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

เอกสำรอ้ำงองิ 1. บังอร ศรีพานิชกุลชยั . 2553.กระชายดา� : การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ Kaempferia parviflora: research and product development .ขอนแก่น. โรงพมิ พค์ ลัง นานาวทิ ยา. 2. สถาบนั การแพทยแ์ ผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวง สาธารณสุข. 2558. คูม่ ือการก�าหนดพื้นที่ส่งเสริมการปลูกสมุนไพรเพอื่ ใช้ในทาง เภสชั กรรมไทย. กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ . 3. ฐานข้อมลู เคร่อื งยาสมนุ ไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี. 5 มิถุนายน 2564 (ออนไลน)์ .คน้ หาเครอ่ื งยา. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.thaicrudedrug.com 4. เริ่มเพ่ือพัฒนาเกษตรไทย.5 มิถุนายน 2564 (ออนไลน์). พืชผัก/สมนุ ไพร. เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.puechkaset.com 5. วกิ พิ เี ดยี . 5 มถิ นุ ายน 2564 (ออนไลน)์ . สารานกุ รมเสรกี ระชายดา� . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http:// www.th.wikipedia.org/wiki 6. อรัญญา ศรีบศุ ราคมั ส�านกั งานข้อมลู สมนุ ไพร คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล. 5 มิถนุ ายน 2564 (ออนไลน์). บทความเผยแพรค่ วามรู้สู่ประชาชน กระชายด�า กบั สมรรถภาพทางเพศชาย. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www. pharmacy.mahidol.ac.th 7. Medthai สมนุ ไพร 5 มิถุนายน 2564 (ออนไลน)์ . สมนุ ไพรไทยไทย-จนี . เข้าถงึ ได้จาก http://www.medthai.com กองการแพทย์ทางเลือก 23 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข