Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเพาะเลี้ยงปลากดเหลือง

การเพาะเลี้ยงปลากดเหลือง

Description: การเพาะเลี้ยงปลากดเหลือง.

Search

Read the Text Version

เผยแพรโดย กองเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝง และกองสง เสรมิ การประมง โครงการพัฒนาพื้นที่ลุมนํ้าปากพนัง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ สารบญั การแพรกระจายและแหลงที่อยูอาศัย การอนุบาลลูกปลาวัยออน ลักษณะรูปราง การเลี้ยงปลากดเหลืองในบอดิน ขนาดสมบูรณเพศและฤดูกาลวางไข การเลี้ยงปลากดเหลืองในกระชัง ลักษณะไขและความดกไข การปองกันรักษาโรคและพยาธิ การผสมเทียมปลากดเหลือง คําแนะนําการปองกันสัตวนํ้าจากภัยธรรมชาติ การเพาะเลย้ี งปลากดเหลอื ง คํานํา ปลากดเหลอื ง (Mytus nemurus, Cuv & Val) เปน ปลาน้ําจดื พน้ื บา นทไ่ี มม เี กลด็ ของไทย พบ แพรกระจายกวางขวางในแหลงน้ําธรรมชาติ ตลอดจนอางเก็บน้ําและเขื่อนตาง ๆ รวมทั้งบริเวณ ปากแมน าํ้ ทเ่ี ปน น้ํากรอ ย ปจ จบุ นั ปลากดเหลอื งเปน ปลาน้ําจืดเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งที่เกษตรกรสนใจทํา การเพาะเลย้ี งเปน อาชพี โดยเฉพาะในจงั หวดั นครศรธี รรมราช บรเิ วณพน้ื ทล่ี มุ น้ําปากพนัง เกษตรกรจะ นยิ มเลย้ี งปลากดเหลอื งในกระชงั และในบอ ดนิ ทเ่ี คยเลย้ี งกงุ กลุ าดํามากอ น ปลากดเหลอื งจดั วา เปน ปลา ชน้ั ดใี นทอ งตลาด จงึ เปน ทต่ี อ งการของตลาดทง้ั ในประเทศและนอกประเทศ โดยเฉพาะประเทศมาเล เซีย และสิงคโปร ปลากดเหลืองจึงเปนปลาอีกชนิดหน่ึง ท่ีคาดวาจะเปนปลาท่ีมีความสําคัญทาง เศรษฐกจิ มากในอนาคตและมศี กั ยภาพทส่ี ามารถพฒั นาการเพาะเลย้ี งในเชงิ พาณิชยตอไป

การเพาะเลี้ยงปลากดเหลือง 2 การแพรก ระจายและแหลง ทอ่ี ยอู าศยั ปลากดเหลอื ง พบแพรกระจายในแหลงนํ้าจืดทั่วไปของทวีปเอเชีย ตง้ั แตเ อเชยี ตะวนั ตก ไดแก อนิ เดยี เนปาล ปากสี ถาน และบังคลาเทศ และเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ไดแก พมา ไทย สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว กัมพูชา เวยี ดนาม มาเลเซยี และอนิ โดนเี ซยี ในประเทศไทย พบแพร กระจายในแหลง นํ้าธรรมชาตแิ ละอา งเกบ็ น้ําทุกภาคของประเทศไทย เชน ภาคเหนือ พบในลําน้าํ กก ปง วัง ยม นา น กวานพะเยา บงึ บอระเพด็ เขอ่ื นภมู พิ ล เขอ่ื นสริ กิ ติ ต์ิ และเขอ่ื นกว่ิ ลม ภาคตะวนั ออกเฉยี ง เหนอื พบในแมน ้ํามลู แมน ้ําโขงและสาขา ในเขอ่ื นอบุ ลรตั น เขอ่ื นลําปาว เขอ่ื นลําตะคอง อา งเกบ็ น้ําพุง เปน ตน ภาคกลางพบในแมน ้ําเจาพระยา ทาจีน แมก ลอง บางปะกง ปา สกั เขอ่ื นศรนี ครนิ ทร เขอ่ื นวชริ า ลงกรณ และแกงกระจาน ภาคใตพ บในแมน ้ําปากพนงั ตาป ปต ตานี สายบุรี บางนรา โกลก และสาขา ตลอดจนบรเิ วณปากแมน ้ํายา นน้ํากรอ ยบรเิ วณชายฝง กพ็ บปลากดเหลอื งได นอกจากนพ้ี บในทะเลนอ ย ทะเลสาบสงขลา และพรุตา ง ๆ เชน พรุโตะแดง จงั หวดั นราธวิ าส พรคุ วนเครง็ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ปลากดเหลอื งสามารถเจรญิ เตบิ โต และอาศัยอยไู ดใ นสภาพแวดลอมท่หี ลากหลาย เปน ปลาท่ี ชอบอาศยั อยตู ามพน้ื ทอ งน้ําทเ่ี ปน แอง หนิ หรอื เปน พน้ื ดนิ แขง็ น้าํ คอ นขา งใส และมีกระแสนํ้าไหลเชี่ยวไม แรงนกั พบอยใู นระดบั ความลกึ ตง้ั แต 2-40 เมตร อกี ทง้ั ชอบอาศยั หาอาหารบรเิ วณทน่ี ้ําจากตน น้ํา เหนอื เขอ่ื นหรอื อา งเกบ็ น้ําไหลมาบรรจบกบั บรเิ วณแนวน้ํานง่ิ โดยเฉพาะบริเวณปากแมนํ้า ซง่ึ มนี ้ําจืด ไหลปะทะกับแนวนํ้าเคม็ มกี งุ ปลา ปู หอย คอ นขา งสมบรู ณ ชาวประมงจะจบั ปลากดเหลอื งไดม ากใน บรเิ วณน้ี ลกั ษณะรปู รา ง ปลากดเหลอื ง เปน ปลาน้ําจดื ทไ่ี มม เี กลด็ ลําตวั กลม ยาว หวั คอ นขา งแบน กระดูกทายทอยยาว ถงึ โคนครบี หลงั มหี นวด 4 คู ครบี หลงั เปน ครบี เดย่ี ว มกี า นครบี แขง็ 1 กา น และกา นครบี ออ น 7 กา น มเี งย่ี งแขง็ และแหลมคม 1 คู มกี า นครบี ออ นขา งละ 9 กา น ครีบหางเวาลึกแฉกบนยาวกวาแฉก ลา ง ลกั ษณะสขี องลําตวั จะเปลย่ี นไปตามอายุ ขนาด และแหลงที่อยูอาศัย ปลากดเหลอื งทม่ี ขี นาดโตเตม็ วยั ลาํ ตวั บรเิ วณสว นหลงั มสี นี ้ําตาลเขม ปนดํา บรเิ วณดา นขา งลําตวั มสี นี ้ําตาลปนเหลอื ง และบริเวณสวน ทอ งมสี ขี าว ปลากดเหลอื งเปน ปลาทม่ี ขี นาดปานกลาง ขนาดใหญที่สุดยาวกวา 50 ซม. สวนใหญที่พบมี ขนาดประมาณ 30 ซม. หรอื เลก็ กวา ลักษณะปลาเพศผู 1. ลาํ ตัวเรียวยาว 2. ทอ งไมอ มู 3. ลกั ษณะเพศเปน ต่งิ เรยี วยาวและปลายแหลมยน่ื ออกมาประมาณ 1 ซม. ลกั ษณะของปลาเพศเมยี 1. ลาํ ตวั อว นปอ ม ชอ งทองขยายกวา ง 2. ลกั ษณะทองอมู เปง ชดั เจน 3. ลกั ษณะเพศเปน รกู ลม สีชมพูเรื่อ ๆ ขนาดสมบรู ณเ พศและฤดกู าลวางไข ปลากดเหลอื งเพศเมยี มไี ขแ กแ ละสามารถวางไขส บื พนั ธไุ ดม ขี นาดตง้ั แต 26.0 ซม. ขน้ึ ไป สวน ปลาเพศผมู นี ้ําเชอ้ื สมบรู ณส ามารถ สบื พนั ธไุ ดม ขี นาดตง้ั แต 24.0 ซม.ขน้ึ ไป ปลากดเหลอื งสามารถวาง ® กลับไปหนากอนนี้ ¯ หนาถัดไป กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลากดเหลือง 3 ไขไ ดเ กอื บตลอดทง้ั ป แตส ว นใหญอ ยรู ะหวา งเดอื นกมุ ภาพนั ธ ถงึ เดอื นตลุ าคมของทกุ ป อยา งไรกต็ าม ภาคใตต อนลา ง สามารถเพาะพนั ธปุ ลากดเหลอื งไดต ง้ั แตป ลายเดอื นเมษายนจนถงึ เดอื นมกราคม แต เปน ทน่ี า สงั เกตวา ฤดกู าลวางไขข องปลากดเหลอื ง จะแตกตางกนั ไปตามสภาพและที่ตง้ั ของพน้ื ท่ี ลกั ษณะไขแ ละความดกไข ปลากดเหลอื งมไี ข 2 พู ปรมิ าณความดกของไข แมป ลาทม่ี ขี นาดความยาว 15-35 ซม. นา้ํ หนกั 28-370 กรัม มปี รมิ าณไขเ ฉลย่ี 35,000 ฟอง ไขป ลากดเหลอื งเปน ไขจ มและตดิ กบั วสั ดุ ใตน าํ้ เมอ่ื สมั ผสั กบั น้ํามสี ารเมอื กเหนยี วทร่ี อบเปลอื กไข ทําใหไ ขป ลาตดิ กบั วสั ดุ หรอื ไขต ดิ กนั เปน กลมุ กอ น ไขม ขี นาดเสน ผา ศนู ยก ลางประมาณ 1 มม. เมอ่ื ถกู น้ําจะพองออกเลก็ นอ ย การผสมเทยี มปลากดเหลอื ง ปลากดเหลอื งทน่ี ํามาเปน พอ แมพ นั ธุ ตอ งมอี ายตุ ง้ั แต 1 ปข น้ึ ไป น้าํ หนกั ไมต ่ํากวา 200 กรัม ขน้ึ ไป มาฉดี ฮอรโ มนสงั เคราะห (Suprefect) รว มกับยาเสริมฤทธิ์ (Motilium) บรเิ วณทฉ่ี ดี ฮอรโ มน คอื ทางชอ งทอ งหรอื กลา มเนอ้ื บรเิ วณสว นหลงั เหนอื เสน ขา งตวั การฉีดฮอรโมนผสมเทียมจะตองคัดเลือกพอแมพันธุปลากดเหลืองท่ีมีความสมบูรณเพศมาฉีด ฮอรโ มนสงั เคราะหแ ละยาเสรมิ ฤทธ์ิ ในปลาเพศเมยี เขม็ ท่ี 1 ฉดี ฮอรโ มนสงั เคราะห ในปรมิ าณ 7 ไมโครกรมั + และยาเสริมฤทธิ์ 5 มลิ ลกิ รมั ตอ แมป ลา 1 กิโลกรัม และเวน ระยะ 6 ชั่วโมง ก็ทาํ การฉดี เขม็ ท่ี 2 ฉดี ฮอรโ มนสงั เคราะหใ นปรมิ าณ 25 ไมโครกรมั + และยาเสริมฤทธิ์ 5 มลิ ลกิ รมั ตอ น้ําหนกั แม ปลา 1 กิโลกรัม พรอมทั้งทําการฉดี ฮอรโ มนสงั เคราะหป ลาเพศผใู นปรมิ าณ 5 ไมโครกรมั +และยาเสริม ฤทธิ์ 5 มลิ ลกิ รมั ตอ น้ําหนกั พอ ปลา 1 กิโลกรัม เวน ระยะประมาณ 8 ชั่วโมง ก็ทาํ การรดี ไขผ สมกบั น้ํา เชอื้ และลา งไขด ว ยน้ําสะอาดหลาย ๆ ครง้ั นําไขไปโรยบนแผงฟกไขเพื่อใหไขฟกเปนตัว ไขที่ ไดร บั การผสมจะมลี กั ษณะกลมสเี หลอื งสดใส สว นไขท ไ่ี มไ ดร บั การผสมจะมสี ขี าวขนุ หรอื บดิ เบย้ี ว ไข ปลากดเหลอื งจะฟก เปน ตวั ภายในเวลา 30 ชม. ในอณุ หภมู นิ ้ํา 26-28O C การอนบุ าลลกู ปลาวยั ออ น หลงั จากลกู ปลาฟก เปน ตวั ได 3 วัน มคี วามยาวลําตวั ประมาณ 3 มม. ระยะนล้ี กู ปลาจะเรม่ิ วา ย นา้ํ หาอาหาร ลกู ปลาจะมลี กั ษณะลําตวั ขาวใส อาหารที่ใหจะเปนไรแดง หรืออารทีเมีย จนลกู ปลามอี ายุ ไดป ระมาณ 1 สัปดาห จะเรม่ิ ใหอ าหารผงของปลาดกุ เลก็ (Powder feed) หรอื ปลาสดสบั ละเอยี ด วัน ละ 4 ครง้ั (8.00 น., 11.00 น., 15.00 น., และ 18.00 น.) หลงั จากนน้ั 2 สัปดาห ลกู ปลาเรม่ิ มี ขนาดแตกตางกัน จะตองหม่ันคัดขนาดลูกปลา จะชวยลดการกินกันเอง และลูกปลาจะมีขนาด 1.5-2.0 นว้ิ ในระยะเวลา ประมาณ 45 วัน การเลย้ี งปลากดเหลอื งในบอ ดนิ การเตรียมบอ 1. การสบู น้ําออกจากบอ โดยตง้ั เครอ่ื งสบู ตรงจดุ ทส่ี ามารถวดิ น้ําไดห มด เพือ่ ทุน คา ใชจา ย และการทาํ งาน การสบู น้ําควรสูบใหแหงเพื่อกําจดั ศตั รปู ลาและทําการหวา นปนู ขาวทนั ทใี น ขณะดนิ เปย ก ในอตั รา 60-100 กิโลกรัม/ไร 2. การกาํ จดั ศตั รปู ลาและการปอ งกนั ควรทาํ การกําจดั ศตั รปู ลา ไดแก ปลาชนดิ ตา ง ๆ กบ เขยี ด ปู นกชนดิ ตา ง ๆ การกําจัด อาจใชป นู ขาว โลต น๊ิ กากชา หรอื สารเคมี เชน คลอรนี ผง ® กลับไปหนากอนนี้ ¯ หนาถัดไป กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลากดเหลือง 4 อตั รา 5 พีพีเอ็ม ละลายน้ําแลวสาดใหทั่วบอสําหรบั การปอ งกนั ศตั รปู ลา จัดทําโดยใชเ ฝอ ก อวนไนลอ น หรอื ปลกู ตะไครล อ มรอบคนั บอ 3. การกาํ จดั พนั ธไุ มน ้ําและวัชพืช พนั ธุไมนาํ้ และวัชพืชอื่น ๆ จะเปน แหลง หลบซอ นของศตั รู ปลาและสว นทต่ี ายจะเนา เสยี มผี ลตอ คณุ ภาพน้ํา ทําอนั ตรายตอ ปลาทเ่ี ลย้ี งไดแ ละวชั พชื ตา ง ๆ จะเปนอุปสรรคตอการจับปลาและทําใหการเลี้ยงไดผลผลิตไมแนนอน จึงตอง ทาํ การกําจดั พนั ธไุ มน ้ําและวัชพืชที่มีอยูภายในบอเลี้ยงใหหมด 4. การตากบอ นอกจากจะทําเพ่ือเปนการกําจัดศัตรูปลาแลว ยังเปนการชวยใหแกสพิษ บางชนดิ ทฝ่ี ง กน บอ มีโอกาสระเหยและถูกทําลายโดยแสงแดดและความรอ น ทง้ั ยงั เปน การ ฆา เชอ้ื โรคทอ่ี ยบู รเิ วณกน บอ ใหต ายลง เปน การทําใหห นา ดนิ ในบอ มคี ณุ ภาพดขี น้ึ ในกรณที ่ี บอมีเลนกนบอหนา ควรทําการปาดเลนทิ้งกอนหรือทําการไถพรวน แลวทําการหวาน ปนู ขาวและตากบอ ตอ ไป กรณที บ่ี อ เปน ดนิ ดนิ เปรยี้ วจัด ไมค วรปาดเลนทง้ิ เพราะจะทําให นา้ํ ทส่ี บู เขา มาใหมเ ปน กรดจดั ขน้ึ 5. การปรับสภาพดิน การปรบั สภาพดนิ ขน้ึ อยกู บั ความเปน กรด-ดา งของดนิ เปน หลกั การ ตรวจสอบสภาพดินท่ีเปนกรดควรปรึกษาเจาหนาท่ีประมงกอนในสภาพดินท่ีเปนกรด สังเกตพบหญาแหวทรงกระเทียมหรือกระจูดหนูกกและเสม็ด น้ํ าในบอมีสีใส แบบตาตั๊กแตน หรืออาจทดสอบโดยใชกระดาษวัดความเปนกรด-ดาง หรืออาจชิมน้ํา บรเิ วณใกลบ อ เลย้ี งจะมรี สเฝอ น ๆ และอกี วธิ หี นึง่ คอื ใชน ้ําหมากบว นลงในแหลง น้ํา ถา น้ํา หมากเปล่ียนจากสีแดงอิฐเปนสีแดงเขมแสดงวาเปนกรดจัด การปรับสภาพดนิ ทเ่ี ปน กรด อาจใชป นู ขาว ตง้ั แต 100-200 กก./ไร กรณที เ่ี ปน บอ เกา ผา นการใชง านมา 2-3 ป อาจ ดําเนินการไถพรวนดนิ กน บอ พรอ มสบู น้ําทิ้ง เพอ่ื ลดปรมิ าณสารอนิ ทรยี ใ นดนิ ทม่ี ผี ลตอ การเนา เสยี ของกน บอ แลว หวา นปนู ขาวในอตั รา 200 กก./ไร พรอ มการไถพรวนดนิ ไดย ง่ิ ดี คณุ สมบตั ขิ องปนู ขาว ชวยฆาเชื้อโรค และทําใหตะกอนทแ่ี ขวนลอยในน้ําตกตะกอน เร็วขึ้นและทําการตากบอใหแหงสนิท เปนระยะเวลา 3-4 สัปดาห จึงเปดนํ้าเขาบอ อยา งนอ ย 3-5 วัน จึงปลอ ยปลาลงเลย้ี งได ® กลับไปหนากอนนี้ ¯ หนาถัดไป กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลากดเหลือง 5 การเลย้ี งปลากดเหลอื งในบอ ดนิ ขนาด 1 ไร จํานวน 5 บอ ของเกษตรกรอําเภอปากพนัง และอําเภอเชียรใหญ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ในอตั ราการปลอ ย 5 ตวั /ตารางเมตร หรอื ปลอ ยบอ ละ 7,700 ตวั ขนาดเรม่ิ ปลอ ยความยาว ประมาณ 5 ซม. ใหอ าหารเมด็ ปลาดกุ เลก็ พเิ ศษในระยะเวลา2 เดอื นแรก อาหารเมด็ สตู รปลาดกุ เลก็ ในระยะเวลา 2 เดอื นถดั มา และอาหารเมด็ ปลาดกุ ใหญอ กี 2 เดอื น เปน ระยะเวลาการเลย้ี ง 6 เดอื น สามารถจบั ปลาเพอ่ื จําหนายไดจํานวนทง้ั หมด 637 กิโลกรัม/ไร ขนาดปลาทจ่ี บั ได 5-8 ตวั /กิโลกรัม อตั รารอดตาย 73.5% และอตั ราแลกเนอ้ื (FCR) เทากับ 1.72 ตารางท่ี 1 การเจรญิ เตบิ โตและผลผลติ การเลย้ี งปลากดเหลอื งในบอ ดนิ ของเกษตรกร อําเภอปากพนงั และอาํ เภอเชยี รใหญ จังหวัดนครศรีธรรมราช 1. ขนาดปลาทป่ี ลอ ย (ซม.) 5.0 2. อตั ราการปลอ ย (ตวั /ไร) 7,700 3. ระยะเวลาเลย้ี ง (วัน) 180 4. อตั ราการเจรญิ เตบิ โตจําเพาะ (% กรัม/วัน) 2.51 5. ผลผลติ (กิโลกรัม/ไร) 637 6. อตั รารอดตาย (%) 73.5 7. ขนาดปลาทจ่ี บั ได (ตวั /กิโลกรัม) 5.5 8. อตั ราการแลกเนอ้ื (FCR) 1.72 ตารางท่ี 2 ตนทุน รายได และผลตอบแทนการเลย้ี งปลากดเหลอื งในบอ ดนิ ขนาด 1 ไร 1. คา พนั ธปุ ลา (บาท) 7,700 2. คา อาหารปลา (บาท) 19,720 3. คา ปนู ขาวและยารกั ษาโรค (บาท) 1,800 4. คา แรงงานและอน่ื ๆ (บาท) 2,550 5. ราคาขายปลา (บาท/กก.) 80 6. รายไดทั้งหมด (บาท/ไร) 50,950 7. กาํ ไรเบอ้ื งตน (บาท) 19,180 ® กลับไปหนากอนนี้ ¯ หนาถัดไป กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลากดเหลือง 6 การเลย้ี งปลากดเหลอื งในกระชงั การเลย้ี งปลากดเหลอื งในกระชงั อาจใชต าขา ยพลาสตกิ ขนาด 3x4x1.8 เมตร หรอื กระชงั อวน โพลี ปกหลักไมอยูกับที่ หรอื กระชงั มที นุ ลอยขนาด 3x4x2 เมตร จากการปลอ ยปลาขนาด 200-250 กรมั อตั ราปลอ ย 1,000 ตวั /กระชัง ใหป ลาสดสบั และสวนผสมพวกหวั อาหารปลาสําเรจ็ รปู เปน อาหาร วนั ละ 2 ครง้ั เชา-เย็น ระยะเวลา 4 เดอื น ผลปรากฎวา ปลาเจรญิ เตบิ โตมนี ้ําหนกั เฉลย่ี 540 กรัม/ตวั อตั รารอดตาย 82.0 % ผลผลติ ประมาณ 460 กิโลกรัม/กระชัง การปอ งกนั รกั ษาโรคและพยาธิ ในธรุ กจิ การเลย้ี งปลากดเหลอื ง ปญ หาท่ผี เู ล้ยี งปลาประสบอยบู อ ย ๆ คอื เรอ่ื งการเกดิ โรคปลา โดยโรคที่พบมักเกิดจากสาเหตุหลายปจจัย เชน การตดิ เชอ้ื พยาธนิ อก, การติดเชื้อพยาธิภายใน, การ ตดิ เชอื้ แบคทีเรีย, การตดิ เชอ้ื ราและน้ําทเ่ี ลย้ี งเปน พษิ เปน ตน การดําเนนิ การปอ งกนั รกั ษาจงึ ควร พจิ ารณาจากสาเหตขุ องโรคซง่ึ สามารถวนิ จิ ฉยั เบอ้ื งตน ไดด ว ยตนเองดังตอ ไปน้ี โรคพยาธิจากภายนอก 1. โรคจุดขาว (Ichthyophthirius : “Ich”) ปลาทเ่ี ปน โรคนจ้ี ะมจี ดุ สขี าวขนุ ขนาดเทา หวั เขม็ หมดุ เลก็ ๆ กระจายอยูทั่วลําตวั และครบี สาเหตขุ องโรคน้ี คอื โปรโตซวั ชนดิ ทก่ี นิ เซลลผ วิ หนงั เปน อาหาร เมอ่ื พยาธโิ ตเตม็ ทจ่ี ะออกมาจากตวั ปลา โดยจมตวั ลงสบู รเิ วณกน บอ ปลา และสรา งเกราะหมุ ตวั ตอจากนั้นจะมีการแบงเซลลเปนตัวออนจํานวนมากภายในเกราะนั้น เมื่อสภาวะแวดลอมภายนอก เหมาะสมเกราะหมุ ตวั จะแตกออกและตวั ออ นของพยาธจิ ะวา ยน้ําเขา เกาะตามผวิ หนงั ของปลาตอ ไป การปอ งกนั และรกั ษา ยงั ไมมีวิธีกําจดั ปรสติ ทฝ่ี งอยใู ตผิวหนังทไ่ี ดผลเตม็ ที่ แตวิธีการที่ควรทํา คอื การทาํ ลายตวั ออ นในน้ํา หรือทําลายตวั แกข ณะวา ยน้ําอสิ ระ โดยการใชส ารเคมดี งั ตอ ไปน้ี 1. ฟอรม าลนิ 150-200 ซีซี. ตอ น้ํา 1,000 ลติ ร แชไวนาน 1 ชั่วโมง สาํ หรบั ปลาขนาดใหญ 2. มาลาไคทกรีน 1.0-1.25 กรัม ตอ น้ํา 1,000 ลติ ร แชไวนาน 24 ชั่วโมง สาํ หรบั ปลา ขนาดใหญ หรือ 0.15 กรัม ตอ น้ํา 1,000 ลติ ร นาน 24 ชั่วโมง หรือ เมทธลิ นี บลู 1-2 กรมั ตอ น้ํา 1,000 ลติ ร แชต ิดตอ กนั 7 วัน 3. มาลาไคทก รนี และฟอรม าลนิ ในอตั ราสว น 0.15 กรัม และ 25 ซีซี. ตอ น้ํา 1,000 ลติ ร นาน 24 ชั่วโมง แชต ดิ ตอ กนั ประมาณ 7 วัน ควรเปลย่ี นน้ําใหมทุกวัน และทําการแชยาวัน เวนวันจนกระทั่งปลามีอาการดีขึ้น วิธีน้ีจะไดผ ลดมี ากเมอ่ื น้ํามอี ณุ หภมู ิ 28-30 องศา เซลเซียส 2. โรคพยาธแิ ละปลิงใส (Gyrodactylus) ปลาทม่ี พี ยาธปิ ลงิ ใสเกาะ จะมอี าการวา ยน้ํา ทรุ นทุรายลอยตัวตามผิวนํ้า ผอม กระพุงแกมเปดปด เรว็ กวา ปกติ อาจมแี ผลขนาดเลก็ เทา ปลายเขม็ หมดุ กระจายอยูทั่วตัว ถา เปน การตดิ โรคในขน้ั รนุ แรง อาจมองเหน็ เหมอื นกบั วา ปลามขี นสน้ั ๆ สขี าว กระจายอยตู ามลําตวั ซึ่งอาจทําใหป ลาตายได โดยเฉพาะลกู ปลาทเ่ี รม่ิ ปลอ ยลงบอ ดนิ ใหม ๆ ควร ระมดั ระวงั โรคนใ้ี หม าก การปอ งกนั และรกั ษา 1. ใชฟ อรม าลนิ จํานวน 25-40 มล. ตอ น้ํา 1,000 ลติ ร แชนาน 24 ชั่วโมง 2. ใชด พิ เทอรเ ร็กซ จํานวน 0.25-0.5 กรัม ตอ น้ํา 1,000 ลติ ร แชนาน 24 ชั่วโมง ® กลับไปหนากอนนี้ ¯ หนาถัดไป กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลากดเหลือง 7 โรคที่เกิดจากพยาธิภายใน 1. โรคพยาธิใบไม (Pleurogenoides) พยาธิใบไมที่ทําใหเ กดิ โรคในปลานน้ั พบทง้ั ขณะทเ่ี ปน ตวั เตม็ วยั แลว และตวั ออ นเต็มวยั ของพยาธิ ใบไมพ บไดใ นทางเดนิ อาหารภายในชอ งทอ ง ไมคอยทําอนั ตรายตอ ปลาเทา ใดนกั ตา งกบั ตวั ออ นซง่ึ พบ ฝง ตวั อยบู รเิ วณเหงอื กและอวยั วะภายในตา ง ๆ ทําใหเ กดิ ความเสยี หายกบั เนอ้ื เยอ่ื ของเหงอื กเปน อยา ง มาก โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ลกู ปลาทเ่ี ปน โรคนจ้ี ะมอี าการกระพงุ แกม เปด อา อยตู ลอดเวลา วา ยน้ําทรุ นทรุ าย ลอยตัวที่ผิวนํ้า ผอม เหงอื กบวมอาจมองเหน็ จดุ ขาว ๆ คลา ยเมด็ สาคขู นาดเลก็ เปน ไตแขง็ บรเิ วณเหงอื ก ได และปลาจะทยอยตายเรื่อย ๆ ปลาหลายชนดิ ในแหลง น้ําธรรมชาตอิ าจพบพยาธใิ บไมเ ตม็ วยั ได การปอ งกนั และรกั ษา 1. ควรหลกี เลย่ี งการใชป ยุ คอก เพราะอาจมไี ขข องพยาธใิ บไมต ดิ มา ถาหากจําเปน ตอ งใชป ยุ คอก ควรตากใหแ หง เปน อยา งดกี อ นใชแ ละควรกําจัดหอย ซง่ึ จะเปน ตวั ชว ยเสรมิ ในการ ระบาดของพยาธชิ นดิ นค้ี รบวงจร โดยการตากบอ ใหแหง และโรยปนู ขาวใหทัว่ ในอตั รา 30-50 กก./ไร หลงั จากจบั ปลาขน้ึ แลว ทกุ ครง้ั 2. ยงั ไมมีวิธีรักษาหรือกําจดั ตวั ออ นของพยาธใิ บไมท เ่ี กาะบนตวั ปลา โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย 1. โรคตัวดา ง เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Columnaris ปลาทเ่ี ปน โรคนจ้ี ะมแี ผลดา งขาวตามตวั และ เมอ่ื ระยะเวลานาน แผลดา งขาวนจ้ี ะกลายเปน แผลลกึ ได โรคนม้ี กั เกดิ กบั ปลาหลงั การลําเลียง เนอ่ื งจาก อุณหภูมิของอากาศที่สูงทําใหปลามีความตานทานลดลง เช้ือแบคทีเรียน้ีจะเจริญเติบโตไดดีและ ทาํ อนั ตรายตอ ปลา ปลาทต่ี ดิ โรคนจ้ี ะตายเปน จํานวนมากอยา งรวดเรว็ การปอ งกนั และรกั ษา 1. แชย าเหลอื งในอตั ราสว น 2 มลิ ลกิ รมั ตอ น้ํา 5 ลติ ร นานประมาณครง่ึ ชว่ั โมง 2. ในขณะขนสงลําเลียงปลาควรใสเกลือเม็ดลงในนํ้าที่ใชสําหรับการขนปลาในปริมาณ 1 ชอนชา ตอ น้ํา 1 ลติ ร 3. ใชด า งทบั ทมิ เขม ขน 2 พีพีเอ็ม แชต ลอดไป 4. ใชฟ อรม าลนิ จํานวน 40-50 พีพีเอ็ม แชนาน 24 ชั่วโมง 5. ในกรณที เ่ี ชอ้ื อยใู นกระแสเลอื ดใช เทอรร ามยั ซนิ 5 กรัม ตอ น้ําหนกั ปลา 100 กก. ตอ วนั ตดิ ตอ กนั เปน เวลา 10-12 วัน 2. โรคแผลตามตวั เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Aeromonas และ Pseudomonas ปลาจะมลี กั ษณะ ผวิ หนงั บวมแดงและเปน แผลลกึ ไปจนเหน็ กลา มเนอ้ื สว นในปลาขนาดเลก็ มักจะทําใหเ กดิ อาการครบี กรอ น ทง้ั ครบี ตามลําตวั และครบี หาง การปอ งกนั และรกั ษา 1. ใชย าปฏิชีวนะจําพวกไนโตรฟรู าโซนในอตั ราสว น 1-2 มลิ ลกิ รมั ตอ น้ํา 1 ลติ ร แชปลา นานประมาณ 2-3 วัน 2. แชปลาท่ีเปนโรคในสารละลายออกซีเตตราไซคลินหรือเตตราไซคลิน ในอัตราสวน 10-20 มลิ ลกิ รมั ตอ น้ํา 1 ลติ ร นาน 1-2 วัน ตดิ ตอ กนั 3-4 ครง้ั ® กลับไปหนากอนนี้ ¯ หนาถัดไป กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลากดเหลือง 8 3. ถา ปลาเรม่ิ มอี าการของโรค อาจผสมยาปฏชิ วี นะตามขอ 1 หรือ 2 ในอตั ราสว น 60-70 มลิ ลกิ รมั ตอ น้ําหนกั ปลา 1 กก. หรือ 2-3 กรัม ตอ อาหาร 1 กก. นานตดิ ตอ กนั 3-5 วัน 3. โรคทอ งบวม อาการของโรคจะเหน็ สว นทอ งบวมมาก และอกี แบบหนง่ึ นน้ั ผวิ หนงั จะเปน รอย ชาํ้ ตกเลอื ด การปอ งกนั และรกั ษา 1. แชป ลาในยาปฏชิ วี นะออกซเี ตตรา ไซคลนิ ในอตั ราสว น 10-20 พีพีเอ็ม 2. การฆา เชอ้ื ในบอ เลย้ี งปลา ควรใชป นู ขาวในอตั ราสว น 50-60 กก./ไร โรคที่เกิดจากปจจัยอื่น การเกดิ โรคของปลากดเปลอื ง นอกจากจะมสี าเหตมุ าจากเชอ้ื โรคชนดิ ตา ง ๆ แลว สภาพ แวดลอ มของทอ่ี ยอู าศยั ของปลา ทง้ั ทางดา นกายภาพหรอื องคป ระกอบดา นเคมี จะเปนปจจัยสําคญั อกี ประการหนง่ึ ทจ่ี ะเปน จดุ เรม่ิ ตน ทําใหป ลาออ นแอและสง ผลถงึ การตดิ เชอ้ื โรคชนดิ ตา ง ๆ ปจจัยเหลานี้ ไดแ ก ปรมิ าณออกซเิ จนในน้ํา ความเปน กรดดา งของน้ํา สารพษิ ในน้ํา ปรมิ าณคลอรนี หรือโลหะหนัก ในนาํ้ รวมถงึ สภาพอณุ หภมู ขิ องน้ําทเ่ี ปลย่ี นแปลงอยา งกระทนั หนั ดงั นน้ั การเลย้ี งปลากดเหลอื งผเู ลย้ี ง จงึ ควรทจ่ี ะศกึ ษาวธิ กี ารปอ งกนั และแกไ ขหวั ขอ ดงั กลา ว ใหอ ยใู นภาวะเหมาะสมกบั การอยอู าศยั ของปลา หลกี เลย่ี งสาเหตทุ ม่ี ผี ลทําใหส ภาพแวดลอ มเปลย่ี นแปลงไปอยา งกระทนั หนั ขา งตน คําแนะนํา การปองกันสัตวนํ้าจากภัยธรรมชาติ “ภัยธรรมชาติ” หมายถึง อนั ตรายจากสง่ิ ทเ่ี กดิ มแี ละเปน อยตู ามธรรมดา ของสง่ิ นน้ั ๆ โดย มไิ ดม กี ารปรงุ แตง อาทิ อุทกภัย และฝนแลง เปน ตน กรมประมง จงึ ของเสนอแนวทางปอ งกนั หรอื ลด ความสูญเสียและความเสียหายแกเกษตรกรผูเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าจากการประสบภาวะฝนแลว ฝนตน ฤดู และอุทกภัย ดงั น้ี ภาวะฝนแลง ภาวะฝนแลงและฝนทิ้งชวงทํ าใหปริมาณนํ้ ามีนอยทั้งในแหลงนํ้าธรรมชาติและแหลง นา้ํ ชลประทานซง่ึ เปน แหลง น้ําสําคญั ทใ่ี ชใ นการเพาะเลย้ี งสตั วน ้ําและเกดิ ผลกระทบตอ การประมง ตลอด จนสภาพแวดลอมไมเ หมาะสมตอการแพรข ยายพันธแุ ละการเจรญิ เติบโตของสตั วน ้ํา โดยมวี ธิ กี ารปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. ควบคุมการใชน้ําและรักษาปริมาณน้ําในที่เล้ียงสัตวนํ้าใหมีการสูญเสียนอย เชน การ รวั่ ซึม การกําจัดวัชพืช 2. ทาํ รม เงาใหส ตั วน ้ําเขา พกั และปอ งกนั การระเหยน้ําบางสว น 3. ลดปรมิ าณการใหอ าหารสตั วน ้ําท่ีมากเกนิ ความจําเปนจะทําใหน ้ําเสยี 4. เพม่ิ ปรมิ าณออกซเิ จนโดยใชเ ครอ่ื งสบู น้ําจากกน บอ พน ใหส มั ผสั อากาศแลว ไหลคนื ลงบอ 5. ปรบั สภาพดนิ และคณุ สมบตั ขิ องน้ํา เชน น้าํ ลกึ 1 เมตร ใสป นู ขาว 50 กก./ไร ถา พน้ื บอ ตะไครห รอื แกส มากเกนิ ไปควรใสเ กลอื 50 กก./ไร เพื่อปรับสภาพผิวดินใหดีขึ้น ® กลับไปหนากอนนี้ ¯ หนาถัดไป กลับหนาหลัก/สารบัญ

การเพาะเลี้ยงปลากดเหลือง 9 6. จับสัตวน้ําที่ไดขนาดขึ้นจําหนายหรือบริโภคในเวลาเชาหรือเย็น เพ่ือลดปริมาณสัตวน้ํา ในบอ 7. ตรวจสอบคุณสมบัติของน้ําจากภายนอกที่จะสูบเขาบอเลี้ยง เชน พบวามีตะกอนและ แรธ าตตุ า ง ๆ เขม ขน ควรงดการสบู น้ําเขา บอ 8. งดเวน การรบกวนสตั วน ้ําเพราะการตกใจจะทําใหส ตั วน ้ําสญู เสยี พลงั งานและอาจตายได 9. งดเวน การขนยา ยสตั วน ้ําโดยเดด็ ขาด หากจําเปน ตอ งทําอยา งระมดั ระวงั 10. แจง ความเสยี หายตามแบบฟอรม กรมประมง เพอ่ื การขอรบั ความชว ยเหลอื อยา งถกู ตอ ง และรวดเรว็ ภาวะฝนตน ฤดู การเตรยี มการรบั ภาวะฝนตน ฤดู เกษตรกรผเู พาะเลย้ี งสตั วน ้ําควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. ไมควรสูบน้ําฝนแรกเขา บอ เพราะน้ําจะพัดพาสง่ิ สกปรกจากผวิ ดนิ ลงสแู หลงน้ําธรรมชาติ ควรปลอ ยใหน ้ํามปี รมิ าณเพม่ิ ขน้ึ จึงนําน้าํ ไปใชใ นการเพาะเลย้ี งสตั วน ้ํา 2. ควรสบู น้ําในบอ ใหส มั ผสั อากาศจะชว ยเพม่ิ ปรมิ าณออกซเิ จนและปอ งกนั การแบง ชน้ั ของน้าํ 3. ปองกันการไหลของน้ําฝนท่ีจะชะลางแรธาตุและสารเคมีจากผิวดินลงสูบอ ซง่ึ อาจเปน อนั ตรายตอ สตั วน ้ําได 4. งดการรบกวน การจบั และขนยา ยสตั วน ้ํา ควรรอจนกวา คณุ สมบตั ขิ องน้ํามสี ภาพดเี ปน ปกติ 5. งดจบั สตั วน ้ําเพอ่ื การอนรุ กั ษ เนอ่ื งจากสตั วน ้ําจะผสมพนั ธหุ ลงั จากฝนตกใหม ๆ ภาวะอทุ กภยั การปองกันสัตวนํ้าสูญหายจากภาวะอุทกภัยควรปฏิบัติตามสภาวะการณกอนเกิดภาวะอุทกภัย คอื ใหจ บั สตั วน ้ําทไ่ี ดข นาดตลาดตอ งการออกจําหนา ย กอ นชว งมรสมุ ในฤดฝู น พรอ มทง้ั สรา งกระชงั ไนลอน กระชงั เนอ้ื อวน บอ ซเี มนต หรอื ขงึ อวนไนลอน เพอ่ื กกั ขงั สตั วน ้ํา “ ® กลับไปหนากอนนี้ ¯ หนาถัดไป กลับหนาหลัก/สารบัญ