ก รมวิชาการเกษตร คู่มอื การออกหนังสอื อนญุ าตไซเตส ส�ำหรบั กฤษณา จัดท�ำโดย กลมุ่ วจิ ัยอนสุ ัญญาไซเตสดา้ นพืช ส�ำนกั คมุ้ ครองพนั ธพุ์ ืช กรมวชิ าการเกษตร
ก รมวิชาการเกษตร คู่มือ การออกหนงั สืออนญุ าตไซเตส ส�าหรบั กฤษณา ธพ์ุ ืช กรมวิชำกำรเกษตร จดั ทำ� โดย 0900 กลุ่มวิจยั อนุสญั ญำไซเตสด้ำนพืช ส�ำนกั คุ้มครองพันธ์ุพชื กรมวิชำกำรเกษตร ร: 0 2940 5687 คู่มอื การออกหนังสืออนญุ าตไซเตสสำ� หรับกฤษณา คณะผจู้ ดั ทำ� นางสาวสุมาลี ทองดอนแอ นางสาวดวงเดอื น ศรโี พทา นางสาวรักชณา สารภริ ม นางยอดหญงิ สอนสุภาพ ผู้จัดพิมพ์ กลุ่มวิจัยอนุสัญญาไซเตสด้านพชื ส�ำนกั คุม้ ครองพันธพ์ุ ชื กรมวิชาการเกษตร ถนนพหลโยธนิ แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรงุ เทพฯ 10900 Email: [email protected] โทรศพั ท์/โทรสาร: 0 2940 5687 พิมพ์ครั้งที่ 1 จ�ำนวน 1,000 เลม่ พิมพท์ ี่ ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำ� กัด สาขา 4 145, 147 ถ.เล่ียงเมืองนนทบุรี ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบรุ ี 11000 โทร. 0 2525 4807-9, 0 2525 4853-4 โทรสาร 0 2525 4855
ก รมวิชาการเกษตร คมู่ ือ การออกหนงั สอื อนญุ าตไซเตส ส�ำหรับกฤษณา จดั ทำ� โดย กลุ่มวจิ ยั อนสุ ญั ญาไซเตสดา้ นพืช ส�ำนกั คุม้ ครองพันธพุ์ ืช กรมวิชาการเกษตร
คู่มอื การออกหนงั สืออนุญาตไซเตสสำ� หรบั กฤษณา ค�ำน�ำ PREFACE กฤษณาเปน็ ไมต้ น้ ทม่ี ลู คา่ สงู ขน้ึ อยกู่ บั ปรมิ าณสารกฤษณาทอี่ ยใู่ นเนอ้ื ไม้ ซง่ึ เปน็ สารประเภทเรซนิ (resin) มกี ลนิ่ หอมจำ� เพาะ จากความเชอ่ื ทวี่ า่ กฤษณาเปน็ ไมม้ งคล ประเทศในกลมุ่ ตะวนั ออกกลาง รวมถงึ ประเทศทนี่ บั ถอื ศาสนาอสิ ลาม และฮนิ ดู เชน่ อนิ เดยี ปากสี ถาน จงึ นยิ มใชก้ ฤษณาในพธิ กี รรมทางศาสนา และใชจ้ ดุ ดมภายในบา้ น หรือใช้น้�ำมันทาตัวเพ่ือป้องกันแมลง เมื่อต้นกฤษณามีมูลค่าสูงท�ำให้มีการตัดต้นกฤษณาในธรรมชาติจนส่งผลให้ จ�ำนวนประชากรในธรรมชาติลดลงอย่างรวดเร็วจนเข้าสู่สถานภาพใกล้สูญพันธุ์ ดังนั้น อนุสัญญาว่าด้วยการค้า ระหว่างประเทศซ่ึงชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ก�ำลังจะสูญพันธุ์ (Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora (CITES)) หรอื อนุสัญญาไซเตส จึงบรรจุ “กฤษณาทุกชนดิ ” ไว้ในบัญชีแนบท้ายอนุสัญญาฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมการค้าระหว่างประเทศของกฤษณา ประเทศไทย ในฐานะท่ีเปน็ ประเทศภาคีสมาชิกอนสุ ัญญาไซเตส จึงกำ� หนดให้กฤษณาทกุ ชนดิ เปน็ “พชื อนุรักษ”์ ไวใ้ นพระราช บัญญัตพิ ันธุ์พืช พ.ศ. 2518 และทีแ่ ก้ไขเพม่ิ เตมิ โดยกำ� หนดใหผ้ ู้ที่ประสงค์จะนำ� เขา้ สง่ ออก หรือนำ� ผา่ นกฤษณา จะต้องขอรบั หนงั สืออนุญาตไซเตส (CITES permit) จากอธบิ ดีกรมวชิ าการเกษตรหรอื ผ้ซู ่งึ อธบิ ดีมอบหมาย และ ผ้ทู ่ีเพาะขยายพนั ธุ์หรอื ปลกู ตน้ กฤษณาเพือ่ การค้าตอ้ งมาด�ำเนนิ การขอขนึ้ ทะเบยี นแปลงเพาะกล้าหรือแปลงปลูก กฤษณากับกรมวชิ าการเกษตร ประเทศไทยมกี ารปลกู กฤษณาในหลายจงั หวดั ทว่ั ประเทศ โดยเฉพาะพน้ื ทจี่ งั หวดั ตราด จนั ทบรุ ี ระยอง ปราจนี บรุ ี นครนายก นครศรธี รรมราช ยะลา และนราธวิ าส รวมถงึ มกี ารคดิ คน้ และพฒั นาวธิ กี ารทท่ี ำ� ใหต้ น้ กฤษณา เกิดเรซิน หรือ สารกฤษณา วัตถุประสงค์ในการปลูกกฤษณาของเกษตรกรไทยเพื่อการส่งออกเป็นหลัก ส�ำนักคุ้มครองพันธุ์พืช โดยกลุ่มวิจัยอนุสัญญาไซเตสด้านพืช ในฐานะหน่วยงานที่ท�ำหน้าท่ีก�ำกับดูแลการค้าพชื ในบญั ชแี นบทา้ ยอนสุ ญั ญาไซเตส จงึ ไดจ้ ดั ทำ� คมู่ อื การออกหนงั สอื อนญุ าตไซเตสสำ� หรบั กฤษณาขนึ้ โดยม่งุ หวังให้ พนกั งานเจา้ หนา้ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การกำ� กบั ดแู ลการคา้ กฤษณา เกษตรกรผปู้ ลกู กฤษณา ผปู้ ระกอบการคา้ กฤษณาและ ผลติ ภณั ฑ์ รวมถงึ ผทู้ สี่ นใจทวั่ ไป มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั กฎระเบยี บตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การทำ� การคา้ กฤษณา ระหวา่ งประเทศ รวมถึงสามารถดำ� เนินการเก่ยี วกับการออกและขอหนงั สอื อนญุ าตไซเตส ประกอบการทำ� การค้า กฤษณาระหว่างประเทศไดอ้ ย่างถูกต้อง
คมู่ ือการออกหนงั สอื อนุญาตไซเตสส�ำหรับกฤษณา สารบัญ บทที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไป CONTENTS หน้า บทที่ 2 กฤษณากับอนุสญั ญาไซเตส 4 5 บทท่ี 3 กฎหมายภายในประเทศทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั กฤษณา 6 บทท่ี 4 การขอหนังสืออนุญาตไซเตสและหนงั สือรบั รองการสง่ ออกสำ� หรับกฤษณา 10 บทที่ 5 ข้นั ตอนการย่นื ค�ำขอหนังสอื อนุญาตไซเตสทางอเิ ล็กทรอนกิ ส ์ 15 ข้ันตอนการยนื่ ค�ำขอหนังสืออนญุ าตไซเตสส่งออกทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 16 ข้ันตอนการย่ืนค�ำขอหนังสอื อนญุ าตไซเตสนำ� เข้า นำ� ผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ 20 บทที่ 6 การขอข้ึนทะเบยี นแปลงปลูกกฤษณา 25 บทท่ี 7 อภิธานศัพทส์ ินค้าและผลติ ภณั ฑ์จากกฤษณา 28 ภาคผนวก 40 แบบค�ำขอรับหนงั สอื อนุญาตนำ� เข้า สง่ ออก นำ� ผา่ น พืชอนรุ กั ษ์หรอื ซากพืชอนรุ ักษ์ 41 ตามพระราชบัญญัตพิ ันธ์พุ ชื พ.ศ. 2518 (แบบ พ.พ. 13) แบบคำ� ขอรบั หนงั สอื รบั รองการสง่ ออกพชื ลกู ผสมของพชื ในบัญชีแนบทา้ ย 43 อนุสญั ญาวา่ ดว้ ยการคา้ ระหว่างประเทศซ่งึ ชนดิ สตั วป์ า่ และพชื ปา่ ทกี่ �ำลังจะสญู พนั ธ์ุ คำ� ขอใบรับรองสขุ อนามยั พชื ตามพระราชบัญญตั กิ ักพชื พ.ศ. 2507 45 และที่แก้ไขเพิม่ เติม (แบบ พ.ก.7) แบบคำ� ขอข้นึ ทะเบยี นแปลงปลกู พชื อนรุ ักษป์ ระเภทไมก้ ฤษณา 46 ใบส�ำคญั การขน้ึ ทะเบยี นแปลงปลูกพืชอนรุ ักษป์ ระเภทไม้กฤษณา 49 แบบคำ� ขอต่ออายใุ บส�ำคญั การขึ้นทะเบยี นแปลงปลกู พืชอนุรกั ษ์ประเภทไม้กฤษณา 50 แบบคำ� ขอใบแทนใบสำ� คัญการข้นึ ทะเบยี นแปลงปลกู พชื อนุรกั ษ์ประเภทไมก้ ฤษณา 52 แบบคำ� ขอแกไ้ ขรายการใบสำ� คญั การขน้ึ ทะเบยี น เพม่ิ ลด แปลงปลกู พชื อนรุ กั ษป์ ระเภทไมก้ ฤษณา 53 แบบค�ำขอแจ้งตดั หรอื โค่นไม้ท่ขี ึน้ ทะเบียนแปลงปลกู พชื อนุรักษป์ ระเภทไม้กฤษณา 56 ใบซือ้ ขาย/ใบรับมอบไมก้ ฤษณา 58 หนังสือยนิ ยอม 59 แบบบญั ชแี สดงจ�ำนวนต้นกฤษณาทเ่ี ปลีย่ นแปลงในรอบปีปฏทิ ิน/ 60 แบบแจง้ การเปล่ียนแปลงบญั ชีทข่ี อขน้ึ ทะเบยี น กลมุ่ วจิ ยั อนสุ ัญญาไซเตสด้านพืช สำ� นกั ค้มุ ครองพนั ธ์ุพชื กรมวชิ าการเกษตร
4 คมู่ อื การออกหนงั สอื อนญุ าตไซเตสส�ำหรับกฤษณา บทที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไป ไม้ตน้ กลมุ่ ท่ใี หส้ ารกฤษณา มี 3 สกลุ ไดแ้ ก่ สกลุ กฤษณา (Aquilaria), สกุลกฤษณาน้อย (Gyrinops) และ สกลุ Gonystylus กฤษณา มชี อ่ื เรยี กภาษาไทยหลายชอ่ื ไดแ้ ก่ ไมห้ อม ไมพ้ วงมะพรา้ ว กายกู ารู กายกู าฮู (ภาคตะวนั ออก และภาคใต้) ปอแต (ภาคเหนือ) และชื่อสามัญภาษาอังกฤษ ได้แก่ agarwood, gaharuwood, aloes wood, egle wood, oud, agarh, lignum aloes, calambac กฤษณาอย่ใู นวงศ์ Thymelaeaceae กฤษณาสกุล Aquilaria ท่ัวโลกมจี �ำนวน 22 ชนดิ (http://www.theplantlist.org. (2018)) พบกระจายพันธุ์ในประเทศ บงั คลาเทศ ภูฏาน อนิ เดีย อินโดนีเซยี มาเลเซยี พมา่ ฟิลปิ ปินส์ สปป.ลาว กัมพูชา เวยี ดนาม และไทย ส�ำหรบั ประเทศไทยเปน็ แหล่งแพร่ กระจายพันธุ์ของกฤษณา 5 ชนิด ได้แก่ Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte, Aquilaria hirta Ridl., Aquilaria malaccensis Lam., Aquilaria rugosa Kiet & Kessler และ Aquilaria subintegra Ding Hou และ กฤษณาน้อย 1 ชนดิ ไดแ้ ก่ Gyrinops vidalii P. H. Hô (เตม็ , 2551) คมู่ อื เลม่ น้ี จะกลา่ วถงึ เฉพาะกฤษณาสกลุ Aquilaria เทา่ นนั้ เนอ่ื งจากมกี ารคา้ จำ� นวนมาก กฤษณาในสกลุ Aquilaria มีลักษณะเปน็ ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงไดถ้ งึ 20 เมตร เรอื นยอดเปน็ พุม่ ทรงเจดยี ์ หรือ รปู กรวย ลำ� ตน้ ตงั้ ตรง โคนตน้ มกั มพี พู อนเมอ่ื อายมุ าก เปลอื กเรยี บ สเี ทาอมขาว เมอื่ มอี ายมุ ากจะเปน็ รอ่ งเลก็ ๆ ใบ เดย่ี ว เรียงสลับ รปู ไข่ หรอื รูปขอบขนาน ปลายใบเรยี วแหลม ใบแกผ่ ิวใบมัน ใบอ่อน ยอดออ่ น มขี นสีขาวปกคลมุ เส้นแขนง ใบเป็นแบบรา่ งแห ดอก สมบูรณเ์ พศ เกดิ ตามซอกใบหรอื ปลายยอด กลีบเลย้ี ง และกลีบดอก อยา่ งละ 5 กลีบ กลบี เลยี้ ง สีเขยี วอมเหลอื ง โคนเช่ือมติดกนั ปลายแยกเป็น 5 กลบี มขี นนุ่มสนั้ ปกคลุม เกสรเพศผู้ มจี �ำนวนเป็นสองเทา่ หรอื เท่ากับ จำ� นวนกลบี เล้ยี ง ผล รูปไขก่ ลบั เม่ือแกแ่ ลว้ แตกตามรอยตะเขบ็ ออกเปน็ 2 พู เปลือกผลแข็งคล้ายเนอ้ื ไม้ หรอื แผน่ หนัง ปกติ 1 ผล มี 2 เมล็ด กฤษณาทีน่ ยิ มปลูกเปน็ การคา้ ได้แก่ กฤษณาชนิด Aquilaria crassna, Aquilaria subintegra และ Aquilaria malaccensis การใช้ประโยชน์ ตน้ กฤษณา จะใชป้ ระโยชนจ์ ากสารกฤษณาทอ่ี ยใู่ นเนอื้ ไม้ ซงึ่ มลี กั ษณะเปน็ ยางเหนยี ว (Resin) มกี ลนิ่ เฉพาะตวั สารทที่ ำ� ใหเ้ กดิ กลน่ิ คอื Sesquiterpene alcohol มหี ลายชนดิ คอื Dihydroagarofuran, β-Agarofuran, α-Agarofan, Agarol, Agarospirol, Eudesmane, Valencane, Eromophilane, Vetispirane และสารพวกอนพุ นั ธข์ุ อง Chromome (https://www.pharmacy.mahidol.ac.th) วธิ กี ารใชป้ ระโยชน์ ไดแ้ ก่ การนำ� ชนิ้ ไมม้ าจดุ ดม หรอื นำ� ชน้ิ ไมไ้ ปสกดั ใหไ้ ด้ น้ำ� มันกฤษณา แลว้ นำ� นำ้� มันไปใชป้ ระโยชน์ในดา้ นตา่ งๆ เช่น เป็นสว่ นผสมของยาสมุนไพร ท�ำเครอ่ื งหอม และสว่ นผสม ในเครื่องสำ� อาง เป็นต้น การค้ากฤษณาระหวา่ งประเทศ การปลูกกฤษณาในประเทศไทยส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์เพ่ือการค้าระหว่างประเทศ โดยส่งออกในรูปแบบ น�้ำมันบริสุทธิ์ น�้ำมันผสม ช้ินไม้ส�ำหรับจุดดม ไม้สับ ข้ีเลื่อยที่ยังไม่ได้สกัดน้�ำมัน ข้ีเลื่อยท่ีสกัดน�้ำมันแล้ว ต้นกล้า และผลติ ภณั ฑส์ ำ� เรจ็ รปู ตา่ งๆ จากขอ้ มลู สถติ กิ ารสง่ ออกกฤษณาทกี่ ลมุ่ วจิ ยั อนสุ ญั ญาไซเตสดา้ นพชื สำ� นกั คมุ้ ครองพนั ธพ์ุ ชื กรมวชิ าการเกษตรพบวา่ ในแตล่ ะปมี กี ารสง่ ออกชน้ิ ไมก้ ฤษณา (agarwood chips) ไมน่ อ้ ยกวา่ 5,000 กก. และนำ้� มนั (oil) ประมาณ 3,000 กก. และผงขเี้ ลอ่ื ยทส่ี กดั นำ้� มนั แลว้ (exhausted sawdust) มากกวา่ 200,000 กก. ประเทศผนู้ ำ� เขา้ หลกั ไดแ้ ก่ ซาอดุ อิ าระเบยี บาหเ์ รน คเู วต กาตาร์ และสงิ คโปร์ และสง่ ออกขเี้ ลอ่ื ยกฤษณาทสี่ กดั นำ�้ มนั แลว้ เพอ่ื นำ� ไปผลติ ธปู หอม ประเทศผ้นู �ำเขา้ ไดแ้ ก่ จนี ไต้หวนั และฮอ่ งกง นอกจากนี้ ประเทศในกลุ่มสหภาพยโุ รป ได้แก่ ฝรั่งเศส และองั กฤษ ซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตน�้ำหอมมีความต้องการน�้ำมันกฤษณาคุณภาพสูงเพื่อน�ำไปผลิตหัวเชื้อน�้ำหอม เน่ืองจาก ในนำ้� มนั กฤษณามีสารส�ำคญั ท่มี คี ุณสมบัติทำ� ใหก้ ล่ินติดทนนาน
คู่มอื การออกหนังสอื อนุญาตไซเตสส�ำหรับกฤษณา 5 บทท่ี 2 กฤษณากบั อนุสัญญาไซเตส “อนุสญั ญาไซเตส” คอื อะไร อนุสัญญาไซเตส มาจากช่ือยอ่ ของ อนุสัญญาว่าดว้ ยการค้าระหวา่ งประเทศซึ่งชนดิ สัตว์ป่าและพชื ป่าท่ีก�ำลงั จะสูญพนั ธ์ุ หรือ Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora: CITES ก่อต้ังข้ึนเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2518 อนุสัญญาไซเตส เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศ มีวัตถุประสงค์เพ่ือ ให้ความค้มุ ครองสัตว์ป่าและพืชป่าท่ใี กลส้ ูญพันธุ์ไม่ให้สญู พนั ธจ์ุ ากการคา้ ระหวา่ งประเทศ โดยก�ำหนดชนดิ พืชและสัตว์ เหล่าน้ีไว้ในบัญชีแนบท้ายอนุสัญญา ฯ จ�ำนวน 3 บัญชี ตามสถานภาพความเสี่ยงต่อการใกล้สูญพันธุ์ โดยบัญชีท่ี 1 มคี วามเขม้ งวดในการควบคมุ การคา้ มากทสี่ ดุ รองลงมาไดแ้ กบ่ ญั ชที ี่ 2 และ 3 ตามลำ� ดบั และอนสุ ญั ญาฯ อาศยั ความรว่ มมอื ของประเทศภาคีสมาชิก ในการควบคุมการค้าโดยใช้ระบบการออกหนังสืออนุญาต (CITES Permit) ส�ำหรับกฤษณา ทกุ ชนดิ ถกู จดั อยใู่ นบญั ชแี นบทา้ ยที่ 2 ดงั นน้ั การนำ� เขา้ สง่ ออก และนำ� ผา่ น ตอ้ งมหี นงั สอื อนญุ าตไซเตส (CITES Permit) ไปกบั สนิ คา้ ดว้ ยทกุ ครง้ั ปจั จบุ นั อนสุ ญั ญาไซเตสมสี มาชกิ จำ� นวน 183 ประเทศ (182 ประเทศ และ 1 กลมุ่ สหภาพยโุ รป) ประเทศไทยเขา้ เปน็ สมาชกิ อนสุ ญั ญาไซเตส ตงั้ แตว่ นั ที่ 21 เมษายน 2526 เปน็ ตน้ มา เปน็ สมาชกิ ลำ� ดบั ท่ี 88 มหี นว่ ยงาน ท่ีรบั ผดิ ชอบด�ำเนินงานตามอนุสญั ญาไซเตส 3 หนว่ ยงาน ได้แก่ 1. กรมอทุ ยานแห่งชาติสตั วป์ ่า และพันธุ์พืช เปน็ หนว่ ยงานฝ่ายปฏบิ ัติการดา้ นสตั ว์ป่า 2. กรมประมง เป็นหน่วยงานฝ่ายปฏิบัติการดา้ นสัตว์น้�ำ 3. กรมวิชาการเกษตร เปน็ หน่วยงานฝ่ายปฏบิ ตั กิ ารด้านพชื ปา่ ในส่วนของกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มอบภารกิจน้ีให้กับส�ำนักคุ้มครองพันธุ์พืช โดยกลุม่ วจิ ัยอนสุ ญั ญาไซเตสด้านพชื เป็นหนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบ ในการก�ำกับดแู ล การนำ� เข้า สง่ ออก และน�ำผา่ นพืช ในบัญชีแนบท้ายอนุสัญญาไซเตส โดยการออกหนังสืออนุญาตไซเตส (CITES Permit) และการขึ้นทะเบียนสถานที่ เพาะเล้ียงหรือแปลงปลูก นอกจากนี้ ยังมอบหมายภารกิจน้ีให้กับด่านตรวจพืช ส�ำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร ท�ำหน้าทใ่ี นการตรวจสอบผ่าน กฤษณากบั อนสุ ญั ญาไซเตส ในปี พ.ศ. 2535 (1995) กฤษณาชนดิ Aquilaria malaccensis ถกู บรรจไุ วใ้ นบญั ชแี นบทา้ ยที่ 2 ของอนสุ ญั ญา ไซเตส ท�ำให้ การนำ� เข้า สง่ ออก กฤษณาชนิดน้ี ต้องขอหนงั สอื อนุญาตไซเตส (CITES permit) กำ� กบั ไปกับสินค้าทกุ ครงั้ เนอื่ งจากกฤษณาทำ� การคา้ ในรปู แบบชน้ิ ไม้ และนำ�้ มนั ทำ� ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทปี่ ระสบปญั หาในการจำ� แนกความแตกตา่ ง ระหว่างกฤษณาชนิดที่อยู่ในบัญชีกับชนิดท่ีไม่ได้อยู่ในบัญชีไซเตส ประกอบกับ มีปีญหาการลักลอบท�ำการค้ากฤษณา ทผี่ ดิ กฎหมายในหลายประเทศ เชน่ อนิ โดนเี ซยี มาเลเซยี ไทย ลาว เวยี ดนาม กมั พชู า และพมา่ เปน็ ตน้ ดงั นนั้ ในการประชมุ สมัยสามัญภาคอี นสุ ญั ญาไซเตส ครง้ั ที่ 13 ระหวา่ งวนั ที่ 2 - 14 ตลุ าคม 2547 ทป่ี ระเทศไทยเป็นเจา้ ภาพ ได้มีการบรรจุ กฤษณาทุกชนดิ (Aquilaria spp.) รวมถึงกฤษณานอ้ ยทุกชนิด (Gyrinops spp.) ไว้ในบญั ชที ่ี 2 ของอนสุ ัญญาฯ โดยมี ขอ้ ยกเวน้ ไมค่ วบคมุ การคา้ เมลด็ ละอองเกสร และตน้ กลา้ ในขวดทอี่ ยใู่ นสภาพปลอดเชอื้ ทไ่ี ดจ้ ากเพาะเมลด็ หรอื เพาะเลย้ี ง เน้ือเยื่อ (tissue culture) จึงมีผลให้กฤษณาและกฤษณาน้อยทุกชนิด อยู่ในการควบคุมของอนุสัญญาไซเตส ต้งั แต่วนั ที่ 12 มกราคม 2548 (2005) เปน็ ตน้ มา ต่อมาประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ท่ีเป็นแหล่งแพร่กระจายพันธุ์ของกฤษณาและกฤษณาน้อย เห็นว่าการควบคุมการค้ากฤษณาและผลิตภัณฑ์จากกฤษณามีความซ้�ำซ้อน ท�ำให้ข้อมูลสถิติทางการค้ากฤษณาสูงกว่า ความเปน็ จรงิ ดงั นนั้ จงึ เสนอขอแกไ้ ขกฎระเบยี บในการควบคมุ การคา้ กฤษณา ในการประชมุ สมยั สามญั ภาคอี นสุ ญั ญาไซเตส ครั้งท่ี 16 ระหว่างวันท่ี 3 - 14 มีนาคม 2556 ณ กรุงเทพมหานคร ซึ่งที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้แก้ไขกฎระเบียบ ในการควบคมุ การค้ากฤษณา เปน็ ดังน้ี กลมุ่ วิจัยอนสุ ญั ญาไซเตสดา้ นพชื สำ� นักคมุ้ ครองพันธพ์ุ ืช กรมวิชาการเกษตร
6 คู่มอื การออกหนังสืออนุญาตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา การควบคมุ การค้ากฤษณาของอนสุ ญั ญาไซเตส ควบคุมทุกส่วนของต้น และสิง่ ทไ่ี ดม้ าจากพชื ดงั กลา่ ว ยกเว้น ก) เมลด็ และละอองเกสร ข) ตน้ ออ่ นหรอื ทไ่ี ดจ้ ากการเพาะเลย้ี งเนอื้ เยอ่ื ในสภาพปลอดเชอื้ อยใู่ นอาหารแขง็ หรอื อาหารเหลว และขนสง่ ในภาชนะท่ปี ลอดเช้อื (โดยท่วั ไปมักเรียกกันว่า ไมข้ วด) ค) ผล ง) ใบ จ) ผงไม้กฤษณาทีก่ ล่ันแล้ว รวมท้งั ผงไมก้ ฤษณาทก่ี ล่นั แลว้ และนําไปขน้ึ รูปเปน็ รปู ทรงต่าง ๆ ฉ) ผลติ ภัณฑ์ส�ำเร็จรูป ท่ีบรรจภุ าชนะพร้อมจำ� หนา่ ยแบบปลกี (ไมย่ กเว้น ลูกปดั ลกู ประคำ� และสง่ิ แกะสลกั ) เพอื่ ไมใ่ หเ้ จา้ หนา้ ทขี่ องประเทศสมาชกิ อนสุ ญั ญาฯ เกดิ ความสบั สนในการควบคมุ การคา้ กฤษณา และผลติ ภณั ฑ์ ประเทศ ที่เป็นถ่ินก�ำเนิดของกฤษณา จึงร่วมกันจัดท�ำอภิธานศัพท์กฤษณา (Agarwood glossary) เพื่อใช้เป็นคู่มือประกอบ การออกหนังสืออนุญาตสำ� หรับกฤษณา และผลิตภณั ฑ์จากกฤษณา รายละเอียด หน้า 28 บทที่ 3 กฎหมายภายในประเทศทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั กฤษณา กฎหมายภายในประเทศที่เกี่ยวขอ้ งกับการควบคมุ การค้ากฤษณา มีดังน้ี 1. พระราชบญั ญัตพิ นั ธ์พุ ืช พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพม่ิ เติม 2. พระราชบญั ญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 3. พระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเติม 4. พระราชบญั ญัติกกั พชื พ.ศ. 2507 และทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เตมิ 3.1 พระราชบัญญัติพนั ธ์ุพชื พ.ศ. 2518 และทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ พระราชบญั ญตั พิ นั ธพ์ุ ชื พ.ศ. 2518 และทแี่ กไ้ ข (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2535 เปน็ กฎหมายภายในประเทศทใ่ี ชร้ องรบั การด�ำเนนิ งานตามอนสุ ญั ญาไซเตสทางด้านพชื สาระสำ� คญั ของพระราชบญั ญตั ิฯ ทใี่ ช้ด�ำเนินงานตามอนสุ ญั ญาไซเตส มีดงั น้ี (1) มาตรา 29 ทวิ ให้พืชท่ีก�ำหนดไว้ในบัญชีแนบท้ายอนุสัญญาไซเตส ซึ่งรัฐมนตรีประกาศก�ำหนดไว้ใน ราชกิจจานุเบกษา เป็นพืชอนุรักษ์ ในทางปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตรได้ประกาศก�ำหนดชนิดพืชอนุรักษ์ไว้ในประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เร่อื ง พชื อนรุ กั ษ์ โดยกฤษณาทุกชนิด (Aquilaria spp.) จัดเปน็ พืชอนรุ ักษ์บัญชที ี่ 2 (2) มาตรา 29 ตรี หา้ มมใิ ห้ผใู้ ดน�ำเข้า ส่งออก หรือนำ� ผ่านพชื อนรุ กั ษ์ และซากของพืชอนุรกั ษ์ เวน้ แตไ่ ดร้ ับ หนงั สอื อนญุ าต (CITES permit) จากอธิบดกี รมวิชาการเกษตรหรือผซู้ งึ่ อธิบดีมอบหมาย สำ� หรบั การขอหนงั สอื อนญุ าต ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามประกาศกรมวชิ าการเกษตร เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขการนำ� เขา้ สง่ ออก หรอื นำ� ผา่ นพชื อนรุ กั ษ์ และซากของพชื อนุรักษ์ตามพระราชบญั ญตั พิ นั ธุ์พชื พ.ศ. 2518 ดังนน้ั การท�ำการคา้ กฤษณาระหวา่ งประเทศจะตอ้ ง ขอหนงั สอื อนญุ าตไซเตส (หนงั สอื อนุญาตมอี ายุ 6 เดือน นับจากวนั ทอี่ อกหนงั สอื อนุญาต) (3) มาตรา 29 จัตวา กำ� หนดให้ ผู้ใดประสงคจ์ ะขยายพันธเุ์ ทียม (ปลกู เล้ียง) พชื อนุรักษเ์ พือ่ การคา้ ต้องขอ ขึน้ ทะเบียนสถานท่ีเพาะเลยี้ งพืชอนุรักษก์ บั กรมวิชาการเกษตร ดังน้ัน หากเพาะขยายพันธต์ุ น้ กลา้ กฤษณาเพ่ือการค้า หรือปลูกต้นกฤษณาเป็นแปลงเพื่อการค้า ต้องขอข้ึนทะเบียนฯ กับกรมวิชาการเกษตร ส�ำหรับการขอขึ้นทะเบียน สถานทีเ่ พาะเล้ยี ง ให้เป็นปฏบิ ตั ิตามประกาศกรมวชิ าการเกษตร 2 ฉบับ ดงั น้ี
คูม่ ือการออกหนังสอื อนญุ าตไซเตสสำ� หรับกฤษณา 7 ประกาศกรมวชิ าการเกษตร เรอื่ ง หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขการขนึ้ ทะเบยี นสถานทเ่ี พาะเลยี้ ง พชื อนรุ กั ษ์ ตามพระราชบญั ญตั พิ ันธ์ุพชื พ.ศ. 2518 และ ประกาศกรมวชิ าการเกษตร เรอื่ ง หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขการขนึ้ ทะเบยี นแปลงปลกู พชื อนรุ กั ษป์ ระเภท ไมก้ ฤษณา ตามพระราชบญั ญตั ิพนั ธพุ์ ืช พ.ศ. 2518 (4) มาตรา 61 ทวิ ผ้ใู ดฝา่ ฝืนมาตรา 29 ตรี และไม่ปฏบิ ตั ิตาม มาตรา 29 จตั วา ต้องระวางโทษจำ� คกุ ไม่เกิน 3 เดอื น หรอื ปรับไมเ่ กิน 3,000 บาท หรอื ทั้งจ�ำท้งั ปรบั สรปุ คำ� อธิบาย กฤษณา ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยพนั ธ์ุพชื กฤษณาทุกชนิด (Aquilaria spp.) เป็นพืชอนรุ กั ษ์ บัญชีที่ 2 ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรอื่ ง พชื อนรุ กั ษ์ ผทู้ ป่ี ระสงคจ์ ะนำ� เขา้ สง่ ออก หรอื นำ� ผา่ นกฤษณาจะตอ้ งขอหนงั สอื อนญุ าต พชื อนรุ กั ษ์ หรอื หนงั สอื อนุญาตไซเตส (CITES Permit) กับกรมวิชาการเกษตร กรณสี ง่ ออก กฤษณาตอ้ งได้มาจากแปลงปลูกทขี่ ึ้นทะเบยี น กับกรมวิชาการเกษตร และผู้ท่ีปลูกหรือเพาะกล้ากฤษณาเพื่อการค้า จะต้องขอข้ึนทะเบียนแปลงปลูกหรือแปลง เพาะกลา้ กบั กรมวิชาการเกษตร ส�ำหรับผ้ทู ฝ่ี ่าฝืน หรอื ไมป่ ฏิบัติตาม มบี ทลงโทษจ�ำคุกไมเ่ กิน 3 เดือน หรือปรบั ไม่เกิน 3,000 บาท หรือทั้งจ�ำทงั้ ปรับ การตรวจสอบวา่ การทำ� การค้ากฤษณาในลกั ษณะใดอยู่ในการควบคุมหรอื เป็นขอ้ ยกเวน้ ของอนสุ ญั ญาไซเตส ให้ตรวจสอบที่ ตารางคำ� อภิธานศพั ทก์ ฤษณา หน้า 28 และหลกั เกณฑก์ ารขอ ขนึ้ ทะเบียนแปลงปลกู กฤษณา รายละเอียดตาม หนา้ 25 3.2 พระราชบญั ญตั ปิ า่ ไม้ พ.ศ. 2484 พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 เป็นกฎหมายทีใ่ ชค้ วบคุม ตรวจสอบ ก�ำกับเกย่ี วกบั การท�ำไม้ และเกบ็ หา ของป่า การนำ� ไมแ้ ละของปา่ เคล่ือนที่ การควบคุมการแปรรูปไม้ (การต้งั โรงงาน) การแผ้วถางป่า การเกบ็ คา่ ภาคหลวง ไม้และของป่า ค�ำนยิ ามศัพทใ์ นพระราชบัญญตั ิป่าไม้ ทีจ่ �ำเป็นต้องร้เู พือ่ ให้เขา้ ใจกฎหมายปา่ ไมไ้ ดด้ ียิ่งขึน้ ดังน้ี “ป่า” หมายความวา่ ท่ีดนิ ท่ีไมไ่ ดม้ ีบุคคลไดม้ าตามกฎหมายท่ดี ิน “ไม”้ หมายความวา่ ไมส้ กั และไมอ้ น่ื ทกุ ชนดิ ทม่ี ลี กั ษณะเปน็ ตน้ กอ เถา รวมถงึ ไมท้ น่ี ำ� เขา้ มาจากตา่ งประเทศ ไมไ้ ผท่ กุ ชนดิ ปาลม์ หวาย ตลอดจน ราก ปมุ่ ตอ เศษ ปลาย และกงิ่ ของสงิ่ นนั้ ๆ ไมว่ า่ จะถกู ตดั ทอน เลอ่ื ย ผา่ ถาก ขดุ หรอื กระทําโดยประการอื่นใด กฤษณาทอ่ี ยใู่ นปา่ หรอื ขน้ึ อยใู่ นทดี่ นิ ทม่ี คี วามหมายวา่ เปน็ ปา่ ถอื วา่ เปน็ ของปา่ หวงหา้ ม ตามพระราชกฤษฎกี า กำ� หนดของปา่ หวงหา้ ม พ.ศ. 2530 ซงึ่ เปน็ กฎหมายรองภายใตพ้ ระราชบญั ญตั ปิ า่ ไม้ พ.ศ. 2484 ดงั นน้ั ถา้ กฤษณาทปี่ ลกู หรอื ขน้ึ อยใู่ นทด่ี นิ ทไ่ี มใ่ ชป่ า่ ซง่ึ หมายถงึ ทด่ี นิ ทไ่ี ดม้ าตามประมวลกฎหมายทดี่ นิ กไ็ มถ่ อื วา่ เปน็ ของปา่ หวงหา้ ม นอกจากนี้ กฤษณา ไม่วา่ จะขึ้นอย่ทู ่ใี ดๆ กต็ าม ไม่ถอื ว่าเป็นไม้หวงหา้ ม ประเภทของเอกสารสทิ ธถ์ิ อื ครองท่ีดิน 1. โฉนดทด่ี ิน โฉนดแผนที่ โฉนดตราจอง และตราจองท่ีตราว่า “ไดท้ ำ� ประโยชน์แลว้ ” (น.ส.4) 2. หนงั สอื รับรองการทำ� ประโยชน์ (น.ส. 3/น.ส. 3ก.) แบบหมายเลข 3 3. แบบแจ้งการครอบครองที่ดนิ (ส.ค. 1) 4. ใบจอง (น.ส. 2) หนังสืออนุญาตใหเ้ ข้าใช้ท่ดี ินชั่วคราว 5. ใบไต่สวน (น.ส. 5) หนังสือแสดงการสอบสวนเพื่อออกโฉนดทด่ี นิ 6. ใบเหยียบย่ำ� เอกสารครอบครองทีด่ ินเก่าทีใ่ หบ้ ุคคลเข้าครอบครองบุกเบิกทดี่ ิน 7. หนังสือแสดงการทำ� ประโยชนใ์ นนิคมสรา้ งตนเอง (น.ค. 3) กลุ่มวจิ ยั อนุสญั ญาไซเตสดา้ นพชื สำ� นักคมุ้ ครองพนั ธุ์พชื กรมวิชาการเกษตร
8 คูม่ อื การออกหนังสืออนญุ าตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา 8. หนังสอื แสดงการทำ� ประโยชนใ์ นเขตนคิ มสหกรณ์ (ก.ส.น. 5) 9. หนงั สอื อนญุ าตใหเ้ ขา้ ทำ� ประโยชน์ และอยอู่ าศยั ในเขตปรบั ปรงุ ปา่ สงวนแหง่ ชาติ (แบบ ส.ท.ก. 1ก, ส.ท.ก. 2ก) 10. หนงั สอื อนุญาตใหเ้ ข้าทำ� ประโยชน์ในเขตปฏิรูปท่ีดนิ เพอื่ เกษตรกรรม (ส.ป.ก. 4-01) 11. ภ.บ.ท. 5, 6 ใบเสร็จเสยี ภาษีบำ� รุงท้องที่ เป็นหลักฐานแสดงว่าผมู้ ชี ือ่ ในใบเสร็จเปน็ ผ้เู สยี ภาษบี ำ� รงุ ท้องที่ ไม่ใชส่ ทิ ธิ์การถอื ครองที่ดนิ หมายเหตุ ประเภทของเอกสารสทิ ธิถ์ ือครองที่ดนิ ข้อ 7 – 11 ยงั ถอื ว่าเปน็ “ป่า” ตามกฎหมายว่าดว้ ยป่าไม้ แนวทางในการปฏิบัตกิ รณที ี่ตอ้ งการตัดฟันไม้กฤษณาและนำ� ไมเ้ คลื่อนท่ี ตน้ กฤษณาทป่ี ลกู ในทดี่ นิ กรรมสทิ ธห์ิ รอื สทิ ธคิ รอบครองตามประมวลกฎหมายทด่ี นิ ในขอ้ 1 - 6 การกระทำ� ใดๆ กบั ต้นกฤษณานัน้ ไม่ตอ้ งขออนญุ าตตอ่ เจา้ หนา้ ท่ี สว่ นต้นกฤษณาท่ปี ลกู ในทดี่ นิ ตามเอกสารสทิ ธิ์ถอื ครองทดี่ นิ ในขอ้ 7 - 10 การตดั โค่นตน้ ตอ้ งขออนุญาตเจา้ หนา้ ที่ และถ้าเคล่ือนยา้ ยต้องมใี บเบิกทางและเสียคา่ ภาคหลวง ในทางปฏิบัติเกษตรกรหลายรายที่ปลูกกฤษณาในท่ีดินเอกสารสิทธ์ิตามข้อ 1 - 6 ประสบปัญหาในการ น�ำไม้เคล่ือนท่ี เน่ืองจากไม่มีเอกสารหลักฐานแสดงที่มาของไม้ต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี ดังน้ัน เพ่ืออ�ำนวยความสะดวก ให้แก่เกษตรกร/ผู้ประกอบการ ทางภาคราชการโดยกระทรวงมหาดไทยร่วมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดลอ้ มจงึ ออกเปน็ หนงั สอื รบั รองให้ โดยตอ้ งผา่ นการตรวจสอบจากคณะกรรมการทเ่ี ปน็ ตวั แทนหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ในพน้ื ท่ี และสำ� เนาโฉนดทดี่ นิ ตอ้ งไดร้ บั การรบั รองจากกรมทด่ี นิ กอ่ น หนงั สอื รบั รองนจ้ี ะขอหรอื ไมก่ ไ็ ด้ ไมเ่ ปน็ การบงั คบั ในกรณีท่ีมกี ารเคลือ่ นย้ายไม้ทม่ี าจากทด่ี นิ ตามขอ้ 1 – 6 เจา้ หน้าทไี่ ม่สามารถเก็บค่าภาคหลวงหรอื ออกใบเบกิ ทางใหไ้ ด้ เนอื่ งจากไมม่ อี ำ� นาจทางกฎหมายรองรบั 3.3 พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ ก้ไขเพมิ่ เตมิ พระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 ในมาตรา 5 กำ� หนดค�ำนยิ ามของค�ำวา่ “โรงงาน” ต้องมีองค์ประกอบ ดังนี้ (ถา้ ขาดองค์ประกอบอย่างใดอยา่ งหน่ึงไมถ่ ือว่าเปน็ โรงงาน) 1) อาคารโรงงาน สถานที่ ยานพาหนะ 2) เครอ่ื งจักร 5 แรงม้า หรอื เทียบเท่าคนงาน 7 คน ขึน้ ไป โดยใชเ้ คร่อื งจักรหรอื ไมก่ ็ตาม (จ�ำนวนคนงาน ไมร่ วมฝา่ ยธรุ การ) 3) มีวัตถุประสงค์เพ่ือ ท�ำ ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบ�ำรุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ล�ำเลียง เกบ็ รักษา หรอื ทำ� ลายสิง่ ใดๆ ประเภทและชนดิ ของโรงงาน ไดก้ ำ� หนดไวใ้ นกฎกระทรวงอตุ สาหกรรม ซงึ่ โรงงานสกดั นำ�้ มนั กฤษณาทกุ ขนาด เป็นโรงงานจ�ำพวกที่ 3 ท่กี ารต้งั โรงงานตอ้ งได้รับอนุญาตก่อนจงึ จะดำ� เนนิ กจิ การได้ นอกจากนี้ เพ่ือเป็นการส่งเสริมเกษตรกรผู้ปลูกป่าไม้กฤษณา และเพ่ือให้โรงงานซ่ึงประกอบกิจการ เกย่ี วกบั การสกดั นำ�้ มนั จากกฤษณาสามารถใชแ้ หลง่ วตั ถดุ บิ ทกี่ ำ� เนดิ ภายในประเทศไดโ้ ดยชอบดว้ ยกฎหมาย กรมโรงงาน อุตสาหกรรม จึงได้ยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง ก�ำหนดท้องที่ห้ามต้ังหรือขยายโรงงานสกัดน�้ำมัน จากชน้ิ ไมก้ ฤษณาและใหโ้ รงงานซง่ึ ประกอบกจิ การเกย่ี วกบั ชนิ้ ไมก้ ฤษณาใชว้ ตั ถดุ บิ จากแหลง่ ทก่ี ำ� หนด พ.ศ. 2545 และ ไดอ้ อกประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เรอื่ ง การใชไ้ ม้กฤษณาเป็นวัตถุดบิ ในโรงงานสกดั น�ำ้ มนั พ.ศ. 2552 โดยก�ำหนด ใหโ้ รงงานสกัดน�ำ้ มนั จากไม้กฤษณาตามประเภทหรือชนดิ ของโรงงานท่กี ำ� หนดในบญั ชีแนบท้ายกระทรวง (พ.ศ. 2535) ต้องใช้ไม้กฤษณาเป็นวัตถดุ บิ จากแหล่งก�ำเนดิ ดงั ตอ่ ไปนี้
คมู่ ือการออกหนงั สืออนุญาตไซเตสส�ำหรับกฤษณา 9 1. ไม้กฤษณาทีน่ �ำเข้าจากตา่ งประเทศ ตอ้ งมีหลกั ฐานการไดม้ าโดยชอบด้วยกฎหมาย ดังนี้ 1.1 Certificate of Origin (C/O) ทอ่ี อกโดยประเทศผ้สู ่งออก 1.2 หนังสืออนญุ าตน�ำเขา้ พืชอนุรักษ์ (CITES import permit) 1.3 หลักฐานแสดงการนำ� เข้า เช่น Invoice, Bill of Lading, ใบเสรจ็ รับเงินคา่ ภาษนี ำ� เขา้ 1.4 ใบเบกิ ทางน�ำไมห้ รอื ของปา่ เคลือ่ นทต่ี ามกฎหมายวา่ ดว้ ยป่าไม้ 2. ไมก้ ฤษณาทม่ี แี หลง่ กำ� เนดิ ในประเทศ ตอ้ งเปน็ ไมก้ ฤษณาทไ่ี ดม้ าจากทด่ี นิ กรรมสทิ ธิ์ หรอื สทิ ธคิ รอบครองตามประมวล กฎหมายทด่ี นิ หรอื มหี ลกั ฐานทแี่ สดงวา่ ไดร้ บั อนญุ าตใหเ้ ขา้ ทำ� ประโยชนใ์ นทดี่ นิ ของรฐั หรอื หลกั ฐานกำ� กบั การเคลอ่ื นที่ ที่ออกโดยหนว่ ยงานราชการ ในกรณีที่ สกัดน�้ำมันกฤษณาเพ่ือส่งออกไปต่างประเทศ หากใช้วัตถุดิบไม้กฤษณาในประเทศ ไม้กฤษณานั้น ต้องได้มาจากแปลงปลูกทขี่ น้ึ ทะเบียนกับกรมวชิ าการเกษตร ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยพนั ธพ์ุ ชื 3.4 พระราชบัญญัตกิ ักพชื พ.ศ. 2507 และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติม พระราชบญั ญตั กิ กั พชื พ.ศ. 2507 ประกาศใชเ้ พอ่ื กำ� หนดมาตรการในการปอ้ งกนั และควบคมุ แมลงศตั รพู ชื ไม่ ให้เขา้ มาในประเทศ และเพ่อื ปอ้ งกนั แมลงศัตรพู ืชไมใ่ หร้ ะบาดออกไปนอกประเทศ ตามขอ้ ตกลงของอนสุ ญั ญาระหวา่ ง ประเทศที่ประเทศไทยเป็นสมาชกิ ซง่ึ การดำ� เนนิ การขออนญุ าตนำ� เข้า สง่ ออกกฤษณาตาม พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 ให้ด�ำเนินการ ดงั นี้ กรณีน�ำเข้ากฤษณา ต้องมีใบรับรองสุขอนามัยพืช (Phytosanitary certificate) ก�ำกับมาพร้อมกับสินค้า ดงั นนั้ การนำ� เขา้ ชน้ิ ไม้ ผงขเ้ี ลอื่ ย และตน้ กลา้ กฤษณา นอกจาก ตอ้ งมหี นงั สอื อนญุ าตไซเตสสง่ ออก (CITES export permit) จากประเทศต้นทางแล้ว ยังต้องมีใบรับรองสุขอนามัยพืชอีก 1 ฉบับ และให้แจ้งน�ำเข้าต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี ณ ด่านตรวจพชื ทน่ี �ำสนิ คา้ เขา้ กรณีส่งออกกฤษณา หากบุคคลใดประสงค์จะขอใบรับรองสุขอนามัยพืช (Phytosanitary certificate) เพื่อแสดงว่าสินค้าท่ีส่งออกนั้นปลอดจากศัตรูพืช พนักงานเจ้าหน้าท่ีจะออกใบรับรองสุขอนามัยพืชให้ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขท่ีก�ำหนดไว้ในกฎกระทรวง ดังน้นั การสง่ ออกกฤษณาท่มี ลี ักษณะเป็น ช้นิ ไม้ ผงขเ้ี ลื่อย และตน้ กลา้ กฤษณา ต้องมีหนังสืออนุญาตไซเตสส่งออก (CITES export permit) และใบรับรองสุขอนามัยพืชอีกฉบับ ท้ังนี้ การขอใบรับรองสุขอนามัยพืชประกอบการขออนุญาตส่งออกพืชและผลิตภัณฑ์จากพืชมิได้เป็นข้อบังคับหากประเทศ ผนู้ ำ� เขา้ ไม่ขอรบั ใบรับรองสุขอนามยั พืช ดงั นนั้ ผู้สง่ ออกควรตรวจสอบกฎระเบียบการน�ำเข้าของประเทศผรู้ บั ปลายทาง ให้ครบถ้วนเพอ่ื ทีจ่ ะไม่เกิดปัญหาในภายหลัง สรุปการนำ� เขา้ ส่งออกตามกฎหมายกักพืช 1. การน�ำเข้ากฤษณา และผลติ ภัณฑ์จากกฤษณาทยี่ งั จำ� แนกได้ว่าเป็นพืชหรอื สว่ นของพืช เชน่ ชิ้นไม้ รปู แกะ สลกั จากไมก้ ฤษณา จะตอ้ งขอใบรบั รองสขุ อนามยั พชื จากประเทศตน้ ทางหรอื ประเทศผสู้ ง่ ออก เพอื่ แจง้ นำ� เขา้ ตามแบบ คำ� ขอ พ.ก. 5 ณ ดา่ นตรวจพืช กรณีน�ำเขา้ ต้นกลา้ กฤษณามาเพ่อื ปลูก ตอ้ งมีหนงั สือรับรองว่าตน้ กฤษณานัน้ ไมไ่ ดม้ าจาก การดดั แปรพันธกุ รรม หรอื Non-GMOs อกี ฉบบั หน่งึ 2. การส่งออกกฤษณา และผลิตภัณฑ์จากกฤษณาที่ยังจ�ำแนกได้ว่าเป็นพืชหรือส่วนของพืช เช่น ชิ้นไม้ รปู แกะสลกั จากไมก้ ฤษณา จะตอ้ งขอใบรบั รองสขุ อนามยั พชื จากประเทศไทย รายละเอยี ดตามแบบคำ� ขอ พ.ก. 7 หนา้ 45 ท้งั น้ี หากประเทศผู้รับปลายทางไมป่ ระสงค์ขอรบั ใบรบั รองสุขอนามัยพชื ก็ไม่เปน็ การบังคับ กลุ่มวจิ ยั อนุสญั ญาไซเตสด้านพืช สำ� นกั คุ้มครองพันธ์ุพชื กรมวชิ าการเกษตร
10 ค่มู อื การออกหนงั สอื อนญุ าตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา บทที่ 4 การขอหนงั สอื อนญุ าตไซเตสและหนงั สอื รบั รอง การสง่ ออกสำ� หรบั กฤษณา 4.1 ประเภทหนงั สอื อนญุ าต (CITES Permits) หนงั สืออนุญาตไซเตสมี 3 ประเภท และ 1 ประเภท หนงั สือรบั รอง ดังน้ี 1. หนงั สอื อนญุ าตสง่ ออก (CITES export permit) ใชป้ ระกอบการขออนญุ าตสง่ ออกกฤษณาไปตา่ งประเทศ 2. หนงั สอื อนญุ าตนำ� เขา้ (CITES import permit) ใชป้ ระกอบการขออนญุ าตนำ� เขา้ กฤษณาจากตา่ งประเทศ 3. หนงั สอื อนญุ าตนำ� ผา่ น (CITES re-export permit) ใชป้ ระกอบการขออนญุ าตสง่ ออกกฤษณาทก่ี อ่ นหนา้ น้ี ไดน้ ำ� เข้ามาจากต่างประเทศ 4. หนังสือรับรองอ่ืน ๆ (CITES other certificate) ใช้ประกอบการขออนุญาตส่งออกกฤษณาลักษณะ ท่ีไม่อยู่ในการควบคุมของอนุสัญญาไซเตส แต่ประเทศผู้รับปลายทางยังต้องการหนังสืออนุญาตฯ เช่น ใบ ผล เมล็ด ขเ้ี ลอ่ื ยกฤษณาทีส่ กัดน้ำ� มนั แล้ว หรอื ผลติ ภัณฑ์สำ� เรจ็ รูปทีม่ สี ารสกัดกฤษณาเปน็ สว่ นผสม เปน็ ตน้ 4.2 สถานทย่ี น่ื แบบคำ� ขอและขอรบั หนงั สอื อนุญาต กรมวชิ าการเกษตร ไดพ้ ฒั นาระบบงานออกหนงั สอื อนญุ าตไซเตส เปน็ แบบกง่ึ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ทผ่ี ยู้ นื่ คำ� ขอตอ้ ง ยน่ื คำ� ขอผา่ นระบบออนไลน์ โดยพมิ พแ์ บบคำ� ขอจากระบบพรอ้ มนำ� พชื มาใหเ้ จา้ หนา้ ทตี่ รวจสอบ และรบั หนงั สอื อนญุ าต ที่ส�ำนักงาน ผู้ที่เข้าใช้งานระบบคร้ังแรกให้ติดต่อกลุ่มวิจัยอนุสัญญาไซเตสด้านพืช หมายเลขโทรศัพท์ 02-940-5687 เพอื่ ขอรหัสผูใ้ ชง้ านระบบออกหนงั สอื อนุญาตไซเตสแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ วธิ กี ารยน่ื ค�ำขอรายละเอยี ดหน้า 15 กรมวิชาการเกษตร ก�ำหนดสถานทย่ี น่ื คำ� ขอและออกหนังสอื อนุญาตน�ำเขา้ ส่งออก หรอื น�ำผา่ นพชื อนุรักษ์ และซากพชื อนรุ ักษ์ มี 6 แห่ง ดังนี้ 1. กลุ่มวิจัยอนุสัญญาไซเตสดา้ นพืช สำ� นกั คุม้ ครองพันธพ์ุ ชื บางเขน กรงุ เทพฯ โทร. 02-9405687, 02-5790919 2. ดา่ นตรวจพชื ท่าอากาศยานภูเก็ต อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั ภเู ก็ต โทร. 076-327288 3. ดา่ นตรวจพชื ทา่ อากาศยานหาดใหญ่ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั สงขลา โทร. 074-271287 4. ด่านตรวจพชื ท่าอากาศยานเชียงใหม่ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั เชียงใหม่ โทร. 053-277182 5. ด่านตรวจพืชท่าเรอื เชียงแสน อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย โทร. 053-650259-60 6. ดา่ นตรวจพืชทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ขิ าเขา้ จังหวดั สมุทรปราการ (เฉพาะแจง้ น�ำเขา้ ) โทร. 02-1340072 4.3 ขน้ั ตอนการขออนญุ าต 4.3.1 การขออนญุ าตนำ� เข้า แบ่งเป็น 2 กรณี กรณีที่ 1 ขอหนังสืออนญุ าตนำ� เขา้ ล่วงหนา้ ผนู้ ำ� เขา้ มคี วามประสงคจ์ ะขอหนงั สอื อนญุ าตไซเตสนำ� เขา้ ไวเ้ ปน็ การลว่ งหนา้ ในกรณที ต่ี อ้ งการสง่ สำ� เนาหนงั สอื อนุญาตไปให้ลูกค้าหรือผู้ส่งออกใช้ประกอบการขอหนังสืออนุญาตส่งออก หรือเพื่อความสะดวกในการแจ้งน�ำเข้า ณ ด่านตรวจพืชท่ีน�ำสินค้าเข้า ให้ย่ืนแบบค�ำขอหนังสืออนุญาตน�ำเข้าตามแบบ พ.พ. 13 พร้อมเอกสารประกอบ ได้ที่สถานที่หรือด่านตรวจพืชตามที่ก�ำหนดดังรายช่ือข้างต้น เจ้าหน้าท่ีจะออกหนังสืออนุญาตน�ำเข้าล่วงหน้าให้ โดยลงนามเฉพาะชอ่ ง 13 ในหนังสืออนญุ าต
ค่มู ือการออกหนังสืออนญุ าตไซเตสสำ� หรับกฤษณา 11 ณ วนั ทส่ี นิ คา้ ถงึ ประเทศไทย ใหน้ ำ� พชื อนรุ กั ษพ์ รอ้ มกบั หนงั สอื อนญุ าตไซเตสสง่ ออก (CITES export permit) และหนงั สอื อนญุ าตไซเตสนำ� เข้า (CITES import permit) ของประเทศไทย ทีข่ อไวล้ ่วงหนา้ มาแจง้ นำ� เข้า ณ ด่านตรวจ พชื ทนี่ ำ� สนิ คา้ เขา้ เมอื่ เจา้ หนา้ ทต่ี รวจสนิ คา้ แลว้ พบวา่ ถกู ตอ้ งครบถว้ นตามเอกสารสง่ ออก เจา้ หนา้ ทดี่ า่ นตรวจพชื จะระบุ จำ� นวนหรอื ปรมิ าณสนิ คา้ ทน่ี ำ� เขา้ จรงิ และลงนามในชอ่ ง 14 ของหนงั สอื อนญุ าต จงึ จะถอื วา่ หนงั สอื อนญุ าตนำ� เขา้ สมบรู ณ์ กรณีท่ี 2 ขอหนงั สืออนญุ าตน�ำเข้า ณ วนั ทีส่ นิ คา้ ถงึ ประเทศไทย ใหย้ น่ื แบบคำ� ขอหนงั สอื อนญุ าตนำ� เขา้ ตามแบบ พ.พ. 13 ณ สถานทหี่ รอื ดา่ นตรวจพชื ทอ่ี ธบิ ดปี ระกาศกำ� หนด ดังรายชือ่ ข้างต้น พร้อมกับแนบหนังสอื อนุญาตไซเตส (CITES export permit) ของประเทศผู้ส่งออก และน�ำสินคา้ มา ใหเ้ จา้ หนา้ ทตี่ รวจสอบ เมอื่ เจา้ หนา้ ทต่ี รวจสนิ คา้ แลว้ ถกู ตอ้ งครบถว้ นตามเอกสาร จงึ จะออกหนงั สอื อนญุ าตไซเตสนำ� เขา้ ให้ โดยลงนามในช่อง 13 และ 14 ของหนงั สืออนญุ าต สรปุ ขั้นตอนการขอน�ำเขา้ ข้ันตอน ขอหนงั สืออนญุ าตน�ำเข้าลว่ งหนา้ ขอหนังสอื อนญุ าตนำ� เขา้ (ขออนญุ าตก่อนสินค้าเขา้ ) (ขออนญุ าต ณ วนั ทส่ี นิ คา้ เข้า) 1. สถานทย่ี นื่ แบบคำ� ขอ สถานท่หี รอื ดา่ นตรวจพืชทอ่ี ธิบดปี ระกาศก�ำหนด สถานทห่ี รอื ดา่ นตรวจพืชท่ี อธบิ ดปี ระกาศกำ� หนด 2. เอกสารประกอบคำ� ขอ 1. แบบ พ.พ. 13 1. แบบ พ.พ. 13 2. ส�ำเนา CITES export permit ของประเทศผู้สง่ ออก 2. CITES export permit ของ ประเทศผสู้ ่งออก (ฉบับจรงิ ) 3. การตรวจสอบ 1. แบบคำ� ขอ 1. แบบค�ำขอ 2. เอกสารประกอบค�ำขอ 2. เอกสารประกอบค�ำขอ 3. น�ำพชื หรือสนิ คา้ ท่ีนำ� เขา้ มา ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ตี รวจ 4. การออกหนงั สอื 1. เจ้าหน้าที่จะออกหนังสืออนุญาตน�ำเข้า ท่ลี งนาม 1. เจา้ หนา้ ทจ่ี ะออกหนงั สอื อนญุ าต อนุญาต เฉพาะชอ่ ง 13 ของหนังสืออนญุ าต นำ� เขา้ ที่ลงนามในช่อง 13 และ 14 ของหนังสืออนญุ าต 5. สถานะการนำ� เขา้ พร้อมน�ำเข้า (หนงั สอื อนุญาตมอี ายุ 6 เดอื น นับจากวนั ท่ี แจ้งนำ� เขา้ เสรจ็ สมบรู ณ์ ออกหนงั สอื อนญุ าต) 6. กรณีขอหนังสอื ณ วนั ที่สนิ ค้ามาถึง - อนญุ าตล่วงหนา้ 1. ต้องแจง้ น�ำเขา้ ณ ดา่ นที่นำ� สนิ คา้ เข้า พรอ้ มน�ำสนิ คา้ ไว้แลว้ มาให้เจา้ หนา้ ท่ีตรวจสอบ 2. แนบเอกสาร ดงั นี้ - CITES export permit (ฉบบั จรงิ ) ของประเทศผสู้ ง่ ออก - CITES import permit ของประเทศไทย ทข่ี อไวล้ ว่ งหนา้ 7. การตรวจสอบ - เจา้ หนา้ ทต่ี รวจสนิ คา้ หากตรงตามหนงั สอื อนญุ าตสง่ ออก - จากประเทศตน้ ทาง เจา้ หนา้ ทจี่ ะลงนามในชอ่ ง 14 ของ หนงั สอื อนญุ าตนำ� เขา้ จงึ จะถอื วา่ การนำ� เขา้ เสรจ็ สมบรู ณ์ 8. ค่าธรรมเนียม 100 บาท/ฉบบั 100 บาท/ฉบับ กลุ่มวจิ ัยอนุสญั ญาไซเตสดา้ นพืช สำ� นกั คมุ้ ครองพันธพุ์ ืช กรมวชิ าการเกษตร
12 คูม่ ือการออกหนังสอื อนุญาตไซเตสส�ำหรับกฤษณา 4.3.2 การขออนุญาตสง่ ออก แบ่งเปน็ 2 กรณี กรณที ี่ 1 ขออนญุ าตส่งออกลว่ งหน้า หมายความวา่ ผสู้ ง่ ออกมคี วามประสงคจ์ ะขอหนงั สอื อนญุ าตไซเตสสง่ ออกไวเ้ ปน็ การลว่ งหนา้ ในกรณที ต่ี อ้ งการ ส่งส�ำเนาหนังสืออนุญาตไปให้ลูกค้าหรือผู้น�ำเข้าใช้ประกอบการขออนุญาตน�ำเข้าล่วงหน้า ให้ย่ืนแบบค�ำขอหนังสือ อนุญาตฯ (แบบ พ.พ. 13) พร้อมหลักฐานแสดงแหล่งท่ีมาของกฤษณา ณ สถานท่ีหรือด่านตรวจพืชท่ีอธิบดีประกาศ กำ� หนด เมอ่ื เจา้ หนา้ ทตี่ รวจเอกสารแลว้ ครบถว้ นและถกู ตอ้ งเจา้ หนา้ ทจ่ี ะออกหนงั สอื อนญุ าตสง่ ออกลว่ งหนา้ ให้ โดยลง นามเฉพาะชอ่ ง 13 ของหนังสืออนญุ าต ณ วนั ที่จะสง่ ออก ให้น�ำหนงั สืออนุญาตไซเตสสง่ ออก (CITES export permit) ท่ีขอไว้ลว่ งหน้า พร้อมกบั พชื อนรุ กั ษม์ าใหเ้ จา้ หนา้ ทต่ี รวจ เมอ่ื เจา้ หนา้ ทต่ี รวจสนิ คา้ แลว้ พบวา่ ถกู ตอ้ งครบถว้ นตามทแี่ จง้ เจา้ หนา้ ทจ่ี ะระบจุ ำ� นวนหรอื ปริมาณสินคา้ ทีส่ ่งออกจรงิ และลงนามในช่อง 14 ของหนังสืออนญุ าตไซเตส กรณีท่ี 2 ขออนญุ าตสง่ ออก ใหย้ น่ื แบบคำ� ขอหนงั สอื อนญุ าตฯ (แบบ พ.พ. 13) พรอ้ มหลกั ฐานแสดงแหลง่ ทม่ี าของกฤษณา ณ สถานทห่ี รอื ดา่ นตรวจพชื ทอ่ี ธบิ ดปี ระกาศกำ� หนด และนำ� กฤษณามาใหเ้ จา้ หนา้ ทตี่ รวจ เมอ่ื เจา้ หนา้ ทต่ี รวจสนิ คา้ แลว้ ถกู ตอ้ งครบถว้ น ตามทแ่ี จ้ง จึงออกหนังสืออนุญาตไซเตสส่งออกให้ โดยลงนามในชอ่ ง 13 และ 14 ของหนังสอื อนญุ าต สรุปข้นั ตอนการขออนญุ าตส่งออก ข้ันตอน ขอหนงั สอื อนุญาตส่งออกลว่ งหน้า ขอหนังสืออนุญาตส่งออก (ขออนุญาตกอ่ นส่งสนิ คา้ ) 1. สถานท่ียนื่ แบบคำ� ขอ สถานท่ีหรือดา่ นตรวจพชื ทอี่ ธิบดี สถานทห่ี รอื ดา่ นตรวจพืชทอ่ี ธิบดี ประกาศกำ� หนด ประกาศก�ำหนด 2. เอกสารประกอบค�ำขอ 1. แบบ พ.พ. 13 1. แบบ พ.พ. 13 2. เอกสารแสดงแหล่งท่ีมาของกฤษณา 2. เอกสารแสดงแหล่งที่มาของกฤษณา เชน่ ใบซ้ือขายจากแปลงทีข่ ้ึนทะเบยี น เชน่ ใบซ้ือขายจากแปลงทขี่ ้ึนทะเบียน 3. การตรวจสอบ เจ้าหนา้ ทตี่ รวจสอบ เจา้ หน้าทีต่ รวจสอบ 1. แบบคำ� ขอ 1. แบบคำ� ขอ 2. เอกสารประกอบ 2. เอกสารประกอบค�ำขอ 3. ตรวจสินคา้ ท่ีจะสง่ ออกท้ังหมด 4. การออกหนังสอื อนุญาต เจ้าหน้าทจี่ ะออกหนังสืออนุญาตส่งออก ท่ี เจ้าหนา้ ทจี่ ะออกหนังสอื อนญุ าตสง่ ออก ลงนามเฉพาะชอ่ ง 13 ของหนงั สอื อนุญาต ท่ลี งนามในช่อง 13 และ 14 ของหนงั สอื อนุญาต 5. สถานะการส่งออก พรอ้ มส่งออก หนงั สืออนญุ าตสง่ ออกเสรจ็ สมบรู ณ์ (หนังสอื อนญุ าตมอี ายุ 6 เดอื น นบั จากวันท่ี (ตอ้ งดำ� เนินการตามกฎหมายอื่น ออกหนงั สืออนญุ าต) ทีเ่ ก่ียวข้องตอ่ ไป) 6. กรณขี อหนังสอื อนญุ าต ณ วนั ที่จะส่งออก ลว่ งหน้าไว้แลว้ 1. นำ� สนิ คา้ ทงั้ หมดทจี่ ะส่งออกมาให้ เจา้ หนา้ ที่ตรวจ พร้อมกับ - 2. CITES export permit ที่ขอไวล้ ว่ งหนา้
ค่มู ือการออกหนังสืออนญุ าตไซเตสสำ� หรบั กฤษณา 13 ขนั้ ตอน ขอหนงั สอื อนญุ าตสง่ ออกลว่ งหน้า ขอหนังสืออนุญาตสง่ ออก 7. การตรวจสอบ (ขออนญุ าตก่อนสง่ สนิ คา้ ) - 8. คา่ ธรรมเนียม - เจ้าหนา้ ที่ตรวจสินค้า หากตรงตามท่ีแจ้ง 100 บาท/ฉบับ จะลงนามในชอ่ ง 14 ของหนังสืออนุญาต จงึ จะถือว่าหนังสืออนญุ าตสง่ ออกเสรจ็ สมบรู ณ์ และตอ้ งดำ� เนินการตามกฎหมายอื่นที่ เก่ียวขอ้ งต่อไป 100 บาท/ฉบับ 4.3.3 การขออนญุ าตนำ� ผา่ น การขออนุญาตน�ำผ่าน หมายถึง ผู้ส่งออกต้องการที่จะส่งกฤษณาที่ได้น�ำเข้ามาจากประเทศหน่ึง แล้วส่งต่อ ไปยงั อีกประเทศหนึ่ง เชน่ ขอสง่ ออกน้ำ� มันกฤษณาท่นี ำ� เข้ามาจาก สปป.ลาว ไปประเทศคูเวต ในกรณีนี้ ผ้สู ง่ ออกต้อง ขอหนังสืออนุญาตไซเตสนำ� ผา่ น (CITES re-export permit) โดยยืน่ แบบคำ� ขอหนงั สอื อนุญาตน�ำผา่ น (แบบ พ.พ. 13) พรอ้ มหลักฐานแสดงการน�ำเข้ามาอย่างถูกตอ้ งตามกฎหมาย ไดแ้ ก่ CITES import permit ของประเทศไทย โดยยื่น แบบค�ำขอ ณ สถานทหี่ รือด่านตรวจพชื ทอ่ี ธบิ ดปี ระกาศกำ� หนด พร้อมนำ� สินคา้ หรอื กฤษณามาให้เจ้าหน้าทต่ี รวจสอบ เมอื่ เจ้าหนา้ ที่ตรวจสนิ คา้ แล้วถกู ต้องครบถ้วนตามทีแ่ จง้ จึงออกหนังสอื อนุญาตไซเตสนำ� ผ่านให้ โดยลงนามในชอ่ ง 13 และ 14 ของหนงั สอื อนญุ าต ท้ังน้ี ขั้นตอนการขอหนังสืออนุญาตน�ำผ่านให้ด�ำเนินการเช่นเดียวกับการขอหนังสืออนุญาตส่งออก โดยตอ้ งแนบสำ� เนาหนงั สอื อนญุ าตไซเตสจากประเทศทส่ี ง่ ออกครงั้ แรก และหนงั สอื อนญุ าตไซเตสนำ� เขา้ ของประเทศไทย เพิ่มเติม เพื่อแสดงว่าได้มกี ารน�ำเขา้ มาอยา่ งถกู ต้อง 4.3.4 การขอหนงั สอื รับรองการสง่ ออกส�ำหรบั กฤษณา การออกหนังสือรับรองการส่งออกกฤษณา (CITES Other certificate) เปน็ การอำ� นวยความสะดวกในการ ท�ำการค้ากฤษณา ลักษณะที่ไม่อยู่ในการควบคุมของอนุสัญญาฯ แต่ประเทศผู้รับปลายทางต้องการหนังสืออนุญาต ไซเตส ผู้ท่ีประสงค์จะขอหนังสือรับรองส�ำหรับการส่งออกกฤษณา ให้ยื่นแบบค�ำขอหนังสือรับรองการส่งออกฯ ที่พิมพ์ออกจากระบบฯ พร้อมลงลายมือชื่อ ยื่นต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี ณ สถานท่ีและด่านตรวจพืชที่อธิบดีก�ำหนด พร้อมทง้ั นำ� สนิ คา้ มาให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบ เมอื่ เจ้าหน้าที่ตรวจสินคา้ แลว้ ถกู ตอ้ งครบถ้วนตามทีแ่ จง้ จงึ จะออกหนงั สือ รบั รองการสง่ ออกให้ โดยลงนามในชอ่ ง 13 และ 14 ของหนงั สือรบั รอง ค�ำอธิบายเพิม่ เติม 1. หากสินค้าที่จะส่งออกมีปริมาณมากไม่สามารถน�ำมาให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้ท้ังหมด ณ สถานท่ีขอรับ หนังสืออนุญาต แนะน�ำให้ขอหนังสืออนุญาตไซเตสไว้ล่วงหน้า และนัดเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจนอกสถานท่ี ทั้งน้ี ในวนั ทีเ่ จ้าหน้าทีต่ รวจสอบ สนิ คา้ ทัง้ หมดต้องบรรจุในหบี ห่อพรอ้ มส่งออก 2. เม่ือได้รับหนังสืออนุญาตไซเตสส่งออก ท่ีครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว ผู้ขอหนังสืออนุญาตจะต้องด�ำเนินการ ตามกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย เช่น กรณีส่งออกชิ้นไม้กฤษณา นอกจากขอหนังสืออนุญาตไซเตสส่งออก (CITES export permit) จะตอ้ งขอใบรับรองสุขอนามัยพชื (Phytosanitary Certificate) อกี 1 ฉบับ กลุ่มวิจยั อนสุ ัญญาไซเตสดา้ นพืช สำ� นกั ค้มุ ครองพนั ธุ์พืช กรมวชิ าการเกษตร
14 คู่มอื การออกหนงั สืออนุญาตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา เอกสารประกอบคำ� ขอหนงั สืออนุญาตไซเตสสำ� หรบั กฤษณา 1. หนังสืออนญุ าตไซเตสสง่ ออก (CITES export permit) 1.1 ส่งออกน้�ำมนั กฤษณา/ไมช้ ิน้ /ช้ินไมส้ บั /ไมท้ อ่ น/ราก/ขเ้ี ล่อื ยทยี่ ังไมไ่ ดส้ กดั นำ้� มัน 1.1.1 แบบค�ำขอหนงั สอื อนุญาต (แบบ พ.พ. 13) 1.1.2 หลกั ฐานแสดงการได้มาของกฤษณา ดงั นี้ - กฤษณาต้องไดม้ าจากแปลงปลูกทีข่ น้ึ ทะเบียนกบั กรมวชิ าการเกษตร - กรณผี สู้ ง่ ออกไมใ่ ชผ่ ขู้ นึ้ ทะเบยี นแปลงปลกู ตอ้ งแสดงหลกั ฐานใบซอ้ื ขาย/ใบเสรจ็ กฤษณาจากแปลงปลกู ท่ขี ้นึ ทะเบียนฯ 1.2 สง่ ออกขี้เลื่อยกฤษณาที่สกดั น้�ำมันแลว้ หรือผลติ ภัณฑส์ ำ� เรจ็ รูปท่มี ีกฤษณาเป็นส่วนผสม 1.2.1 แบบค�ำขอหนงั สือรบั รองการส่งออกพชื ลูกผสมฯ 2. หนงั สอื อนญุ าตไซเตสนำ� เข้า (CITES import permit) 2.1 แบบคำ� ขอหนงั สืออนุญาต (แบบ พ.พ. 13) 2.2 หนงั สืออนุญาตไซเตสสง่ ออก (CITES export permit) ของประเทศผ้สู ง่ ออก 3. หนังสืออนญุ าตนำ� ผา่ น (CITES re-export permit) 3.1 แบบค�ำขอหนงั สืออนุญาต (แบบ พ.พ. 13) 3.2 สำ� เนาหนงั สืออนญุ าตไซเตสสง่ ออก (CITES export permit) ของประเทศผู้สง่ ออก 3.3 หนังสืออนุญาตไซเตสน�ำเข้า (CITES import permit) ของประเทศไทย แบบฟอรม์ หนังสืออนญุ าตไซเตสของประเทศไทย
คู่มือการออกหนังสืออนุญาตไซเตสสำ� หรับกฤษณา 15 บทท่ี 5 ขน้ั ตอนการยน่ื คำ� ขอหนงั สอื อนญุ าตไซเตส ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สำ� หรบั ผทู้ เี่ ขา้ ใชง้ านระบบครั้งแรก ให้ตดิ ต่อขอรหสั ผูใ้ ช้ (username) และรหสั ผ่าน (password) ไดท้ ก่ี ลมุ่ วจิ ัยอนสุ ญั ญาไซเตสดา้ นพืช โทรศพั ท์: 02-9405687 e-mail:[email protected] การเข้าใชง้ านระบบยน่ื ค�ำขอหนังสอื อนญุ าตไซเตสทางอเิ ล็กทรอนิกส์ 1. การใช้งานระบบยื่นค�ำขอหนังสืออนุญาตไซเตสทางอิเล็กทรอนิกส์ ต้องเข้าผ่านเว็บเบราเซอร์ Google Chrome เท่านนั้ 2. พิมพ์เว็บไซต์ เพ่ือเขา้ ใช้งานระบบงานบรกิ าร กรมวิชาการเกษตร ดังน้ี วธิ ที ี่ 1 พมิ พ์เว็บไซด์ http://e-cites.doa.go.th:21006 วธิ ีที่ 2 พิมพ์เวบ็ ไซด์ http://www.doa.go.th/nsw วิธที ่ี 3 เข้าไปที่เว็บไซต์กรมวิชาการเกษตร http://www.doa.go.th เลือกเมนู ข้อมูลบริการ ระบบงานบริการ NSW เม่ือเข้าหน้าเว็บระบบงานบริการ NSW กรมวิชาการเกษตร คลิกเลือก ระบบ CITES สญั ลกั ษณ์ ดงั รูป กลุ่มวจิ ยั อนุสญั ญาไซเตสดา้ นพืช ส�ำนักคมุ้ ครองพนั ธุ์พืช กรมวชิ าการเกษตร
16 คู่มือการออกหนังสอื อนุญาตไซเตสสำ� หรับกฤษณา 5.1 ขนั้ ตอนการย่ืนค�ำขอหนงั สืออนญุ าตไซเตสส่งออกทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ขั้นตอนที่ 1 ลอ็ กอนิ (Login) เพือ่ เขา้ ใชง้ านระบบ ใส่รหสั ผู้ใช้ (Username หรือ Login) และรหสั ผา่ น (Password) ของผ้ยู ่นื ค�ำขอ ใส่ Username & Password ข้ันตอนท่ี 2 เลือกประเภทคำ� ขอ ดงั น้ี 1. ค�ำขอหนังสืออนุญาตส่งออกพืชอนุรักษ์และซากพืชอนุรักษ์ ส�ำหรับการขออนุญาตส่งออกกฤษณาที่มี ลกั ษณะเปน็ ชิน้ ไม้ ไมส้ ับ น้ำ� มัน ขี้เลือ่ ยท่ยี ังไม่ไดส้ กัดน้�ำมัน เปน็ ต้น 2. ค�ำขอหนงั สือรบั รองการส่งออกพชื ลูกผสมฯ สำ� หรับการขออนญุ าตสง่ ออกกฤษณาท่ีเปน็ ข้อยกเวน้ ของ อนุสัญญาไซเตส แต่ประเทศผู้รับปลายทางต้องการหนังสืออนุญาต เช่น ขี้เลื่อยกฤษณาท่ีสกัดน�้ำมันแล้ว ใบ เมล็ด เครอื่ งส�ำอางทมี่ สี ว่ นผสมของสารสกัดจากฤษณา เป็นต้น การยน่ื คำ� ขอ 1 2
คู่มอื การออกหนงั สืออนุญาตไซเตสส�ำหรับกฤษณา 17 ขนั้ ตอนที่ 3 ขอ้ มลู ผู้ยนื่ ค�ำขอ ได้แก่ เขียนท่ี (Write กรอกขอ้ มลู ในชอ่ งทีม่ เี ครอ่ื งหมายดอกจนั * ใหค้ รบถว้ น at) เลขที่อินวอย (Invoice No.) และวันท่ีออกอินวอย (Invoice Date) หมายเหตุ 1) เลขท่ีอินวอย และ วนั ที่ออกอินวอย ต้องระบุให้ตรงกับใบขนสนิ คา้ ทใี่ ชใ้ นการผา่ นพธิ กี ารทางศลุ กากร 2) ถา้ กรอกข้อมลู ในช่องที่มีเครื่องหมายดอกจัน * ไม่ครบถ้วน จะคลกิ สง่ ค�ำร้องไมไ่ ด้ ขอ้ มูลผยู้ ่นื ค�ำขอ / Requester - ระบุสถานทย่ี น่ื คำ� ขอ - ใส่เลขที่อนิ วอย - แก้ไขวันทอ่ี อกอินวอยให้ถูกตอ้ ง ข้ันตอนท่ี 4 ข้อมลู รายละเอียดหนังสืออนุญาต 1. เลอื่ นหน้าจอ ไปยัง รายละเอียดการขอรับหนงั สืออนญุ าต และเลอื กวัตถปุ ระสงค์ในการสง่ ออก ดงั นี้ T = เพื่อการคา้ M = เพอื่ ใชป้ ระโยชนเ์ ป็นยา G = เพ่อื รวบรวมในสวน Q = เพือ่ การจดั แสดง นทิ รรศการ S = เพ่อื การศึกษาวจิ ยั P = เพือ่ ใชส้ ่วนบุคคล L = เพือ่ ใช้ทางกฎหมาย 1. เลือกวตั ถุประสงค์ กลุ่มวิจยั อนสุ ัญญาไซเตสด้านพชื ส�ำนกั คุม้ ครองพันธพุ์ ืช กรมวชิ าการเกษตร
18 คมู่ อื การออกหนงั สืออนญุ าตไซเตสสำ� หรับกฤษณา 2. กรอกขอ้ มลู ชอ่ งทอ่ี ยผู่ สู้ ง่ (Permittee address) ทง้ั นำ� เขา้ และนำ� ผา่ น ใหก้ รอกขอ้ มลู ทอ่ี ยขู่ องผขู้ อหนงั สอื อนุญาตในประเทศไทย พมิ พเ์ ปน็ ภาษาองั กฤษ ให้ครบถว้ น หมายเหตุ ชอื่ ผ้สู ่ง ผ้ยู ่ืนคำ� ขอไมส่ ามารถแกไ้ ขได้ หากต้องการแก้ไขให้ตดิ ตอ่ เจา้ หน้าท่ี 3. ระบปุ ระเทศผูน้ ำ� เขา้ หรอื ประเทศผูร้ ับ 4. กรอกข้อมลู ชื่อ-ทอ่ี ยูผ่ รู้ บั เปน็ ท่อี ยูข่ องตา่ งประเทศ พมิ พเ์ ปน็ ภาษาองั กฤษ ใหค้ รบถ้วน 5. เลอื กลกั ษณะการขนสง่ หรอื ยานพาหนะ เลือกด่านท่ีตอ้ งการรบั หนังสืออนญุ าตไซเตส มี 5 แห่ง ดังนี้ 1) สำ� นักคุ้มครองพันธพุ์ ืช บางเขน กรุงเทพฯ 2) ด่านตรวจพชื ทา่ อากาศยานเชียงใหม่ จังหวัดเชยี งใหม่ 3) ดา่ นตรวจพชื ท่าอากาศยานหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา 4) ดา่ นตรวจพืชทา่ อากาศยานภเู ก็ต จงั หวดั ภูเกต็ 5) ด่านตรวจพืชทา่ เรอื เชียงแสน จงั หวัดเชียงราย 2. พิมพท์ ่อี ยผู่ ู้ส่งในประเทศไทย 4. พมิ พ์ชื่อ-ที่อยู่ผูร้ บั ในต่างประเทศ 3. เลือกประเทศผูร้ บั 5. เลือกประเภทยานพาหนะ 6. เลือกดา่ นทร่ี ับหนังสืออนุญาต หมายเหตุ ชอ่ งที่มีเคร่อื งหมายดอกจัน * เปน็ ข้อมลู สำ� คญั ท่ตี อ้ งกรอกให้ครบถ้วน
คมู่ ือการออกหนังสืออนญุ าตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา 19 ขั้นตอนท่ี 5 การท�ำรายการพชื ท่ีต้องการสง่ ออก 1. คลิกเพิม่ รายการเพ่อื ป้อนชนดิ พชื ท่ีจะส่งออก 1. คลิกเพ่ิมรายการเพอื่ เลอื กชนดิ พชื ท่ีจะส่งออก 2 เลือกรายชอื่ พชื ที่ตอ้ งการสง่ ออก โดยพมิ พ์ชอ่ื พชื ในช่อง แล้วเลือกหรอื คลิกทลี่ ูกศร ▼ เพ่ือเลือกชอ่ื พชื 2. เลือกรายชอ่ื พชื ท่ีต้องการสง่ ออก 3. เลือกลักษณะสนิ ค้า จำ� นวนทจ่ี ะส่งออก และหนว่ ยนบั แลว้ คลกิ เพ่ิมรายการ 4. ทำ� รายการพืชจนครบจำ� นวนชนิดท่จี ะสง่ ออก 5. ส่งคำ� รอ้ ง 6. พมิ พ์เอกสารค�ำขอ/ดูเอกสาร 3. เลอื กลกั ษณะสนิ คา้ ทสี่ ง่ ออก จำ� นวน และหนว่ ยนบั 4. คลิก เพิม่ รายการ รายการพืชท่เี พม่ิ ไว้แล้ว หมายเหตุ 6. คลกิ ดเู อกสาร/พมิ พ์เอกสาร 5. คลิก ส่งค�ำรอ้ ง แต่ละค�ำขอไม่สามารถป้อนรายการพืชท่ีมีข้อมูลซ้�ำกันได้ แต่หากเป็นพืชชนิดเดียวกันแต่มีลักษณะท่ีส่งออก ตา่ งกนั สามารถยน่ื ในค�ำขอเดียวกนั ได้ เช่น สง่ ออกช้นิ ไม้สบั และน้ำ� มนั สามารถยื่นค�ำขอใบเดยี วกันได้ กล่มุ วจิ ัยอนสุ ญั ญาไซเตสดา้ นพืช ส�ำนกั คมุ้ ครองพันธ์ุพชื กรมวิชาการเกษตร
20 ค่มู อื การออกหนังสอื อนุญาตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา 5.2 ขนั้ ตอนการย่ืนค�ำขอหนังสืออนุญาตไซเตส น�ำเขา้ นำ� ผา่ น ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ขั้นตอนท่ี 1 ลอ็ กอนิ (Login) เพ่ือเข้าใช้งานระบบ ใส่รหสั ผใู้ ช้ (Username หรอื Login) และรหสั ผา่ น (Password) ของผยู้ ่ืนค�ำขอ ใส่ Username & Password ขนั้ ตอนที่ 2 เลือกประเภทค�ำขอ เลอื ก คำ� ขอรับหนงั สอื อนุญาตนำ� เขา้ นำ� ผ่านพชื อนรุ กั ษ์ เลอื กค�ำขอ การนำ� เข้า น�ำผ่านพชื อนุรกั ษ์
ค่มู ือการออกหนงั สืออนุญาตไซเตสส�ำหรับกฤษณา 21 ขนั้ ตอนท่ี 3 ข้อมลู ผู้ย่ืนคำ� ขอ 1เล. ขกทรอ่ีอินกขวออ้ ยมลู แใลนะชอ่วงันททมี่ อ่ี เี อคกรอื่องินหวมอายยตดอ้องกรจะนั บ*ุใหใ้ตหรค้ งรกบบั ถใว้บนขนไดสแ้ ินกค่ เา้ ขทยี ี่ในชทใ้ น่ี เกลาขรทผอี่ ่านินวพอธิ ยกี แารลทะาวงนั ศทลุ อี่ กอากกอรนิ วอย หมายเหตุ - ระบุสถานทยี่ ่นื ค�ำขอ - ใส่เลขทอี่ ินวอย - แก้ไขวนั ทีอ่ อกอินวอยใหถ้ ูกตอ้ ง 2. เล่ือนหนา้ จอ ไปยงั รายละเอียดการขอรบั หนังสืออนุญาต 2.1 เลอื กประเภทหนังสอื อนญุ าตน�ำเข้า (Import certificate) หรอื หนงั สืออนญุ าตน�ำผา่ น (Re-export certificate) 2.2 เลือกวัตถปุ ระสงคใ์ นการนำ� เขา้ /นำ� ผ่าน ดงั น้ี T = เพ่อื การคา้ M = เพอื่ ใช้ประโยชนเ์ ป็นยา G = เพอ่ื รวบรวมในสวน Q = เพ่อื การจดั แสดง นิทรรศการ S = เพ่อื การศึกษาวจิ ัย P = เพ่อื ใชส้ ว่ นบคุ คล L = เพื่อใชท้ างกฎหมาย เลือกประเภทหนังสืออนุญาต เลอื กวตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ วจิ ัยอนุสญั ญาไซเตสด้านพืช สำ� นกั คมุ้ ครองพันธ์พุ ชื กรมวชิ าการเกษตร
22 คูม่ อื การออกหนังสืออนญุ าตไซเตสสำ� หรบั กฤษณา ขัน้ ตอนท่ี 4 ขอ้ มูลรายละเอียดหนังสอื อนุญาต 1. กรอกขอ้ มลู ชอ่ งทอี่ ยผู่ รู้ บั (Permittee address) ทง้ั นำ� เขา้ และนำ� ผา่ น ใหก้ รอกขอ้ มลู ทอี่ ยขู่ องผขู้ อหนงั สอื อนุญาตในประเทศไทย พิมพ์เปน็ ภาษาอังกฤษ ใหค้ รบถว้ น หมายเหตุ ชือ่ ผรู้ ับ ผยู้ ื่นค�ำขอไมส่ ามารถแกไ้ ขได้ หากตอ้ งการแกไ้ ขให้ตดิ ตอ่ เจ้าหนา้ ท่ี 2. ระบปุ ระเทศผูส้ ง่ ออก (กรณนี ำ� เข้า) หรอื ระบปุ ระเทศผู้รับสนิ คา้ (กรณนี �ำผา่ น) 3. กรอกข้อมูล ชื่อ-ที่อยูผ่ ู้สง่ เป็นทอ่ี ยู่ของตา่ งประเทศ พมิ พ์เปน็ ภาษาองั กฤษ ใหค้ รบถว้ น 4. เลือกลักษณะการขนส่งหรอื ประเภทยานพาหนะ 5. เลอื กด่านท่ีต้องการรับหนังสอื อนุญาตไซเตส มี 5 แหง่ ดงั น้ี 1) สำ� นักคมุ้ ครองพันธุพ์ ืช บางเขน กรงุ เทพฯ 2) ด่านตรวจพืชท่าอากาศยานเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 3) ด่านตรวจพชื ท่าอากาศยานหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา 4) ดา่ นตรวจพชื ทา่ อากาศยานภูเก็ต จังหวดั ภูเกต็ 5) ดา่ นตรวจพชื ทา่ เรือเชยี งแสน จังหวดั เชียงราย 6. ป้อนรายการพชื ทจ่ี ะนำ� เข้า นำ� ผา่ น โดยคลกิ เพมิ่ รายการ 1. พิมพ์ทอี่ ยู่ผรู้ ับในประเทศไทย 3. พิมพช์ ่ือ-ท่อี ยู่ผสู้ ่งตา่ งประเทศ 2. เลือกประเทศผสู้ ่ง 4. เลอื กประเภทยานพาหนะ 5. เลอื กด่านท่รี ับหนังสืออนญุ าต 6. คลกิ เพมิ่ รายการเพอ่ื เลอื กชนดิ พชื ทจี่ ะนำ� เขา้ หรอื นำ� ผา่ น หมายเหตุ ชอ่ งทม่ี เี คร่อื งหมายดอกจัน * เปน็ ขอ้ มลู สำ� คญั ท่ตี อ้ งกรอกใหค้ รบถว้ น
คู่มือการออกหนังสอื อนุญาตไซเตสสำ� หรับกฤษณา 23 ขนั้ ตอนที่ 5 ทำ� รายการพืชทต่ี ้องการนำ� เขา้ น�ำผ่าน 1. พิมพ์ชื่อวิทยาศาสตร์พืชในช่อง แล้วเลือกหรือคลิกท่ีลูกศร ▼ เพื่อเลือกชื่อพืชท่ีตรงกับพืชที่ต้องการ นำ� เข้า นำ� ผา่ น 2. เลอื กประเทศแหลง่ ทม่ี า 3. ระบเุ ลขท่ีใบอนญุ าตของประเทศแหลง่ ท่ีมา (Certificate No.) 4. เลือกลกั ษณะของสนิ คา้ ท่ีจะนำ� เขา้ เชน่ oil, chip, log เป็นต้น ระบุจำ� นวน และหน่วยนบั 5. เมือ่ กรอกข้อมูลตามข้อ 1 – 4 ครบถ้วนแลว้ คลกิ เพม่ิ รายการ และทำ� การเพมิ่ รายการพชื จนครบทกุ ชนดิ ที่จะนำ� เข้า น�ำผา่ น (ท�ำซำ�้ ขอ้ 1-5) 6. เมอื่ เพ่ิมรายการพชื ครบทกุ ชนดิ แลว้ กดสง่ ค�ำร้อง 7. พมิ พ์เอกสารหรือแบบค�ำขอ 1. พิมพ์ชอื่ พชื และเลอื กชอ่ื ทต่ี ้องการ 2. เลือก ประเทศแหลง่ ทม่ี า 3. ใสเ่ ลขทใ่ี บอนุญาต 4. ระบลุ กั ษณะสนิ คา้ จำ� นวน และหนว่ ยนบั 5. คลกิ เพ่มิ รายการ 7. พมิ พ์แบบค�ำขอ 6. คลกิ ส่งค�ำร้อง กลุ่มวิจัยอนสุ ญั ญาไซเตสด้านพชื ส�ำนักคุ้มครองพันธ์ุพืช กรมวิชาการเกษตร
24 คมู่ ือการออกหนังสอื อนุญาตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา การตรวจสอบสถานะค�ำขอ ผู้ประกอบการสามารถพมิ พเ์ อกสารค�ำขอ ตรวจสอบสถานะ และรายละเอียดคำ� ขอได้ ดังน้ี 1. เลอื ก ตรวจสอบสถานะค�ำขอ 2. เลือก ประเภทค�ำขอที่ต้องการตรวจสอบสถานะ เช่น ค�ำขอน�ำเข้า นำ� ผ่านฯ หรือคำ� ขอสง่ ออก 3. เลือกรายการคำ� ขอทีต่ ้องการตรวจสอบรายละเอยี ด คลิกสัญลักษณ์ แว่นขยาย ในช่อง รายละเอยี ด 1. เลือกตรวจสอบสถานะคำ� ขอ 2. เลือกประเภทคำ� ขอ 3. ดรู ายละเอยี ดคำ� ขอ สถานะคำ� ขอ
คมู่ ือการออกหนังสอื อนญุ าตไซเตสสำ� หรับกฤษณา 25 บทท่ี 6 การขอขนึ้ ทะเบยี นแปลงปลกู กฤษณา พระราชบญั ญตั พิ นั ธพ์ุ ชื พ.ศ. 2518 และท่แี ก้ไขเพม่ิ เตมิ กำ� หนดไว้วา่ ผู้ทเี่ พาะขยายพันธ์ุพืชอนุรกั ษ์ หรอื พชื ในบญั ชแี นบทา้ ยอนสุ ญั ญาไซเตสเพอื่ การคา้ ตอ้ งขอขน้ึ ทะเบยี นสถานทเี่ พาะเลย้ี ง หรอื แปลงปลกู กบั กรมวชิ าการเกษตร ดงั นน้ั ผทู้ ปี่ ลกู ตน้ กฤษณาเพอ่ื การคา้ ตอ้ งขอขน้ึ ทะเบยี นแปลงปลกู กบั กรมวชิ าการเกษตร ซง่ึ กรมวชิ าการเกษตร ไดก้ ำ� หนด หลักเกณฑก์ ารขึ้นทะเบยี นแปลงปลูกกฤษณาไว้ใน ประกาศกรมวิชาการเกษตร เร่ือง หลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไข การขึ้นทะเบียนแปลงปลูกพืชอนุรักษ์ประเภทไม้กฤษณา ตามพระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2558 ซึง่ หลักเกณฑใ์ นการพจิ ารณารับข้นึ เบียนจะใช้ประเภทของทีด่ นิ ซงึ่ เป็นทต่ี ้งั ของแปลงปลูกกฤษณาเป็นหลัก ประเภทท่ีดินท่สี ามารถขอขึ้นทะเบียนแปลงปลูกกฤษณาได้ ดงั น้ี 1. โฉนดทีด่ นิ (น.ส.4) 2. หนงั สอื รับรองการทำ� ประโยชน์ (น.ส. 3, น.ส. 3ก., น.ส. 3ข.) 3. แบบแจ้งการครอบครองทีด่ นิ (ส.ค. 1) 4. ใบจอง (น.ส. 2) 5. ใบไต่สวน (น.ส. 5) 6. ใบเหยยี บย่�ำ 7. หนังสือแสดงการทำ� ประโยชนใ์ นนคิ มสร้างตนเอง (น.ค. 3) 8. หนังสอื แสดงการท�ำประโยชน์ในนิคมสหกรณ์ (ก.ส.น. 5) 9. ท่ีดินในเขตปฏิรูปท่ีดินตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมท่ีมีหลักฐานการอนุญาต การเชา่ เช่าซื้อ การโอนหรือการตกทอดทางมรดก (ส.ป.ก. 4-01) 10. ที่ดินตามพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 ได้แก่ แบบ ส.ท.ก.1ก, แบบ ส.ท.ก.1ข, แบบ ส.ท.ก. 2ก 11. ทด่ี ินที่มใี บอนุญาตตามกฎหมายวา่ ด้วยป่าไม้ใหท้ �ำสวนปา่ 12. ทด่ี นิ ทีด่ �ำเนนิ การปลูกปา่ โดยสว่ นราชการ รัฐวิสาหกิจ หรอื หนว่ ยงานอนื่ ของรัฐ หมายเหตุ 1. ถ้าเปน็ ท่ดี ินตามข้อ 10 – 12 ผ้ขู อขน้ึ ทะเบียนแปลงปลกู กฤษณา จะต้องมหี นงั สือท่ีแสดงวา่ ไดร้ บั อนุญาต จากหน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง มาประกอบการย่ืนคำ� ขอขนึ้ ทะเบียนฯ 2. ถา้ ผทู้ ข่ี อขน้ึ ทะเบยี นไมใ่ ชเ่ จา้ ของทดี่ นิ หรอื มไิ ดม้ สี ทิ ธใิ์ นการใชป้ ระโยชนจ์ ากทดี่ นิ ทเี่ ปน็ แปลงปลกู กฤษณา สามารถใชห้ ลกั ฐานการซอ้ื ขายไมก้ ฤษณาทป่ี ลกู ในทด่ี นิ ดงั กลา่ ว หรอื หนงั สอื ยนิ ยอมจากผมู้ กี รรมสทิ ธิ์ ในทด่ี นิ ทแี่ สดงวา่ อนญุ าตให้ใชท้ ดี่ ินนนั้ ข้ึนทะเบียนแปลงปลกู กฤษณาได้ กล่มุ วิจยั อนสุ ัญญาไซเตสด้านพชื สำ� นักคมุ้ ครองพนั ธุพ์ ืช กรมวชิ าการเกษตร
26 ค่มู ือการออกหนังสืออนญุ าตไซเตสส�ำหรับกฤษณา เอกสารประกอบการขอข้นึ ทะเบยี นแปลงปลกู กฤษณา 1. แบบคำ� ขอข้นึ ทะเบียนแปลงปลูกกฤษณา 2. บัญชีประกอบค�ำขอขึ้นทะเบียนแปลงปลูกกฤษณา (1 บญั ชี/แปลง) 3. ส�ำเนาหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน สิทธิครอบครอง หรือหลักฐานการมีสิทธ์ิใช้ท่ีดินที่เป็นแปลงปลูก กฤษณาทุกแปลงทข่ี อข้นึ ทะเบยี น 4. สญั ญาซ้ือขายต้นกฤษณา กรณีซอื้ มาจากผ้อู ่ืน พรอ้ มส�ำเนาบตั รประจ�ำตัวประชาชนของเจ้าของแปลงไม้ 5. สำ� เนาบัตรประจำ� ตวั ประชาชนของผู้ยน่ื คำ� ขอข้นึ ทะเบียน (กรณบี ุคคลธรรมดา) 6. หนงั สอื รับรองการจดทะเบียนนติ บิ คุ คล 7. สำ� เนาบตั รประจำ� ตัวของผมู้ ีอ�ำนาจผกู พนั นติ ิบคุ คล (กรณีนิติบุคล) 8. ภาพถา่ ยแปลงปลูก (ถ้ามี) หมายเหตุ หากผู้ที่ขอขึ้นทะเบียนแปลงปลูกกฤษณาไม่สามารถมาด�ำเนินการขอข้ึนทะเบียนได้ด้วยตนเอง สามารถมอบอ�ำนาจใหผ้ อู้ ืน่ มาด�ำเนินการแทนได้ โดยตอ้ งแนบเอกสารเพ่มิ เติม ดงั นี้ - หนังสอื มอบอ�ำนาจ ติดอากรแสตมป์ 10 บาท - สำ� เนาบตั รประจำ� ตวั ประชาชนของผูม้ อบอ�ำนาจ (กรณบี คุ คลธรรมดา) - ส�ำเนาบัตรประจำ� ตัวของผ้มู ีอ�ำนาจผกู พันนติ ิบุคคล (กรณนี ิตบิ คุ ล) สถานท่ียน่ื ค�ำขอ สามารถยื่นค�ำขอด้วยตนเอง หรือส่งเอกสารทางไปรษณีย์ มาท่ี กลุ่มวิจัยอนุสัญญาไซเตสด้านพืช ส�ำนัก คมุ้ ครองพนั ธพ์ุ ชื กรมวชิ าการเกษตร ลาดยาว จตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท์ 0 2940 5687 โทรสาร 0 2940 5687, e-mail: [email protected] หน้าทข่ี องผไู้ ด้รบั ใบส�ำคัญขึ้นทะเบียนแปลงปลูกกฤษณา 1. จดั ทำ� บัญชแี สดงจำ� นวนต้นกฤษณารายแปลงทเ่ี ปลยี่ นแปลงในรอบปี ตามแบบฟอร์มหน้า 60 2. กรณีที่มีการเพ่ิมหรือลดจ�ำนวนต้นกฤษณาจากเดิมที่ได้แจ้งไว้ ให้แจ้งเจ้าหน้าท่ี ตามแบบฟอร์ม หนา้ 60 3. กรณจี ะตดั หรอื โคน่ ตน้ กฤษณาตอ้ งแจง้ เจา้ หนา้ ทลี่ ว่ งหนา้ 5 วนั ทำ� การ ตามแบบฟอรม์ หนา้ 56 4. ใบส�ำคัญข้ึนทะเบียนแปลงปลูกกฤษณามีอายุ 5 ปี หากประสงค์ต่ออายุให้ยื่นค�ำขอ ตามแบบฟอร์ม หนา้ 50 5. กรณีใบส�ำคัญขึ้นทะเบียนแปลงปลูกกฤษณาช�ำรุด/สูญหาย ผู้ได้รับใบส�ำคัญฯ สามารถย่ืนค�ำขอเพ่ือขอ ใบแทนได้ ตามแบบค�ำขอหน้า 52
คูม่ อื การออกหนังสืออนุญาตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา 27 สรุปขัน้ ตอนการยืน่ ค�ำขอข้ึนทะเบยี นแปลงปลูกกฤษณา ขั้นตอน รายละเอียด 1. สถานที่ยน่ื แบบคำ� ขอ กลุ่มวิจัยอนสุ ญั ญาไซเตสด้านพืช สำ� นักคุม้ ครองพันธพุ์ ืช กรมวชิ าการเกษตร 2. วธิ ีการยืน่ ค�ำขอ 1. ตดิ ต่อด้วยตนเอง ที่ส�ำนกั คมุ้ ครองพันธุ์พชื หรอื 2. ส่งเอกสารทางไปรษณยี ์ มายงั สำ� นกั คมุ้ ครองพนั ธุ์พืช กรมวชิ าการเกษตร ลาดยาว จตุจักร กรงุ เทพฯ 10900 2. เอกสารประกอบคำ� ขอ 1. แบบค�ำขอขนึ้ ทะเบียนฯ 2. บญั ชแี ปลงไม้ประกอบคำ� ขอ 3. สำ� เนาโฉนดท่ีดินของแปลงไม้ 4. ส�ำเนาบตั รประชาชนของผยู้ ่ืนค�ำขอ (บุคคลธรรมดา) 5. สำ� เนาจดทะเบียนนิติบคุ คล (บรษิ ทั ) กรณีผู้ข้ึนทะเบยี นไม่ใช่เจา้ ของแปลงไม้ 6. ส�ำเนาบัตรประชาชนของเจ้าของทดี่ ิน 7. สัญญาซอ้ื ขายไม/้ สญั ญาเช่าท่ดี ิน 3. การตรวจสอบ 1. แบบค�ำขอ 2. บญั ชแี ปลงไม้ประกอบคำ� ขอ 3. เอกสารสทิ ธิท์ ด่ี นิ ท่ีต้งั แปลงปลกู หากเจ้าหน้าทมี่ ีข้อสงสยั จะท�ำการตรวจแปลงกฤษณา กอ่ นรบั ข้ึนทะเบียน 4. การออกใบส�ำคญั ข้ึนทะเบียน เจ้าหนา้ ท่จี ะออกใบสำ� คญั ขนึ้ ทะเบยี นพรอ้ มบัญชีประกอบใบสำ� คญั ข้นึ ทะเบยี นฯ (กรณเี อกสารถกู ต้องครบถ้วน) (ใบส�ำคัญขึน้ ทะเบียนมีอายุ 5 ปี นบั จากวันท่ีออกใบสำ� คัญขน้ึ ทะเบยี น) 5. การตรวจสอบแปลงปลกู เจา้ หน้าท่ีจะท�ำการส่มุ ตรวจแปลงปลูกกฤษณา ที่ได้ขึน้ ทะเบยี นไว้แลว้ หากผล การตรวจสอบแปลงปลกู ไมเ่ ปน็ ตามทีแ่ จ้ง เจา้ หน้าที่จะสั่งใหด้ �ำเนนิ การแก้ไขให้ ถกู ตอ้ ง แตห่ ากไมด่ �ำเนนิ การแกไ้ ขใหถ้ ือวา่ ใบสำ� คญั ขึน้ ทะเบยี นฯ น้นั สน้ิ ผล 6. คา่ ธรรมเนียม ไม่มี กลุม่ วจิ ยั อนุสญั ญาไซเตสดา้ นพืช ส�ำนกั คมุ้ ครองพนั ธ์ุพืช กรมวชิ าการเกษตร
บทที่ 7 อภธิ านศพั ทส์ นิ คา้ และผลติ ภณั ฑจ์ ากกฤษณา 28 คู่มอื การออกหนังสอื อนญุ าตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา อภิธานศพั ทส์ ินค้าและผลิตภัณฑจ์ ากกฤษณา (Glossary of Agarwood Production) รายการ รูปภาพ คำ� อธบิ าย หนว่ ยนับ สถานภาพ (Products) (Pictures) (Definition) (Units) (Status) ควบคุม ไมค่ วบคุม (CITES) (Non -CITES) น�ำ้ มันบริสุทธิ์ นำ้� มนั บรสิ ทุ ธ์ิ มลี กั ษณะเปน็ ของเหลว หรอื กงึ่ ของเหลว ✓ (Oil) หนืดขน้ มกี ล่นิ หอมแรง ที่ได้จากการสกัดไมก้ ฤษณา Gram/Kg โดยวธิ ีการต้มกลัน่ หรือเทคนิคอ่ืน ๆ น�้ำมันผสม น�้ำมนั กฤษณาผสม หมายถึง การผสมน้ำ� มนั กฤษณา Gram/Kg ✓ (Compound Oil) กับน้ำ� มนั ของพืชชนิดอนื่ หรอื ผสมกับสารสกดั อ่นื ๆ ✓ น�้ำกล่ันไมก้ ฤษณา ทั้งท่ไี ด้มาจากธรรมชาตหิ รือจากการสังเคราะห์ ท้งั น้ี (Agarwood Distilled การผสมน้ำ� มนั กฤษณาเกรดต่างๆ เขา้ ด้วยกนั ไมถ่ ือว่าเป็นน�ำ้ มันผสม Water) น�ำ้ กล่ันไมก้ ฤษณา หมายถงึ น�้ำที่ได้จากกระบวนการ กล่นั นำ�้ มนั กฤษณา ซึง่ ยังมีนำ�้ มนั กฤษณาผสมอยแู่ ต่ ปรมิ าณเลก็ นอ้ ย โดยนำ้� กลน่ั น้จี ะยงั คงมกี ลิ่นหอม Gram/Kg คลา้ ยน�ำ้ มนั กฤษณา สามารถน�ำไปใชป้ ระโยชนใ์ น ธุรกจิ สปา เครอ่ื งส�ำอาง น้ำ� หอม และเครือ่ งหอมต่างๆ
รายการ รปู ภาพ คำ� อธบิ าย หนว่ ยนบั สถานภาพ (Products) (Pictures) (Definition) (Units) (Status) ท่อนไมท้ ่ยี งั ไม่ผ่านการตกแตง่ ที่อย่ใู นรปู แบบด้ังเดิม ควบคมุ ไมค่ วบคุม ไมท้ ่อน ไมว่ ่าจะลอกเปลอื กไม้ หรอื แซะกระพีอ้ อก kg (CITES) (Non -CITES) (Log) ✓ ทอ่ นไม้ คู่มอื การออกหนงั สอื อนญุ าตไซเตสส�ำหรับกฤษณา 29✓ (Block) กล่มุ วจิ ัยอนุสัญญาไซเตสดา้ นพืช ส�ำนักคมุ้ ครองพันธุพ์ ชื กรมวชิ าการเกษตร ท่อนไม้ หมายถงึ การน�ำไมท้ ่อน (Log) มาตดั เป็นท่อน kg สำ� หรบั ใชใ้ นงานแกะสลกั
รายการ รปู ภาพ ค�ำอธิบาย หน่วยนบั สถานภาพ 30 คู่มอื การออกหนังสอื อนญุ าตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา (Products) (Pictures) (Definition) (Units) (Status) ก่งิ และแขนงไม้ ก่งิ คือส่วนทเี่ จรญิ ออกมาจากล�ำต้น Gram/kg ควบคุม ไมค่ วบคมุ (Branches and แขนง คือสว่ นยอดทมี่ ีขนาดเล็กเจริญออกมาจากก่งิ (CITES) (Non -CITES) หรือล�ำตน้ Twigs) ✓ ไมช้ ิน้ ชิน้ ไมข้ นาดกลาง หรอื ช้นิ ไม้เป็นแถบยาว Gram/kg ✓ (Wood Chip) มีสีน้ำ� ตาลออ่ น และมีเส้นสดี ำ� ของสารกฤษณา ที่ผิวดา้ นนอกหรอื ดา้ นในชนิ้ ไม้
รายการ รปู ภาพ คำ� อธิบาย หนว่ ยนับ สถานภาพ (Products) (Pictures) (Definition) (Units) (Status) ไม้ชนิ้ (ตอ่ ) Gram/kg ควบคมุ ไมค่ วบคมุ (Wood Chip) (CITES) (Non -CITES) ✓ คู่มอื การออกหนงั สอื อนญุ าตไซเตสส�ำหรับกฤษณา 31 กล่มุ วจิ ัยอนุสัญญาไซเตสดา้ นพืช ส�ำนักคมุ้ ครองพันธุพ์ ชื กรมวชิ าการเกษตร
รายการ รูปภาพ ค�ำอธิบาย หน่วยนับ สถานภาพ 32 คู่มอื การออกหนังสอื อนญุ าตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา (Products) (Pictures) (Definition) (Units) (Status) ไมช้ ิ้น (ตอ่ ) Gram/kg ควบคมุ ไม่ควบคมุ (Wood Chip) (CITES) (Non -CITES) ✓ ราก สว่ นของตน้ กฤษณาท่อี ยู่ใต้ดนิ Kg ✓ (Root)
รายการ รปู ภาพ คำ� อธบิ าย หน่วยนับ สถานภาพ (Products) (Pictures) (Definition) (Units) (Status) ราก (ตอ่ ) ควบคมุ ไม่ควบคุม Kg (CITES) (Non -CITES) (Root) ✓ ช้นิ ไมส้ บั คู่มอื การออกหนงั สอื อนญุ าตไซเตสส�ำหรับกฤษณา 33✓ (Chips) กล่มุ วจิ ัยอนุสัญญาไซเตสดา้ นพืช ส�ำนักคมุ้ ครองพันธุพ์ ชื กรมวชิ าการเกษตร ชน้ิ ไมก้ ฤษณาที่มขี นาดเล็กไปจนถึงขนาดกลาง Gram/Kg ได้มาจากการสับ ถาก หรอื ส่วิ จากท่อนไม้ (Block) หรอื ไมท้ ่อน (Log) ซ่ึงชน้ิ ไมม้ รี ปู ทรงแตกตา่ งกนั ข้นึ อยู่กบั กรรมวิธกี ารทำ�
รายการ รปู ภาพ คำ� อธบิ าย หน่วยนับ สถานภาพ 34 คู่มอื การออกหนังสอื อนญุ าตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา (Products) (Pictures) (Definition) (Units) (Status) ชน้ิ ไมส้ บั (ต่อ) Gram/Kg ควบคุม ไม่ควบคมุ (CITES) (Non -CITES) (Chips) ✓ ข้เี ลอื่ ยไม้กฤษณาท่ยี งั ไมก้ ฤษณาท่ีมขี นาดเล็กลักษณะคลา้ ยขเ้ี ลอ่ื ยหรอื Kg ✓ ไมไ่ ดส้ กดั นำ้� มัน แกลบซงึ่ ได้มาจากการบด ปกติมีสีน�ำ้ ตาลออ่ นและ มีกลน่ิ กฤษณา หรือเป็นเศษชน้ิ ไม้ขนาดเลก็ ทไ่ี ดจ้ าก (Non- exhausted ขบวนการสวิ่ เพื่อทำ� ไมช้ ิน้ /หรอื ไมต้ วั sawdust)
รายการ รูปภาพ ค�ำอธิบาย หนว่ ยนับ สถานภาพ (Products) (Pictures) (Definition) (Units) (Status) ข้ีเลื่อยไม้กฤษณาที่ ควบคุม ไมค่ วบคมุ สกดั นำ้� มนั แล้ว ขเ้ี ลอ่ื ยหรอื กากไมก้ ฤษณาทผี่ ่านขบวนการตม้ กลนั่ Gram/Kg (CITES) (Non -CITES) (Exhausted หรอื สกดั สารกฤษณาออกแลว้ ปกตมิ สี นี ำ้� ตาลเขม้ ถงึ ดำ� sawdust) มีกล่นิ กฤษณาเลก็ น้อยถึงไม่มี นยิ มนำ� ไปใชท้ �ำธูปหอม ✓ ไม้แกะสลกั หรอื กำ� ยาน (Carvings and handy craft) รปู แกะสลกั จากไม้กฤษณา Piece/Kg ✓ คู่มอื การออกหนงั สอื อนญุ าตไซเตสส�ำหรับกฤษณา 35 กล่มุ วจิ ัยอนุสัญญาไซเตสดา้ นพืช ส�ำนักคมุ้ ครองพันธุพ์ ชื กรมวชิ าการเกษตร
รายการ รปู ภาพ ค�ำอธบิ าย หน่วยนับ สถานภาพ 36 คู่มอื การออกหนังสอื อนญุ าตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา (Products) (Pictures) (Definition) (Units) (Status) รปู ปั้นจากผงกฤษณาท่ี เป็นการน�ำผงขี้เล่ือยไม้กฤษณาท่ีสกัดนำ้� มันแลว้ Piece/Kg ควบคุม ไม่ควบคุม สกดั น้�ำมนั แลว้ มาบดใหล้ ะเอียดผสมกับกาวอดั หรอื ปน้ั เปน็ รปู ต่างๆ (CITES) (Non -CITES) (Exhausted power compress into ✓ various shape) เป็นการนำ� ผงขเ้ี ลอ่ื ยไมก้ ฤษณาท่ีสกดั น้ำ� มนั แลว้ Piece/Kg ✓ กำ� ยาน มาบดให้ละเอียดผสมกับกาวอัด หรือป้นั เป็นรปู ทรง (Compressed ต่างๆ เพอ่ื ใช้จดุ ดม Powder)
รายการ รปู ภาพ ค�ำอธบิ าย หน่วยนบั สถานภาพ (Products) (Pictures) (Definition) (Units) (Status) สรอ้ ยประคำ� / สรอ้ ยข้อมือหรอื สร้อยคอทท่ี ำ� มาจากลกู ประค�ำ Piece/ ควบคุม ไม่ควบคมุ สร้อยขอ้ มือ ทเ่ี ป็นไมก้ ฤษณาจะมหี รอื ไมม่ สี ารกฤษณากไ็ ด้ Gram/ (CITES) (Non -CITES) (Prayer beads/ แลว้ นำ� มารอ้ ยตอ่ กันเป็นสรอ้ ยขอ้ มอื หรอื สร้อยคอ Necklace/Wrist) Kg ✓ ลูกประค�ำ ไมก้ ฤษณาท่ีนำ� มากลึงใหเ้ ปน็ ลกั ษณะเม็ดกลมๆ Piece/ ✓ (Bฺ eads) เจาะรูตรงกลาง ใชส้ �ำหรับร้อยเปน็ สร้อยขอ้ มอื Gram/ หรือสรอ้ ยคอ ใบ Kg (Leaves) คู่มอื การออกหนงั สอื อนญุ าตไซเตสส�ำหรับกฤษณา 37ใบกฤษณาGram/ ✓ กลา้ กฤษณา Kg กล่มุ วจิ ัยอนุสัญญาไซเตสดา้ นพืช ส�ำนักคมุ้ ครองพันธุพ์ ชื กรมวชิ าการเกษตร(Seedling) ต้นกฤษณาทีไ่ ด้มาจากการเพาะเมล็ด หรือสว่ นอ่นื Plant ✓ ของพืช หรือจากการเพาะเล้ียงเนื้อเย่อื
รายการ รูปภาพ ค�ำอธิบาย หนว่ ยนับ สถานภาพ 38 คู่มอื การออกหนังสอื อนญุ าตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา (Products) (Pictures) (Definition) (Units) (Status) ผลกฤษณา Piece/ ควบคุม ไมค่ วบคุม ผล (CITES) (Non -CITES) (Fruit) kg ✓ เมล็ด เมลด็ กฤษณา Gram/ ✓ (Seed) Kg
รายการ รปู ภาพ คำ� อธบิ าย หน่วยนบั สถานภาพ (Products) (Pictures) (Definition) (Units) (Status) ผลติ ภณั ฑส์ ำ� เรจ็ รปู ผลิตภัณฑท์ ่มี ีกฤษณาเป็นส่วนผสม และแบง่ บรรจุ Piece ควบคุม ไม่ควบคมุ (Finished products) พรอ้ มจ�ำหน่ายแบบปลกี เชน่ ยาสฟี ัน สบู่ ยาหม่อง (CITES) (Non -CITES) ยาดม โลชัน ธปู ชา น�้ำหอม เปน็ ตน้ ✓ ยาสมุนไพร คู่มอื การออกหนงั สอื อนญุ าตไซเตสส�ำหรับกฤษณา 39✓ (Patent medicine) กล่มุ วจิ ัยอนุสัญญาไซเตสดา้ นพืช ส�ำนักคมุ้ ครองพันธุพ์ ชื กรมวชิ าการเกษตร ยาสมนุ ไพรทม่ี สี ว่ นผสมของกฤษณา ไมว่ า่ จะอยใู่ นรูป Piece/ เม็ด ผง แคปซลู ของเหลว หรอื รปู แบบอืน่ ๆ ทบี่ รรจุ Gram ในภาชนะพรอ้ มจ�ำหนา่ ยแบบปลกี
40 คู่มอื การออกหนงั สืออนุญาตไซเตสสำ� หรับกฤษณา ภาคผนวก
คมู่ ือการออกหนงั สอื อนญุ าตไซเตสสำ� หรบั กฤษณา 41 แบบ พ.พ. 13 แบบคำ� ขอรบั หนงั สอื อนญุ าตนำ� เขา้ ส่งออก น�ำผา่ น พืชอนรุ ักษห์ รอื ซากพชื อนุรักษ์ ตามพระราชบญั ญัติพนั ธุ์พืช พ.ศ. 2518 Application Form for Import, Export and Re-export Permit of Conserved Plants or derivatives Under the Plant Act B.E. 2518 เขียนท่ี………….........……….........................… Place วันท่ี…………..…..…..…………...……………...….. Date ข้าพเจา้ .….....…………………………..…..…………….....……....….……. อายุ.………........……..ปี สัญชาติ.……....................…..…… Mr./Mrs./Miss Name - Surname Age Nationality ทีอ่ ย่.ู ……………………………………..............………………………............…………………….…….……………..…………………..……..….. Address.………………………………………..............………………………..…………………………………………………………………..…….. โทรศัพท์……………………………………..…….………………..…………… Telephone ขอรับหนังสืออนุญาต (เขียนเครอื่ งหมาย / ในชอ่ ง [ ] ตามประเภทหนงั สอื อนุญาตทข่ี อ) Requests for permit (please check at appropriate boxes) [ ] หนงั สืออนญุ าตน�ำเข้า [ ] หนงั สืออนุญาตสง่ ออก [ ] หนังสอื อนญุ าตนำ� ผา่ น Import permit Export permit Re-Export permit โดยมีวตั ถุประสงค์ Purpose of the Transaction [ ] เพ่อื การคา้ Commercial purpose [ ] อ่ืนๆ (โปรดระบุ)………………………………………………………………………. Other (Please specific purpose) สำ� หรับพชื อนุรักษ์หรือซากพชื อนุรกั ษ์ ดงั รายการดา้ นหลงั For live or dead conserved plants as listed overleaf ชอื่ -ที่อยูผ่ สู้ ่ง………….………………………………………………………………….…..............…....…………………….............….……...….. Name & Address of Permittee…….……………………………………………………….............…………….................................. ชอื่ -ท่ีอยู่ผ้รู ับ…………………………………….…………………………………………………………..…..................................................... Name & Address of Consignee….…………..…………………………………………..............………….................................…… เลขท่ีทะเบยี นสถานทีเ่ พาะเลี้ยงพืชอนุรกั ษ…์ ……..……………………………………...............................................………...…..... Nursery Registration No. เครื่องหมายท่สี งั เกตบนหบี หอ่ ……………....................….…. มูลค่า…….……....…..……(บาท) โดยพาหนะ..………................. Distinguishing Mark Value (Baht) Means of Conveyance ประเทศปลายทาง………….…...............………..….…….......….…. ประมาณวันที่……………................................….…….….…... Point of Entry Date of delivery shipment …………………......................………….…… ลายมือชอื่ Signature of Applicant กล่มุ วจิ ัยอนสุ ัญญาไซเตสด้านพชื สำ� นกั คุ้มครองพนั ธุ์พืช กรมวชิ าการเกษตร
42 คมู่ อื การออกหนงั สอื อนญุ าตไซเตสสำ� หรับกฤษณา รายชือ่ พชื อนุรกั ษ์ หรือซากพืชอนุรกั ษ์ (List of Conserved Plants or derivatives) ล�ำดบั ที่ ชื่อวิทยาศาสตร์ บญั ชีหมายเลข ลักษณะ และแหล่งท่ีมา ของพชื /ผลติ ภณั ฑ์ จำ� นวน หน่วยนับ List Scientific Name of Plants Appendix No. Quantity Unit and Source Description
คมู่ ือการออกหนงั สืออนุญาตไซเตสส�ำหรับกฤษณา 43 แบบคำ� ขอรับหนังสือรับรองการสง่ ออกพืชลกู ผสมของพืชในบัญชแี นบทา้ ย อนสุ ญั ญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซ่งึ ชนดิ สตั ว์ปา่ และพชื ปา่ ท่ีกำ� ลงั จะสญู พันธุ์ Application Form for Certificate of Exportation of Hybrids Plants under CITES List .............................................................. เขียนท่ี (Place)................................................. วันที่ (Date)...................................................... ข้าพเจา้ ………………………………….................…....……………….. อายุ…………........……..ปี สัญชาติ…………….......……........…. Mr./Mrs./Miss Name – Surname Age Nationality ท่อี ยู่ (Address)……………….............................................……………………………................………………………….................... .......................................................................................................................................................................................... โทรศพั ท์ (Telephone) .............................................................................. ขอรับหนังสือรับรองการส่งออกพืชลูกผสมของพืชในบัญชีแนบท้ายอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซง่ึ ชนดิ สตั วป์ ่าและพชื ปา่ ท่ีกำ� ลังจะสญู พันธ์ุ ดงั รายการด้านหลงั Requests for a Certificate of Exportation of Hybrids Plants under CITES List as listed overleaf ชือ่ - ท่อี ยู่ผ้สู ่ง (Name & Address of Permittee) …………………...……………………………………………………....................................................................................................... …………………………...……………………………………………………............................................................................................... ……………………………………….........................................……………………………………………………………….............................. ชอ่ื -ท่อี ยู่ผู้รบั (Name & Address of Consignee) …………………...……………………………………………………....................................................................................................... …………………...……………………………………………………....................................................................................................... …………………...……………………………………………………....................................................................................................... เครอ่ื งหมายท่ีสังเกตบนหบี ห่อ……....…...…...…. มูลค่า……………......………..โดยพาหนะ……............................……………... Distinguishing Mark Value (Baht) Means of Conveyance น�ำเข้าประเทศปลายทาง………………………...........................……….ประมาณวันท…่ี ……..................………...…………..……… Point of Entry Date of Delivery Shipment …………………......................………….…… ลายมือชื่อ Signature of Applicant กลุม่ วิจัยอนสุ ญั ญาไซเตสด้านพืช สำ� นักคมุ้ ครองพันธ์ุพชื กรมวิชาการเกษตร
44 ค่มู ือการออกหนงั สืออนญุ าตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา รายชอื่ พชื ทกุ ส่วนของพชื หรือสว่ นท่แี ยกมาจากพชื (List of Live Plants, Parts or Derivatives) ล�ำ ดับที่ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ลักษณะ จ�ำ นวน หนว่ ย หมายเหตุ List Scientific Name of Plants การท�ำ การคา้ Quantity Unit Remarks Description
คูม่ ือการออกหนงั สอื อนญุ าตไซเตสส�ำหรับกฤษณา 45 แบบ พ.ก.๗ Form P.Q.7 ค�ำขอใบรับรองสุขอนามยั พชื เลขท่รี บั ................................................ ตามพระราชบญั ญัติกกั พืช พ.ศ. ๒๕๐๗ และทแี่ ก้ไขเพิ่มเตมิ Receipt No. วันท่ี...................................................... Date Application for Phytosanitary Certificate ผรู้ บั คำ� ขอ............................................. under the Plant Quarantine Act B.E. 2507 and Amended Recipient เรียน อธิบดีกรมวิชาการเกษตร วนั ท…ี่ ……..…เดือน..............................พ.ศ. ................. To Director General of the Department of Agriculture Date Month Year ๑. รหสั ผรู้ ับมอบอ�ำนาจ...........................ข้าพเจา้ หรอื ตวั แทนผู้ส่งออก............................................................................................. Authority No. Name of applicant or authorized representative of exporter ท่ีอย…ู่ ………………………………..…...........................………………………………………………………………………………………………………….. Address……………………........................……………………………..………………………………………………………………………………………… จงั หวดั ........................................รหสั ไปรษณยี .์ ...........................................โทรศพั ท.์ ...............................โทรสาร…………………..… Province Postal code Telephone Facsimile ๒. ชอื่ และทอ่ี ยผู่ สู้ ง่ ออก……………………………………………………………………………..………………………………………………......................… Name of address of exporter………...........…………………………………………………………………………….………………………………… ชอื่ และทอ่ี ยผู่ รู้ บั สนิ คา้ ....................................................................................................................................................................... Name and address of consignee…………………………………...........………………………………………………………..……………………… แหลง่ กำ� เนดิ ...................................................................เครอ่ื งหมายบนภาชนะบรรจ.ุ .................................................................. Place of origin Distinguishing marks สง่ โดยยานพาหนะ.........................................................ข้อมลู ยานพาหนะ.......................................วนั ทส่ี ่งออก……….......…....... Means of conveyance Information of conveyance Date of exportation เมืองและประเทศปลายทาง...........................................ใบอนุญาตนำ� เข้าเลขท่.ี ...............................มลู ค่า................................... City and country of destination Import permit No. Value ๓. ขอยน่ื คำ� ขอใบรบั รองสุขอนามัยพชื ส�ำหรบั พชื ดังตอ่ ไปนี้ ตามรายละเอียดทแ่ี นบ Wish to apply for Phytosanitary certificate of plant as follows: See attachment ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร.์ ..................................................................................จ�ำนวนภาชนะบรรจทุ งั้ หมด………...............…….…….... Botanical name of plants Total number of packages ชื่อและจำ� นวนสนิ ค้ารวม………………………………………………………………………..………………………………………………...................….. Name of produce and quantity declared Nทo่ี . Nameชื่อoพf ชืplants Qปuรaมิ nาtณity Couหnนtว่ inยgนับunit ราUคnาiตt อ่pหriนc่วeย Vมaลู lคueา่ Nจa�ำmนวeนoภfาชpนacะkบaรgรeจsุ ลายมอื ช่อื Signature of Applicant ............................................................ ( ) For official use only ๔. บันทึกของพนกั งานเจ้าหน้าท่ี อนุมัต ิ ไม่อนุมตั ิ เหตผุ ล........................................................................................................................ Approved Not approve Reason ลายมือช่อื พนักงานเจา้ หนา้ ท่ี Signature of authorized officer ……………….…………………….……… ( ) กลมุ่ วิจัยอนุสญั ญาไซเตสด้านพชื สำ� นักคุ้มครองพันธพุ์ ืช กรมวิชาการเกษตร
46 คูม่ อื การออกหนังสืออนญุ าตไซเตสสำ� หรับกฤษณา แบบค�ำขอขน้ึ ทะเบยี นแปลงปลูกพชื อนุรักษป์ ระเภทไม้กฤษณา เขียนท่…ี ……...............…………........... วนั ท่…ี ……….เดอื น…………..……พ.ศ..........…… ขอ้ ๑ ขา้ พเจา้ …………………………...................…………......………. อายุ……..……. ปี สัญชาต…ิ ......……............. บตั รประจ�ำตัวประชาชน เลขท่…ี ……………………………………….......ออกให้ ณ ……...………...............………..…................… ที่อยู่เลขที่……….หมู่ท่ี…...…ตรอก/ซอย……....…………….ถนน………………………ต�ำบล/แขวง…………….......…....…… อ�ำเภอ/เขต…………………….………จังหวัด…………...........……รหัสไปรษณีย์………….....……โทรศัพท์…….........………. โทรสาร……...............…………...…อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ มล์ (E-mail)…………………….........………………......................................... ข้อ ๒ มคี วามประสงคจ์ ะขอข้นึ ทะเบยี นแปลงปลกู กฤษณา ในนามของ……………….........................…………………โดยมี………………….................………...........…..…เป็นผ้ดู �ำเนินกิจการ ตงั้ อยเู่ ลขท…่ี …......หมทู่ .ี่ .....…..ตรอก/ซอย………….………….ถนน…………………………ตำ� บล/แขวง…............…….....................… อำ� เภอ/เขต……….................………จงั หวดั …...……...........………รหัสไปรษณีย…์ …………......…..โทรศพั ท…์ …......……........... โทรสาร..……….....………….......อิเลก็ ทรอนิกส์เมล์ (E-mail)………………….......................................…………………... ขอ้ ๓ โดยมีแปลงปลกู กฤษณาจำ� นวน …....…… แปลง ดงั น้ี แปลงปลูกแห่งที่ ๑ ช่ือ ……………...............................................................................……………………………...... ประเภทเอกสารสทิ ธทิ์ ด่ี นิ ...................................................................เลขท.่ี ...................เลม่ ท.ี่ ..................หนา้ ................ ตั้งอยู่ในท้องท่ี หมู่ที่…………ต�ำบล/แขวง………..............................……อ�ำเภอ/เขต……………....…......................... จังหวัด……………….................……เนื้อท.ี่ ...................ไร่ ..........................งาน ..................... ตารางวา ซึง่ มีพกิ ัดทางภูมิศาสตร์ ดงั น้ี ละตจิ ดู .........................................................ลองจจิ ดู .......................................................... (ชอ่ื และที่อยแู่ ปลงปลูกแห่งอน่ื ๆ อยู่ด้านหลังคำ� ขอนี้) ขอ้ ๔ พรอ้ มกับค�ำขอน้ีข้าพเจ้าได้แนบหลกั ฐานตา่ ง ๆ มาดว้ ยคือ ๑. แบบบัญชีประกอบคำ� ขอขึน้ ทะเบยี นแปลงปลกู กฤษณา ๒. สำ� เนาหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ สทิ ธคิ รอบครอง หรอื หลกั ฐานการมสี ิทธใิ์ ชป้ ระโยชนใ์ นท่ีดินที่ขอขนึ้ ทะเบียน แปลงปลกู กฤษณา ๓. หรอื หลักฐานการเชา่ หรอื เช่าซ้อื ทดี่ ินและหนังสอื ยินยอมของผมู้ กี รรมสิทธ์ิหรือสิทธคิ รอบครองในทีด่ นิ น้นั ที่ แสดงวา่ ให้ขึ้นทะเบยี นแปลงปลกู กฤษณาได้ ๔. แผนท่ีสงั เขปแสดงท่ีต้งั และพิกัดทางภมู ิศาสตรข์ องแปลงปลูก ๕. สำ� เนาบัตรประชาชน/ ใบสำ� คญั ประจ�ำตัวอย่างอืน่ ทร่ี าชการออกให้ ๖. ส�ำเนาหนงั สือรับรองการจดทะเบียน วตั ถุประสงค์ และผูม้ ีอ�ำนาจ ลงชื่อแทนนิตบิ ุคคลผขู้ อขึ้นทะเบียน ๗. หนงั สอื แสดงวา่ เป็นผูไ้ ดร้ ับมอบหมายใหด้ �ำเนินกิจการของนิติบุคคล ๘. เอกสารหรือหลกั ฐานอื่นๆ ท่ที างราชการแจง้ ให้นำ� ส่ง (ลายมอื ชอ่ื )……………………......................………ผยู้ น่ื คำ� ขอ (……….......………………………………..)
ค่มู อื การออกหนังสอื อนุญาตไซเตสส�ำหรบั กฤษณา 47 แปลงปลกู แห่งที่ ๒ ชือ่ ……………....................................................................………………………………..........… ประเภทเอกสารสทิ ธ์ทิ ี่ดนิ ............................................................... เลขที่ ................เลม่ ท่.ี ......................หน้า................ ตั้งอยู่ในท้องท่ี หมู่ที่…………ต�ำบล/แขวง……….............................……อ�ำเภอ/เขต……………....…............................ จังหวัด……………….................……เนอ้ื ท่.ี .....................ไร่ ............................งาน .......................... ตารางวา ซง่ึ มีพิกดั ทางภูมิศาสตร์ ดงั น้ี ละตจิ ูด...........................................................ลองจจิ ดู ........................................................ แปลงปลกู แห่งท่ี ๓ ชอ่ื ……………....................................................................………………………………..........… ประเภทเอกสารสิทธิ์ทด่ี นิ ............................................................... เลขที่ ................เล่มท.ี่ ......................หนา้ ................ ต้ังอยู่ในท้องที่ หมู่ที่…………ต�ำบล/แขวง……….............................……อ�ำเภอ/เขต……………....…............................ จงั หวดั ……………….................……เน้ือท.่ี .....................ไร่ ............................งาน .......................... ตารางวา ซงึ่ มีพกิ ดั ทางภูมศิ าสตร์ ดงั นี้ ละติจูด..........................................................ลองจิจดู ........................................................ แปลงปลกู แห่งที่ ๔ ช่ือ ……………....................................................................………………………………..........… ประเภทเอกสารสทิ ธทิ์ ด่ี นิ ............................................................... เลขที่ ................เลม่ ท.่ี ......................หนา้ ................ ตั้งอยู่ในท้องที่ หมู่ที่…………ต�ำบล/แขวง……….............................……อ�ำเภอ/เขต……………....…............................ จงั หวัด……………….................……เนือ้ ที่......................ไร่ ............................งาน .......................... ตารางวา ซง่ึ มพี ิกดั ทางภูมศิ าสตร์ ดังน้ี ละตจิ ดู ..........................................................ลองจจิ ดู ........................................................ แปลงปลกู แห่งที่ ๕ ชอื่ ……………....................................................................………………………………..........… ประเภทเอกสารสิทธ์ทิ ี่ดนิ ............................................................... เลขที่ ................เลม่ ที่.......................หน้า................ ต้ังอยู่ในท้องที่ หมู่ท่ี…………ต�ำบล/แขวง……….............................……อ�ำเภอ/เขต……………....…............................ จงั หวัด……………….................……เนอื้ ที.่ .....................ไร่ ............................งาน .......................... ตารางวา ซึ่งมีพกิ ัดทางภมู ิศาสตร์ ดังนี้ ละตจิ ดู ..........................................................ลองจจิ ูด........................................................ แปลงปลูกแหง่ ท่ี ๖ ชอ่ื ……………....................................................................………………………………..........… ประเภทเอกสารสทิ ธท์ิ ด่ี นิ ............................................................... เลขท่ี ................เลม่ ที.่ ......................หนา้ ................ ต้ังอยู่ในท้องท่ี หมู่ท่ี…………ต�ำบล/แขวง……….............................……อ�ำเภอ/เขต……………....…............................ จังหวัด……………….................……เนื้อท.่ี .....................ไร่ ............................งาน .......................... ตารางวา ซง่ึ มีพกิ ดั ทางภมู ิศาสตร์ ดังน้ี ละตจิ ูด..........................................................ลองจจิ ูด........................................................ แปลงปลกู แห่งท่ี ๗ ชอ่ื ……………....................................................................………………………………..........… ประเภทเอกสารสทิ ธท์ิ ่ีดนิ ............................................................... เลขท่ี ................เลม่ ท.่ี ......................หนา้ ................ ตั้งอยู่ในท้องท่ี หมู่ท่ี…………ต�ำบล/แขวง……….............................……อ�ำเภอ/เขต……………....…............................ จงั หวดั ……………….................……เนื้อที่......................ไร่ ............................งาน .......................... ตารางวา ซง่ึ มพี กิ ดั ทางภูมศิ าสตร์ ดงั นี้ ละติจดู ..........................................................ลองจจิ ดู ........................................................ กล่มุ วิจยั อนสุ ญั ญาไซเตสดา้ นพชื ส�ำนักคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร
48 คูม่ อื การออกหนังสอื อนญุ าตไซเตสสำ� หรับกฤษณา บัญชปี ระกอบคำ� ขอข้นึ ทะเบยี นแปลงปลกู พชื อนรุ ักษ์ประเภทไม้กฤษณา แปลงท่ี ………….ชื่อ........................................................... (ระบุชื่อแปลงปลูก) ชนิดไมก้ ฤษณา........................................................................................จ�ำนวน........................................ต้น (ระบชุ ่ือวทิ ยาศาสตร์) ลักษณะการปลกู : ผสมผสาน ชนิดพืชที่ปลูกร่วม.......................................................................................................... เชิงเด่ยี ว ระยะปลูก.................................. เมตร ล�ำดับที่ หมายเลขตน้ อายุ ขนาด ปริมาตร หมายเหตุ (ป)ี เสน้ รอบวง ความสูง (ลบ.ม.) (เมตร) (เมตร) (ลายมอื ช่อื )………………………..........…………..ผู้ยื่นคำ� ขอ (……………………..........…………..….)
Search