Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การแพทย์ดั้งเดิมเมียนมา (พม่า) กับพระพุทธศาสนา

การแพทย์ดั้งเดิมเมียนมา (พม่า) กับพระพุทธศาสนา

Description: การแพทย์ดั้งเดิมเมียนมา (พม่า) กับพระพุทธศาสนา.

Search

Read the Text Version

¡ÒÃᾷ´ §Ñé à´ÁÔ àÁÂÕ ¹ÁÒ (¾Á‹Ò) ¡ºÑ ¾Ãоط¸ÈÒʹÒ

การแพทย์ด้งั เดิมเมียนมา (พม่า)  กับพระพทุ ธศาสนา

การแพทยด์ ั้งเดิมเมียนมา (พมา่ ) กับพระพทุ ธศาสนา ผเู้ ขียน: นภนาท อนุพงศพ์ ัฒน์ พมิ พ์ครั้งท่ี 1 มนี าคม 2561 จ�ำนวน 1,000 เล่ม ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมหอสมุดแห่งชาติ นภนาท อนุพงศพ์ ัฒน์: มูลนธิ ิสขุ ภาพไทย, 2561, 80 หน้า 1. พทุ ธศาสนา 2. เมยี นมา 3. ภมู ปิ ญั ญาสขุ ภาพ ISBN: 978-616-786-104-3 ออกแบบปก-จัดรปู เลม่ : ชนสิ รา นาถนอม พิมพท์ ่ี: อษุ าการพิมพ์ 178/25 ซ.วฒุ พิ นั ธ์ ถ.ราชปรารภ 5 แขวงพญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2656-3470, 0-2251-5815 โทรสาร 0-2656-4281 สนับสนุนโดย ส�ำนักงานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) จัดพิมพโ์ ดย โครงการจดั การความรแู้ ละการสอ่ื สารสาธารณะ ในการสง่ เสรมิ บทบาทพระพทุ ธศาสนา และการแพทยแ์ ผนไทย เพอ่ื การดแู ลสุขภาวะให้กบั สงั คมไทย มลู นิธสิ ุขภาพไทย 520/1-2 ถนนเทศบาลรังรกั ษ์เหนือ ซอย16 แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2589-4243 โทรสาร 0-2591-8092 E-mail: [email protected] Website: http://www.thaihof.org

สารบญั ภูมิหลงั การแพทยด์ ้ังเดมิ ของพมา่ 7 พุทธศาสนากบั การแพทยแ์ บบดั้งเดมิ ของพมา่ 26 แนวคิดวทิ ยาธร (หรือ weikza, wizza, Weizzadhara) 31 สถานการณด์ า้ นการดูแลสุขภาพและรักษาโรคของชาวบ้านรัฐยะไข่ 34 สถานะและข้อกำ� หนดตา่ งๆ ของรฐั ต่อการแพทย์แบบดัง้ เดิมของพมา่ 46 เอกสารอ้างองิ 54 ภาคผนวก 58 การแพทยด์ ั้งเดมิ ของพมา่ 4 ระบบ (nayas) 71 ค�ำอธิบาย 71 การวดั ชีพจร 75 ระบบ Netkhattanaya and Weizzadharanaya

ค�ำน�ำ พุทธศาสนามีบทบาทส�ำคัญต่อการดูแลสุขภาพของตนเองและ สขุ ภาพของสงั คมอาจกลา่ วไดว้ า่ หลกั ธรรมคำ� สอนตา่ งๆ แนวทางการปฏบิ ตั ิ ตอ่ ตนเองรวมถงึ หลกั การทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ความสมั พนั ธข์ องสรรพสงิ่ รอบตวั และ คนในสงั คมน้นั มุ่งสู่การมสี ภุ าวะท่ดี ี และหากศึกษาในพระไตรปิฎกซ่ึงแมว้ า่ เน้ือหาส่วนใหญ่จะกล่าวถึงพระธรรมวินัยแต่ก็พบว่ามีเร่ืองการแพทย์ การเยียวยาบ�ำบัดโรคภยั ไข้เจบ็ การดแู ลสุขภาพ การกนิ อาหารเพือ่ สุขภาพ พืชสมุนไพร ฯลฯ จึงอาจกล่าวได้ว่าเน้ือหาในพระไตรปิฎกเป็นภูมิปัญญา ดงั้ เดมิ ดา้ นสุขภาพทงั้ กายและใจดว้ ย ในภูมิปัญญาการแพทย์ดั้งเดิมของไทยซ่ึงต่อมาเรียกกันว่า การแพทย์แผนไทยและการแพทย์พ้ืนบ้านน้ันเมื่อได้ศึกษาจากต�ำราและ ต�ำรับยาต่างๆ พบว่าได้รับแนวคิดและหลักการหรือมีรากความรู้จาก พระพุทธศาสนาท่ีผสมผสานกับความรู้ด้ังเดิมของชุมชนท้องถ่ิน เช่น หลักการเร่ืองธาตุในร่างกายของเรา หลักการว่าด้วยการเกิดโรค หลักจริยธรรมของการเยียวยา การใช้พืชสมุนไพรหลายชนิด ฯลฯ และ การบวชเรยี นในพทุ ธศาสนาแตอ่ ดตี นนั้ ผบู้ วชเรยี นมกั ไดศ้ กึ ษาภาษาโบราณ และเรยี นวชิ าแพทยใ์ นคมั ภรี ต์ า่ งๆ ทางพระพทุ ธศาสนาทมี่ อี ยแู่ ทบทกุ วดั ดว้ ย จงึ พบวา่ เมอื่ ลาสกิ ขาออกมากไ็ ดน้ ำ� ความรทู้ างการแพทยใ์ นพระพทุ ธศาสนา และการแพทยด์ ้ังเดิมในทอ้ งถิ่นมาชว่ ยเหลอื ดแู ลสุขภาพให้ประชาชนทั่วไป ในสถานการณ์ปัจจุบันและอนาคตอันใกล้ แนวโน้มบทบาท ของพระสงฆ์และวัดในการดูแลสุขภาพประชาชนลดลงอย่างน่าเป็นห่วง

5 นอกจากน้ี การผลติ แพทยแ์ ผนไทยในระดบั อดุ มศกึ ษาของสถาบนั การศกึ ษา ของรัฐนั้นเหินห่างจากหลักธรรมค�ำสอนและวิถีชีวิตตามแนวทางของ พระพุทธศาสนา รวมท้ังวิถีในการสร้างหมอแผนไทยรุ่นใหม่เริ่มไม่แตกต่าง จากหลักการผลิตแบบแพทย์แผนปจั จบุ นั ซ่งึ จะท�ำใหก้ ารแพทยแ์ ผนไทยใน อนาคตจะยึดหลักปรัชญาของวิทยาศาสตร์เป็นหลัก ไม่ให้ความส�ำคัญ กับรากฐานหลักการพระพุทธศาสนาที่มุ่งให้ชีวิตและสังคมมีสุขภาวะไป พรอ้ มๆ กัน อีกทงั้ การเรียนการสอนมแี นวโน้มนำ� เอาเศรษฐกิจแบบทุนนยิ ม บริโภคนิยมเป็นใหญ่ ความสำ� คัญในมติ ิเมตตากรณุ ากล็ ดนอ้ ยลง เหตุน้ี มูลนิธิสุขภาพไทยและสมาพันธ์แพทย์แผนไทยแห่ง ประเทศไทย จึงจัดท�ำ “โครงการจัดการความรู้และการส่ือสารสาธารณะ ในการสง่ เสรมิ บทบาทพระพทุ ธศาสนาและการแพทยแ์ ผนไทย เพอื่ การดแู ล สขุ ภาวะใหก้ บั สงั คมไทย” ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากสำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยด�ำเนินการในหลายลักษณะ ซึ่งผลงาน ประการหนึ่งคือ การศึกษารวบรวมความรู้ หลักการในพุทธศาสนาเพ่ือใช้ เป็นข้อมูลความรู้ในการส่ือสารสาธารณะให้เกิดการเรียนรู้เข้าใจบทบาท พระพุทธศาสนาและการดูแลสุขภาพซ่ึงจะประกอบด้วยหนังสือ 4 เรื่อง สำ� หรบั หนงั สอื เลม่ น้ี “การแพทยด์ ง้ั เดมิ เมยี นมา (พมา่ ) กบั พระพทุ ธศาสนา” นับเป็นการส�ำรวจเบ้ืองต้นว่าด้วยสถานะความรู้การแพทย์แบบดั้งเดิมของ พม่าซ่ึงเห็นว่าการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต้ังแต่ โบราณกาลนั้น ครอบคลุมพื้นท่ีกว้างขวาง และยังไม่ได้แบ่งดินแดนออก เป็นประเทศเช่นในปัจจุบัน การได้ส�ำรวจความเหมือนและต่างกันในการ น�ำหลักการแนวคิดจากพระพุทธศาสนามาใช้ในการแพทย์ดั้งเดิมแต่ละ ประเทศน้ัน จะช่วยให้แวดวงการแพทย์ดั้งเดิมของไทยได้เรียนรู้เข้าใจ

6 หลกั การและแนวปฏบิ ตั ติ ามพระพทุ ธศาสนาทกี่ วา้ งมากยง่ิ ขน้ึ และมองเหน็ สงิ่ ทน่ี า่ เรยี นรนู้ ำ� มาพฒั นาปรบั ใชต้ อ่ สงั คมไทย และอาจนำ� ไปสคู่ วามรว่ มมอื ระหว่างประเทศเพ่อื นบ้านของไทยดว้ ย ขอขอบคุณ นภนาท อนุพงศ์พัฒน์ นักวิชาการที่ช่วยศึกษาและ เรียบเรียงออกมาเป็นหนังสือเล่มน้ี ภายใต้ข้อจ�ำกัดหลายประการ หากมี ส่ิงใดที่คลาดเคล่ือนหรือตกหล่นทางมูลนิธิสุขภาพไทยขอน้อมรับไว้เพ่ือน�ำ มาปรับปรุงต่อไป หากมีส่ิงที่เป็นประโยชน์ขอให้ผลงานนี้ช่วยส่งเสริมให้ บุคคลและสังคมไทยก้าวสู่การมีสุขภาวะถ้วนหน้าเพื่อประโยชน์สุขของ มหาชนต่อไป มลู นิธิสขุ ภาพไทย

การแพทยด์ ั้งเดมิ เมยี นมา (พม่า)  กบั พระพทุ ธศาสนา ภูมหิ ลงั การแพทย์ด้งั เดิมของพมา่ ประเทศเมียนมา (หรือพม่า)1 มีอาณาเขตในผืนแผ่นดินใหญ่ของ ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ เปน็ ประเทศเกา่ แกม่ ปี ระวตั ศิ าสตรย์ าวนาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความผูกพันกับพุทธศาสนาเป็นพิเศษ จึงส่งผลให้ พุทธศาสนามีอิทธิพลต่อมิติต่างๆ ในชีวิตผู้คนในดินแดนพม่าเป็นอย่างมาก ตามต�ำนานเชื่อกันว่าพุทธศาสนาได้เข้ามาในพม่านับต้ังแต่ยุคของพระเจ้า อโศก เม่ือครั้งที่พระองค์ส่งคณะสมณฑูตออกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน ต่างแดน นักประวตั ศิ าสตร์บางท่านไดใ้ หค้ วามเห็นว่าศนู ย์กลางของแผน่ ดิน สุวรรรณภูมิ คือเมืองสะเทิม หรือสุธรรมวดี (ท่าตอน) เป็นเมืองหลวงของ อาณาจกั รมอญ อนั เปน็ ศนู ยก์ ลางหรอื แหลง่ กำ� เนดิ ของของพทุ ธศาสนาทจี่ ะ ขยายตวั ตอ่ ไปทว่ั ดนิ แดนพมา่ ในเวลาตอ่ มา2 แตโ่ ดยทวั่ ไปคนเชอ้ื ชาตพิ มา่ เอง 1 ในเอกสารนผ้ี ้เู ขยี นจะใชค้ �ำวา่ “พมา่ ” แทน “เมยี นมา” ตามความคนุ้ เคยของ ผอู้ า่ นท่ัวๆ ไป 2 หมอ่ ง ทนิ ออ่ ง, ประวตั ศิ าสตรพ์ มา่ , เพช็ รี สมุ ติ ร แปล, พมิ พค์ รง้ั ที่ 3 (กรงุ เทพฯ: มูลนิธิโครงการต�ำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์: มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย, 2551), หน้า 5-8.

8 ก็ไม่ได้นับประวัติของตัวเองรวมเข้ากับอาณาจักรของมอญ แต่อธิบายผ่าน ต�ำนานว่า อาณาจักรเริ่มแรกของตนเอง คืออาณาจักรตะโก้ง ซ่ึงเป็น อาณาจักรของชาวพยูหรือปยุท่ีบางคนก็เชื่อกันว่าอพยพมาจากทางธิเบต บางคนกว็ ่าชาวพยูท่ีจริงคอื ชาวพม่าท่ีแทจ้ ริง3 ความผกู พนั ระหวา่ งชนในดนิ แดนพมา่ กบั พทุ ธศาสนายงั แสดงออก ผ่านต�ำนานหรือพงศาวดาร ท่ีบอกเล่าเร่ืองราวของราชวงศ์ต่างๆ ในพม่า โดยเก่ียวเน่ืองกับพุทธศาสนามาตลอด อาทิ พงศาวดารบางฉบับอ้างว่า พระพุทธโฆษาจารย์ ผู้รจนาคมั ภีรว์ ิสทุ ธมิ รรค คมั ภีรส์ �ำคัญของพทุ ธศาสนา ฝ่ายเถรวาท เป็นชาวมอญมาจากเมืองท่าตอนและเป็นผู้น�ำเอาคัมภีร์ พุทธศาสนาเถรวาทกลับมายังดินแดนบ้านเกิด แม้ว่าอาจไม่ตรงกับข้อ เท็จจริงทางประวัติศาสตร์ และราวคริสต์ศตวรรษที่ 5 เมืองท่าตอนและ พะโคก็มีช่ือเสียงในฐานะศูนย์กลางการเรียนรู้ทางพุทธศาสนาที่ส�ำคัญ4 ราวคริสตศ์ ตวรรษที่ 11 ความร่งุ เรืองของอาณาจกั รพยแู ละอาณาจกั รมอญ เดิมก็เสื่อมอ�ำนาจลง เข้าสู่ยุคของพระเจ้าอนุรุธ (หรืออโนรธา) ผู้ขยาย อาณาจกั รพุกามของพม่าใหย้ ่งิ ใหญข่ น้ึ มาใน ค.ศ. 1044 ถอื เปน็ อาณาจกั รท่ี อุปถัมภ์อุ้มชูพุทธศาสนาอย่างมากอีกสมัยหนึ่ง และเป็นจุดเริ่มของการ รวบรวมแผ่นดินพม่าให้เป็นปึกแผ่น5 การนับถือศาสนาในพุกามแต่เดิม 3 ด.ี จี.อี ฮอลล์, ประวัติศาสตร์เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้: สุวรรณภมู ิ-อษุ าคเนย์ ภาคพิสดาร, ท่านผู้หญิงวรุณยุพา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และคนอื่นๆ แปล, ชาญวิทย์ เกษตรศิริ บรรณาธิการ, พิมพ์ครั้งที่ 3 (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการต�ำราสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร,์ 2557), หน้า 143-146. 4 Roger Bischoff, Buddhism in Myanmar. (Kandy: Buddhist Publication Society, 1995), p. 13. 5 Ibid, p. 17.

9 มีการปะปนกันไปท้ังฝ่ายเถรวาท มหายาน ตันตระ และการนับถือผีแบบ ดั้งเดิม รวมไปถึงอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ฮินดูท่ีมาจากอาณาจักรเขมร ตามพงศาวดารเลา่ วา่ พระเจา้ อนรุ ธุ ไดอ้ ญั เชญิ พระไตรปฎิ กฉบบั สมบรู ณท์ ม่ี ี อยู่มายังเมืองนั้น และทำ� การจัดการกับพระภกิ ษุท่ีนอกรีต หรือการนบั ถอื ผี ต่างๆ (แมข้ ้อเท็จจรงิ ในเรือ่ งน้ยี งั มขี ้อโตแ้ ย้งอยู่)6 อยา่ งไรกด็ ี เป็นที่ยอมรับ กันวา่ การก�ำเนิดขน้ึ มาของอาณาจกั รพกุ ามมสี ว่ นเสริมให้พทุ ธศาสนาไดร้ ับ การอปุ ถมั ภจ์ นหยงั่ รากลกึ ในสงั คมพมา่ ซากโบสถ์ วหิ าร เจดยี ์ และวดั ทเี่ หลอื อยู่ในปัจจุบันเป็นเคร่ืองยืนยันได้ดี ขณะเดียวกัน แม้ฝ่ายเถรวาทจะได้รับ การยอมรับจากฝ่ายอาณาจักร หากในความเป็นจริงชาวบ้านชาวเมืองยังมี ความเชือ่ แบบผสมผสานกันท้ังพทุ ธ พราหมณ์ ผี ในสมัยต่อๆ มาการสนับสนุนพุทธศาสนาเถรวาทที่มีมาตั้งแต่ สมัยอาณาจักรพุกาม จึงเป็นฐานคิดหลักท่ีช้ีน�ำความคิดในเร่ืองการสร้างรัฐ สร้างสังคม และหล่อหลอมวัฒนธรรมพม่า เพราะได้รับการอุปถัมภ์จากรัฐ มากกว่าความเช่ือทางศาสนาแบบอ่ืนๆ ตามคติของกษัตริย์ที่นับถือพุทธ ที่ถือว่าการอุปถัมภ์ปกป้องคุ้มครองพุทธศาสนา เป็นพระราชกรณียกิจของ ธรรมราชา ในประวัติศาสตร์ของพม่าจะพบว่ามีการอ้างถึง การ “ช�ำระ” พุทธศาสนาให้บริสุทธ์ิของกษัตริย์พระองค์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นชนชาติพม่า มอญ หรืออื่นๆ ปรากฏอยู่เป็นระยะ เมื่อมีการ “ช�ำระ” ข้ึนคราวใด พุทธศาสนาแบบเถรวาทมักเป็นทางเลือกหลัก ของพุทธศาสนาท่ีบริสุทธ์ิใน การ “ช�ำระ” พุทธศาสนาดังกล่าว แต่ขณะเดียวกัน กษัตริย์แต่ละยุคสมัย ไม่สามารถก�ำจัด “สิ่งแปลกปลอม” ทางความเช่ือออกไปได้หมด จ�ำต้อง 6 Ibid, pp. 18-23. และ ดี.จ.ี อี ฮอลล์, ประวัติศาสตรเ์ อเชียตะวนั ออกเฉยี งใต:้ สุวรรณภูมิ-อุษาคเนยภ์ าคพสิ ดาร, หน้า 148-151.

10 ยอมรบั ถึงการด�ำรงอยู่ของลทั ธินิกายความเช่อื แบบอื่นๆ ไวด้ ว้ ย จึงสามารถ พบหลกั ฐานของการผสมผสานพทุ ธศาสนาแบบเถรวาทเขา้ กบั ความเชอ่ื อนื่ ๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นการนับถือผี อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ฮินดู หรือ อิทธิพลของพุทธศาสนาฝ่ายตันตระและมหายาน เช่นเดียวกับดินแดนอื่นๆ ในภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ สภาพทัว่ ไปของการแพทย์และสุขภาพในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ กอ่ นสมัยใหม่ กอ่ นทจี่ ะศกึ ษาเรอื่ งราวของการแพทยแ์ ละสขุ ภาพในดนิ แดนพมา่ โดยตรง หากเราลองมองภาพกว้างๆ ของการแพทย์และสุขภาพในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต้ังแต่โบราณมาจะพบว่า ความรู้ทางการแพทย์ที่ แพร่หลายมาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คงหลีกเล่ียงไม่พ้นไปจาก ความรู้ท่ีมาจากสองดินแดนมหาอ�ำนาจที่อยู่ใกล้เคียงคือ จีนและอินเดีย ทฤษฎีการแพทย์แบบจีนมีอิทธิพลอยู่ในเวียดนามเป็นหลัก แต่ก็กระจายใน ท่อี น่ื ๆ อยเู่ ช่นกนั ส่วนทฤษฎกี ารแพทยแ์ บบอินเดยี น้นั แพรห่ ลายอยู่ในชวา สยาม และพม่า นอกจากนี้ ยงั มีอิทธพิ ลของทฤษฎที างการแพทยแ์ บบกรีก และอาหรับผ่านมาทางศาสนาอิสลาม ดังนั้นเราจะพบแนวคิดเร่อื ง ดนิ น�้ำ ลม ไฟ ท่ีเปน็ ปัจจยั สำ� คัญของรา่ งกาย หรือแนวคดิ เรอื่ งรอ้ นและเย็น ซงึ่ มา จากแนวคิดแบบ “หยิน” และ “หยาง” ของการแพทยข์ องจนี กระจายใน ดนิ แดนต่างๆ ทว่ั ภมู ภิ าค7 7 แอนโทนี รีด, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในยุคการค้า ค.ศ. 1450-1680, พงษศ์ รี เลขะวฒั นะ, แปล ท่านผูห้ ญงิ วรณุ ยพุ า สนทิ วงศ์ ณ อยุธยา, พรรณงาม เง่าธรรมสาร บรรณาธิการ (เชยี งใหม่: ซิลค์เวอรม์ , 2548), หนา้ 55.

11 เปน็ ที่นา่ สนใจวา่ จากบันทึกของชาวตะวันตกหลายๆ คนที่เขา้ มา พำ� นกั ในภมู ิภาคนี้ ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง ครสิ ต์ศตวรรษที่ 18 บันทกึ เอาไว้ว่า ชาวยุโรปจ�ำนวนหนึ่งเห็นว่า อาการความเจ็บป่วยส่วนใหญ่หาก รกั ษาดว้ ยหมอพน้ื ถนิ่ จะไดผ้ ลทางการรกั ษาดกี วา่ การรกั ษาแบบตะวนั ตกดว้ ย ซ้�ำไป และยังเห็นว่า วิถีการกินอยู่แบบดั้งเดิมตามวัฒนธรรมท้องถิ่นใน ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ มสี ว่ นไมน่ ้อยในการทำ� ใหส้ ขุ ภาพโดยทั่วไป ของชาวบา้ นในภมู ภิ าคนแี้ ขง็ แรงตอ่ สกู้ บั โรคภยั ไดอ้ ยา่ งดี อาทิ การกนิ หมาก ท่ีมีทั้งปูนขาว ปูนแดง และใบพลู ท่ีหากสันนิษฐานตามหลักการแพทย์ สมัยใหม่ มีสรรพคุณในการฆ่าเช้ือตามความรู้สมัยใหม่ ช่วยป้องกันและ ควบคุมปรสิตและแบคทีเรียหลายชนิด อาจจะช่วยป้องกันเช้ือโรคที่มากับ น�้ำได้หลายชนิดอย8ู่ บรรดาหมอชาวพื้นเมืองที่รักษาตามแบบแผนดั้งเดิมในเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต้ นอกจากจะรกั ษาโรคทางกายและการรกั ษาโรคในมติ ทิ าง จิตวญิ ญาณมักกระท�ำการควบคไู่ ปดว้ ยกนั การรกั ษาอาการต่างๆ จะมีการ ประกอบพธิ ีกรรมเพ่ือเปน็ การเสรมิ พลังชีวิต หรอื ป้องกนั การแทรกแซงจาก อ�ำนาจเหนือธรรมชาติจากภายนอก เช่น จากภูตผีปิศาจหรือความช่ัวร้าย อื่นๆ ประกอบไปด้วยกัน ยิ่งถ้าเป็นความทุกข์ทางจิตใจและโรคระบาด รา้ ยแรง พธิ กี รรมจะเขา้ มามบี ทบาทอยา่ งมากตอ่ กระบวนการรกั ษาโรค อาจ จ�ำเป็นต้องใช้ผู้รักษาที่สามารถสื่อสารทางจิตวิญญาณได้อย่างเช่น คนทรง หมอผี นอกเหนือไปจากผู้มีความรู้ทางการแพทย์โดยปกติทั่วไป9 กล่าว โดยรวมคงบอกไดว้ า่ ในภมู ภิ าคนม้ี กี ารแพทยแ์ บบนามธรรมทอี่ า้ งองิ หรอื โยง 8 เรอื่ งเดยี วกนั , หน้า 57. 9 เร่อื งเดยี วกนั

12 ไปหาทฤษฎีทางการแพทย์ท่ีรับมาจากอารยธรรมอ่ืน ในลักษณะที่ไม่ต้อง ทดลองใหเ้ หน็ ผลเชงิ ประจกั ษช์ ดั เจน ผนวกกบั ความรทู้ างการแพทยท์ มี่ าจาก ความรเู้ ชิงประสบการณ์และเวทมนตรค์ าถาต่างๆ10 ยอ้ นกลบั มาดใู นประเทศพมา่ นบั ตง้ั แตใ่ นยคุ ของอาณาจกั รพกุ าม เม่ือมีการพัฒนาอักษรและภาษาพม่าข้ึนมา ท�ำให้การบันทึกเร่ืองราวต่างๆ เปน็ ระบบและมหี ลกั ฐานหลงเหลือไว้มากขน้ึ เป็นผลให้เราพอมีหลกั ฐานให้ ให้เห็นร่องรอยของพัฒนาการทางการแพทย์แบบด้ังเดิมของพม่านับแต่ยุค โบราณมาไดบ้ า้ ง หลักฐานทางโบราณคดีในสมัยอาณาจักรแรกๆ ของพม่า ท่ีขุด คน้ พบมโี บราณวตั ถทุ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การแพทยแ์ บบดงั้ เดมิ ของพมา่ ในลกั ษณะ ที่สัมพันธ์กับพุทธศาสนา เช่น การขุดค้นพบพระพิมพ์ที่มีอายุในราว ค.ศ. 1113-1160 มกี ารระบชุ อื่ ของตน้ ยาสมนุ ไพรไวบ้ นพระพมิ พน์ นั้ และยงั มกี าร พบจารึกหินจาก Saws Hla Wan จารึกไว้เม่ือ ค.ศ. 1236 ระบุต�ำแหน่ง “Thamar” ว่าเป็นตำ� แหนง่ ส�ำหรับผทู้ ่ีทรงความร้ใู นเรือ่ งการแพทย์ บรรดา พระสงฆใ์ นนกิ ายอารซี งึ่ เชอื่ กนั วา่ เปน็ นกิ ายฝา่ ยตนั ตระ-มหายานทแี่ พรห่ ลาย ในพมา่ เวลานนั้ กท็ ำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ โหราจารยห์ รอื ผพู้ ยากรณพ์ รอ้ มกบั การรกั ษา โรคไปดว้ ย11 เมื่อมาถึงยุคอาณาจักรอังวะ (ค.ศ. 1364-1733) มีศิลาจารึกที่ Thentnwekyaung จารึกความรู้ทางการแพทย์เรื่องสาเหตุของโรคต่างๆ และในโศลกของ Shin Mahasilavansa Shin Maha Rahttasara และ 10 เรื่องเดียวกัน, หนา้ 59. 11 U Win Ko, A Drop of rain in asia: a brief introduction to traditional burmese medicine., (California: Lulu Com, 2013.), p. 4.

13 Shin Aggasamadhi ไดร้ จนาขน้ึ มา มคี วามรทู้ างการแพทยป์ รากฏอยใู่ นนน้ั ด้วย เม่ือ Taungphilar Sayadaw ได้มาพ�ำนักยังอังวะตามค�ำนิมนต์ของ พระเจ้า Anaukphet Luan Min ท่านได้รจนาต�ำราแพทย์ท่ีส�ำคัญขึ้นมา หลายฉบับ อาทิ Konchardat Kyan (ต�ำราว่าด้วยการจ�ำแนกธาตุต่างๆ), Sampannadat Kyan (ตำ� ราวา่ ดว้ ยรวมธาตตุ า่ งๆ), Kammajayote Kyan (ตำ� ราว่าดว้ ยกำ� เนิดของทางกายภาพของสรรพสง่ิ ), Mahanarikonchadat Kyan (มหาตำ� ราวา่ ดว้ ยรายละเอยี ดแหง่ ธาต)ุ , Ahtadatukane Upadedtha Kyan (ต�ำราวา่ ด้วยหลกั แห่งธาตทุ ั้งแปด)12 อิทธิพลของการแพทย์แบบอายุรเวทของอินเดีย ตำ� ราวา่ ดว้ ยระบบการแพทยแ์ บบ Khway Saung ซง่ึ บนั ทกึ ไวโ้ ดย U Myat Tun ได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับนรีเวชวิทยา กุมารเวชศาสตร์ ไข้ตา่ งๆ โรคริดสีดวงทวาร ไข้ทรพษิ โรคอีสกุ อใี ส แผลเป่อื ย อาการท้องเดิน และอาการทางจติ เวชต่างๆ เชื่อกนั วา่ ศัพท์ทางการแพทยท์ ใ่ี ช้ในต�ำราเล่มน้ี น�ำมาจากคัมภีร์อายุรเวทของทางอินเดีย ปัจจัยหนึ่งที่สนับสนุนความเช่ือน้ี ไดแ้ ก่ การท่ีพระเจา้ ปดงุ (หรือโบโดพญา ครองราชย์ระหวา่ ง ค.ศ. 1782- 1819) ส่งคณะไปน�ำเอาคัมภีร์แพทย์กลับมาจากอินเดีย โดยได้เดินทางไป เมอื่ ค.ศ. 1785 คณะดงั กลา่ วไดน้ ำ� เอาคมั ภรี ก์ ลบั มาหกเลม่ และถกู แปลออก มาเป็นภาษาพม่าโดย Maungtaung Sayadaw ซ่ึงเป็นพระเถระผู้ใหญ่ ท่านผู้นี้ยังได้รจนาคัมภีร์อภิธานศัพท์ว่าด้วยสมุนไพร 700 ชนิดอีกด้วย ตำ� ราการแพทยเ์ ลม่ สำ� คญั Naya Nga twe ทแ่ี ตง่ โดยอารกั ษห์ ลวง U Kaung 12 Ibid.

14 ใน ค.ศ. 1805 ได้รับการยอมรับจากบรรดาแพทย์ท้ังหลายและถูกใช้ เร่อื ยมา13 พัฒนาการของการแพทยแ์ บบดัง้ เดิมของพม่าตอนเร่มิ เข้าสสู่ มยั ใหม่ ยุคราชวงศ์คองบอง (ค.ศ. 1752-1885) เปน็ ยุคทก่ี ารแพทย์ของ พม่ามีพัฒนาการหลากหลาย เกิดต�ำราการแพทย์มากมาย Taungtwin Sayadaw Khingyi Phyaw, ผู้ได้สมณศักดิ์ที่ “ชิน ญาณ” ได้รจนาต�ำรา แพทย์ไว้หลายคัมภีร์ อาทิ ต�ำรา Dwadarasi, Dwadathasinta Nakkhat, Adicappa, Sanawuti, Ahtitidat, Angavijjatika, และ Kawaisara ในช่วงปลายของราชวงศ์คองบอง (ค.ศ. 1857-1885) ต�ำรา การแพทย์แบบอายุรเวทจ�ำนวนมาก ได้รับการแปลมาเป็นภาษาพม่าโดย พระภิกษุ อย่างเช่น Lin Ka Rama, Srilanka Ashin Damaratana, Bangla Sayadaw และ Ashin Ravinda Mahtae สมณะเหล่าน้ีได้แปล Bethitsa Myintzutha ที่อ้างอิงต�ำรับยาแบบอายุรเวทมากถึง 75 ต�ำรับ ต�ำราท่ีส�ำคัญอีกฉบับหน่ึงในสมัยน้ีคือ Utubawzana Singhaha ท่ีรจนา โดย U Pho Hlaing ต�ำราน้ีอธิบายว่าด้วยวิถีของการด�ำรงชีวิตให้ดีอย่าง สอดคล้องกับฤดูกาล โดยระบบคิดของคัมภีร์น้ีวางอยู่บนฐานของทฤษฎี ธาตุท้ังห้า14 นอกจากนี้ เขายังได้แต่งต�ำราเกี่ยวกับกายวิภาคท่ีมีชื่อว่า กายานปุ ัสสนา15 13 Ibid., p. 5. 14 Ibid. 15 Ibid

15 ในรัชสมัยของพระเจ้ามินดง มีระบบการแพทย์ที่ประยุกต์ข้ึนมา โดย U Hmont เรียกว่า “การวิเคราะห์โรคหกวิธี” โดยฐานคิดในการ วเิ คราะหโ์ รคระบบนี้ ตงั้ อยบู่ นแนวคดิ เรอ่ื ง “รอ้ น” และ “เยน็ ” ซง่ึ เปน็ สาเหตุ แห่งการเกิดโรคในตัวมนุษย์ ท่านผู้น้ียังรักษาอาการถ่ายเป็นเลือดและ โรคข้ออักเสบของพระเจ้ามินดง จนได้รับการแต่งตั้งให้มีบรรดาศักดิ์เป็นที่ “Tikissaca Bithetcaraja” หรอื “แพทยผ์ ชู้ ำ� นาญการรกั ษาโรค” ทา่ นยงั ได้ คิดค้นระบบการแพทย์ Taung Tha ท่ีถูกจารไว้บนใบลานสิบสองพับและ บรรดาแพทยแ์ ผนเดมิ ในพมา่ ทง้ั หลายนำ� ไปใชก้ นั อยา่ งกวา้ งขวางแตน่ น้ั มา16 ยคุ สมยั นก้ี ารแพทยแ์ บบดงั้ เดมิ ของพมา่ ไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งมากและถกู นำ� ไปใช้กันแทบจะท่ัวทุกหนแห่ง พระเจ้ามินดงเองก็สนับสนุนการพัฒนา การแพทย์แบบด้ังเดิมและแต่งต้ังให้หมอหลวงด�ำรงต�ำแหน่งโดยกฎเกณฑ์ ด้ังนี้ 1. เป็นผู้ท่ีสืบทอดมาจากสายตระกูลหมอ 2. มีทักษะและความรู้ อย่างยอดเย่ียมทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัติ 3. ผ่านชุดการทดสอบที่ หมอหลวงออกข้อสอบไว้ จากนน้ั โดยความเหน็ ของฝา่ ยตา่ งๆ เช่น ที่ปรกึ ษา ในพระองค์ ท่ีปรึกษาด้านการคลังในพระองค์ อาลักษณ์ ราชเลขาธิการ และพนักงานในราชส�ำนัก หากเห็นชอบจึงจะทรงแต่งต้ังให้ด�ำรงต�ำแหน่ง “Mahabisetcaraja” มีเบ้ียหวัดประจ�ำต�ำแหน่ง 53 เหรียญเงินต่อเดือน พร้อมด้วยกระเป๋าและชุดประจ�ำต�ำแหน่ง17 ในรัชสมัยของพระเจ้ามินดงมี บนั ทกึ วา่ มีการแตง่ ตง้ั แพทยห์ ลวง 11 คน ใหม้ ีอำ� นาจสิทธข์ิ าดรบั ผดิ ชอบ ดูแลห้องเครื่อง ซ่ึงแม้แต่องค์พระมหากษัตริย์ก็มิอาจจะเข้าไปแทรกแซง 16 U Win Ko, A Drop of rain in asia: a brief introduction to traditional burmese medicine, pp. 5-6. 17 Ibid.

16 ได1้ 8เป็นเครือ่ งแสดงถึงการยอมรบั ในความรู้และสถานะของการแพทยแ์ ผน ดั้งเดมิ ของพม่าในราชส�ำนักเป็นอยา่ งมาก ขณะเดียวกันการแพทย์แผนจีนและการแพทย์แบบตะวันตก สมัยใหม่ก็ปรากฏในหลักฐานสมัยราชวงศ์คองบองด้วยเช่นกัน ในสมัย พระเจ้าปดุงมีการน�ำเอาการปลูกฝีเพ่ือป้องกันไข้ทรพิษเข้ามาใช้เม่ือ ค.ศ. 1798 และมีบันทึกถึงการใช้ยาที่ท�ำจากกระดูกสัตว์ของแพทย์แผนจีนใน ค.ศ. 1869 โดยการแนะนำ� ของแพทยจ์ นี ทเ่ี ดนิ ทางมาในชว่ งนนั้ ในรชั สมัย พระเจา้ ธบี อซึ่งเปน็ กษัตรยิ อ์ งค์สดุ ท้ายของพมา่ U Ment ผเู้ ป็นแพทยใ์ หญ่ คนส�ำคัญของสำ� นัก Taung Tha ได้ถงึ แกอ่ นจิ กรรม แต่กม็ ีศษิ ย์ของทา่ นอีก หลายคนไดส้ บื ทอดวชิ าตอ่ มา ได้แก่ U Hmont U Pan Tha U Pho Min U Kae U Chan Tha U R Sara เปน็ ต้น19 อิทธพิ ลของตะวันตกกับพัฒนาการของการแพทย์ด้งั เดมิ ของพมา่ ในสมัยที่อังกฤษปกครองพม่า (ค.ศ. 1885-1948) พม่าจะต้อง สูญเสียส่ิงที่เรียกได้ว่าอัตลักษณ์ส�ำคัญของความเป็นชาติไป อาทิ ระบอบ กษัตริย์ อธิปไตยเหนือดินแดน แต่ก็ยังเหลืออัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่าง 18 Khin Su Wai. Taking stock of traditional med. Myanmar Times[Online]. (22 June 2015) Available from: https://www.mmtimes.com/ special-features/208-health-2015/15164-taking-stock-of-traditional-med.html[16 October 2017]. 19 เทพนิ ทร์ พชั รานรุ กั ษ,์ “การพฒั นาการแพทยพ์ นื้ บา้ นพมา่ : มาตรฐานการรกั ษา โรคและโอกาสของคนจน.” ใน วฒั นธรรมสขุ ภาพในสงั คมอาเซยี น. โกมาตร จงึ เสถยี รทรพั ย์ เทพินทร์ พัชรานุรักษ์ และปารณัฐ สุขสุทธิ์, บรรณาธิการ (นนทบุรี: ส�ำนักวิจัยสังคมและ สุขภาพ, 2558), หน้า 76.

17 ส�ำคัญ อันมีบทบาทส�ำคัญต่อชีวิตของชาวพม่านั่นคือ พุทธศาสนาและ วัฒนธรรมอื่นที่เนื่องกับพุทธศาสนา การแพทย์แบบดั้งเดิมของพม่าท่ี แนบแนน่ กบั พทุ ธศาสนา จงึ เปน็ อกี สง่ิ หนงึ่ ทยี งั คงมชี วี ติ ของตนเองโดยไมถ่ กู อังกฤษเบียดขบั ออกไปจากชวี ิตของคนพมา่ มีแพทย์และพระภิกษุที่เช่ียวชาญเรื่องการแพทย์แบบดั้งเดิม ของพม่าอยเู่ ป็นจำ� นวนมาก ท่ีมีช่อื เสยี งกไ็ ด้แก่ Mahasangharaja Taung Khwin, Saya Hmet, Thonse U Pan Tha, U Chan Th, U Pho Minn, U Kae, Galoon Saya San, khanbu Monk, Myo Phin Kyi Sayadaw, A Shin Sandavansa, Manlesayadaw, Leti Sayadaw, U Eindriya. ทา่ นเหลา่ นี้ นอกจากจะเปน็ แพทยผ์ มู้ ชี อื่ เสยี งแลว้ ยงั รจนาคมั ภรี แ์ พทยแ์ ละ ต�ำรายาไว้จ�ำนวนมาก20 ข้างรัฐบาลอาณานิคมอังกฤษที่ปกครองพม่านั้น สนใจการแพทย์แบบด้งั เดมิ ของพม่าอยู่ไม่นอ้ ย ในชว่ ง ค.ศ. 1930 โดยมีการ ต้ังคณะกรรมการเพื่อสืบค้นรวบรวมความรู้ในระบบการแพทย์ดั้งเดิมของ พมา่ โดยคณะกรรมการชดุ ดงั กลา่ วทำ� งานเปน็ ระยะเวลาสองปแี ละนำ� เสนอ ออกมาเปน็ รายงานทม่ี ขี อ้ เสนอแนะบางประการ อาทิ เสนอใหม้ กี ารเปดิ สอบ วดั ความรู้ มกี ารฝกึ อบรม มกี ารขน้ึ ทะเบยี นแพทยแ์ บบดง้ั เดมิ มกี ารเสนอให้ จัดต้ังโรงพยาบาล คลินิก และสวนสมุนไพร และรายงานเสนอให้มีการ รวบรวมและเสนอชุดความรู้การแพทย์เชิงจิตวิญญาณและพิธีกรรม (Weizzadharanaya) หลังจากได้รับเอกราชในช่วงระหวา่ ง ค.ศ. 1948 ถงึ ค.ศ. 1962 รัฐบาลได้ต้ังคณะกรรมการเพ่ือพัฒนาการแพทย์แบบด้ังเดิมให้ สอดรบั กบั ความทันสมยั มากขึน้ 21 20 U Win Ko, A Drop of Rain in Asia: A Brief Introduction to Traditional Burmese Medicine. P.6. 21 Ibid.

18 ขณะเดียวกัน ในสมัยอังกฤษเข้ามาปกครองพม่าในฐานะ อาณานิคม ความรู้ทางการแพทย์แบบดั้งเดิมของพม่าต้องเผชิญหน้ากับ ความทา้ ทายของความรทู้ างการแพทยแ์ บบตะวนั ตกสมยั ใหม่ ซงึ่ ไมไ่ ดเ้ ขา้ มา แตเ่ ฉพาะองคค์ วามรทู้ อ่ี า้ งวา่ เหนอื กวา่ เทา่ นน้ั หากยงั ไดร้ บั การเกอื้ หนนุ จาก รฐั บาลอาณานคิ มในการตอ่ สทู้ า้ ทายกบั การแพทยด์ ง้ั เดมิ มตี วั อยา่ งหนง่ึ ของ ความขดั แยง้ ในกรณขี องวธิ กี ารปอ้ งกนั โรคไขท้ รพษิ ทนี่ กั วชิ าการชาวองั กฤษ ที่เช่ียวชาญเร่อื งพม่าผู้หนึ่งไดว้ ิเคราะห์ปญั หานเ้ี อาไว้ ความไม่พอใจต่ออาณานิคมอังกฤษของชาวบ้านในเขตชนบท ประการหน่ึง คือความไม่พอใจต่อความปรารถนาที่จะสยบยอมต่อการ สถาปนาความรู้ทางการแพทย์ของเจ้าอาณานิคม โดยเฉพาะความรู้นั้นมา พรอ้ มกบั โรคระบาดรา้ ยแรงอยา่ งไขท้ รพษิ การปลกู ทรพษิ (inoculation)22 เป็นเร่ืองปกติในเขตชนบทของพม่าตง้ั แต่ปลายศตวรรษที่ 18 และในช่วงที่ องั กฤษปกครอง วธิ กี ารปลกู ทรพษิ นกี้ ลายเปน็ วธิ กี ารทถ่ี กู เลอื กใชเ้ พอ่ื ปอ้ งกนั การระบาดของไขท้ รพษิ หากสถาบนั ทางการแพทยข์ องอาณานคิ ม มองขา้ ม การแพทย์ดั้งเดิมโดยมากของพม่า เพราะเห็นไปว่าเป็นเรื่องหลอกลวง จึง ชอบทจ่ี ะกำ� หนดใหป้ อ้ งกนั ไขท้ รพษิ ระบาดโดยวธิ กี ารปลกู ฝี (vaccination) มากกว่า หากดูแต่ภายนอกวิธีการท้ังสองดูคล้ายๆ กัน แต่กระบวนการใน รายละเอยี ดตา่ งกนั อยู่ ในสมัยนน้ั ส่ิงท่ีตา่ งกนั อย่างแทจ้ รงิ แล้ว ไม่เก่ยี วข้อง อันใดกับข้อถกเถียงที่ปรากฏในปัจจุบัน ไม่ต้องกล่าวถึงเรื่องที่ว่าการปลูกฝี น้ันเป็นส่ิงท่ีดีกว่าการปลูกทรพิษ หากแต่ในมุมมองของชาวบ้านในพม่า 22 การนำ� เชอื้ จากผปู้ ว่ ยใสเ่ ขา้ ไปในรา่ งกายของคนทย่ี งั ไมป่ ว่ ย เชน่ การแพทยจ์ นี กจ็ ะใชห้ นองของผู้ป่วยมาท�ำใหแ้ ห้งเป็นผงแล้วเป่าเข้าไปทางจมกู ของผทู้ ่ีตอ้ งการปลูกทรพิษ

19 เรื่องนี้เป็นเร่ืองของการเลือกท่ีจะรับการรักษาจากหมอท้องถิ่นที่มาท�ำการ ปลูกทรพิษ เป็นการยอมรับในเร่ืองวิถีแห่งการรักษามากกว่าจะเป็นการ ยอมรบั การเปลย่ี นแปลงสวู่ ธิ กี ารทไ่ี ดผ้ ลเชน่ กนั แตเ่ ปน็ ของพวกฝรงั่ ตา่ งชาติ ใน ค.ศ. 1920 องคก์ รดา้ นการแพทย์ของอาณานิคม พยายามขดั ขวางไมใ่ ห้ ชาวบา้ นสามารถทำ� การปลกู ทรพษิ ไดอ้ ยา่ งทตี่ อ้ งการ ดว้ ยการออกกฎหมาย บงั คบั ให้มาปลกู ฝี โดยมิได้เห็นถึงความพยายามใดๆ ในการโน้มนา้ วใจท่ีจะ ใหพ้ วกชาวบ้านเปลยี่ นใจหันมานยิ มการปลูกฝี ดว้ ยการนำ� เสนอความรู้และ ขอ้ มลู วา่ การปลกู ฝนี น้ั ดกี วา่ วธิ กี ารเดมิ อยา่ งไร ชาวพมา่ ตอ้ งเผชญิ กบั การปรบั เงินหรือคุมขังเพื่อกดดันให้ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ดังน้ันเม่ือชาวพม่าใน ชนบทลกุ ขึน้ มาจดั ตั้งองคก์ รเพอื่ การต่อสกู้ ับศาลของอาณานคิ ม ขา้ ราชการ และนายทุนเงินกู้ ในช่วงทศวรรษของ ค.ศ. 1920 เรื่องการปลูกฝีของ อาณานิคมกลายเปน็ ประเด็นหนงึ่ ทีถ่ กู นำ� เขา้ มาเก่ียวขอ้ งด้วย23 มุมมองต่อการแพทยแ์ บบดัง้ เดิมของพมา่ ผ่านสายตาแพทยต์ ะวันตก ใน ค.ศ. 1848 (ปลายรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ) มกี ารนำ� เสนอรายงานการสำ� รวจสภาพการณด์ า้ นการแพทยก์ ารสาธารณสขุ ของชาวพม่าจากมุมมองของแพทย์ชาวอังกฤษ เอ็ดมันด์ อเล็กซานเดอร์ พาร์กส (Edmund Alexander Parkes) ที่รับราชการในบริติชอินเดีย (หรืออาณานิคมอินเดียที่อังกฤษปกครองซึ่งภายหลังพม่าก็ถูกผนวกรวม เขา้ ไปดว้ ย) 23 Michael W. Charney, A history of modern Burma, (Cambridge: Cambridge University Press, 2009), p. 9.

20 พาร์กส น�ำเสนอว่า การแพทย์ที่เขาเห็นในพม่าช่วงเวลาน้ัน แบ่งออกได้เป็นสองประเภทคือ การแพทย์ที่ท�ำการรักษาโดยฆราวาส และการแพทย์ท่ีรักษาโดยพระภิกษุในพุทธศาสนา โดยที่พม่าเป็นชาติท่ี นบั ถือพุทธศาสนาเปน็ หลกั ดังน้ันความรใู้ นเชงิ วิทยาศาสตร์จงึ ผนวกรวมไป อยู่ในความรู้ทางศาสนาด้วย ความรู้ในเชิงทฤษฎีการแพทย์ก็เช่นกัน และความรู้ดังกล่าวหาได้มาจากการค้นพบของมนุษย์ทั่วไป หากมาจาก พระสพั พญั ญญู าณขององคพ์ ระสมณโคดมหรอื พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระองค์ ปัจจุบัน ดังนั้นการฝึกฝนหัตการต่างๆ ทางการแพทย์จึงอยู่ในแวดวงของ พระภิกษุสงฆ์ พระภิกษุท้ังหลายยังทรงภูมิรู้ในเรื่องโหราศาสตร์และการ พยากรณด์ ว้ ย24 สว่ นฝง่ั ฆราวาสนน้ั หมอแผนเดมิ หรอื หมอพน้ื บา้ นในพมา่ ไมไ่ ดท้ ำ� หน้าที่หมอแต่อย่างเดียวแต่ประกอบอาชีพอ่ืนๆ ไปด้วย พาร์กส บันทึกว่า หมอพ้ืนบ้านฝ่ายฆราวาส ผู้ที่ให้ข้อมูลกับเขาเป็นหลักก็เป็นครูโรงเรียนไป พรอ้ มกนั ดว้ ย ความรทู้ างการแพทยถ์ กู สง่ ตอ่ กนั มาในครอบครวั ไมม่ กี ารสอบ เพื่อขอใบอนุญาต แต่คนท่ัวไปก็ให้การยอมรับกับผู้ท่ีเขารู้ว่าเรียนมาทางน้ี เป็นอย่างดี โดยท่ัวไปผู้ที่จะฝึกวิชาแพทย์จะถูกส่งไปเรียนที่วัดแต่เล็กๆ โดยมพี ระภกิ ษเุ ปน็ ครอู าจารย์ เพอ่ื ศกึ ษาสรรพวทิ ยาทว่ั ไป โดยมากผทู้ มี่ ฐี านะ ดกี จ็ ะทำ� เชน่ นี้ เมอื่ เรยี นจบแลว้ กลบั ออกมาจากวดั จงึ จะกลบั มาฝกึ เรยี นวชิ า แพทย์ที่บ้านกับบิดาท่ีมักจะเป็นเป็นแพทย์ (หรือ Sathamar) จนกว่าจะ ชำ� นาญและออกไปเปน็ แพทย์ได้25 24 E. A. Parkes, “On the State of Medicine among the Burmese,” London Journal of Medicine, 3, 29 (May, 1851): 408-409. 25 Ibid., p. 409.

21 พารก์ ส์ บนั ทกึ ไวว้ า่ เมอ่ื อยทู่ วี่ ดั พวกเขาจะไดเ้ รยี นรเู้ รอื่ งการสงั เกต ถงึ โรคและอาการตา่ งๆ ของโรค แตก่ ไ็ มไ่ ดเ้ รยี นเรอื่ งกายวภิ าคและสรรี วทิ ยา รวมไปถงึ การออ่ นความเขา้ ใจในเรอ่ื งเคมี แตค่ วามรเู้ รอื่ งยาทจ่ี ะใชก้ บั อาการ ทางกายของพวกเขากม็ ากมายเกนิ จะนบั โดยพวกเขามสี ตู รปรงุ ยาของตนเอง ซึ่งการปรุงยาดังท่ีว่าน้ัน เขาจะต้องค�ำนึงถึงความแตกต่างทางร่างกายของ ผู้ป่วยแต่ละคน รวมไปถึงอิทธิพลของสภาพลมฟ้าอากาศที่มีต่ออาการ น้ันด้วย จนเรียกไดว้ ่าเป็น “การแพทยเ์ ชิงประจักษ์อยา่ งสมบรู ณ”์ ไม่ได้แค่ วเิ คราะหโ์ รคโดยดทู เี่ หตขุ องโรคหากยงั ใสใ่ จกบั ผลทเี่ กดิ ขน้ึ ดว้ ย ไมไ่ ดอ้ ธบิ าย โรคจากทฤษฎี หากใสใ่ จกับอาการและผลท่เี กิดจากการรักษาดว้ ย26 ต�ำราแพทย์ของพม่าตามท่ีพาร์กสรับรู้มามีจ�ำนวนมากมาย และมีความยึดโยงกับธรรมเนียมท่ีต้องใช้ภาษาศักด์ิสิทธิ์ของพุทธศาสนา คือภาษาบาลีในการบันทึก แต่มีภาษาสันสกฤตอยู่บ้าง อักษรท่ีใช้คือ อักษรภาษาพม่าจารเอาไว้บนในลาน ต�ำราแพทย์ต่างๆ มักข้ึนต้นด้วย ประณามพจนท์ เี่ ปน็ บทสรรญเสรญิ พระพทุ ธคณุ เมอ่ื เขา้ สเู่ นอื้ หาของตำ� ราก็ จะเริ่มด้วยการอธิบาย “อารมณ์ท้ัง 5”27 ท่ีจะกระจายไปอยู่ในส่วนต่างๆ ของรา่ งกายในสดั สว่ นทไี่ มเ่ ทา่ กนั ขณะเดยี วกนั กย็ งั แตกตา่ งกนั ไปตามแตล่ ะ บุคคลหรือแต่ละฤดู ซึ่งความเป็นไปเหล่าน้ันไม่ได้ตั้งอยู่บนสิ่งที่ปรากฏ ออกมาในทางกายภาพ แตอ่ ธบิ ายวา่ มาจากน�้ำดที ม่ี ากเกนิ ไป หรือเสมหะท่ี มากเกินไป เม่ือสิ่งเหล่านี้มากไปก็ท�ำให้น�ำไปสู่การเสียสติได้ ความมีมาก หรือมีน้อยเกินไปในอารมณ์ต่างๆ จะเป็นเหตุแห่งโรค ขณะเดียวกันปัจจัย 26 Ibid., p. 410. 27 ในตน้ ฉบบั ใชค้ ำ� วา่ temperament ซงึ่ นา่ จะหมายถงึ อารมณ์ แตเ่ มอื่ ดใู นสาระ แลว้ น่าจะหมายถงึ ธาตทุ งั้ หา้ ในร่างกายตามหลักพทุ ธศาสนามากกว่า

22 ภายนอกกเ็ ปน็ เหตขุ องความผดิ ปกตเิ หลา่ นไ้ี ดเ้ ชน่ กนั ไมว่ า่ จะมาจากฤดกู าล หรอื จากภูตผปี ศิ าจ28 หากบุคคลใดถูกรบกวนในอารมณ์แรก (Ta-so-dah) หรือ “เตโชธาตุ” จะเกิดอาการไข้จนบุคคลน้ันหนาวสั่นและขนลุก อยู่ในอาการ เซื่องซมึ และหวาดกลัว กินอาหารไม่รู้รส29 หากบุคคลใดถูกรบกวนในอารมณ์ท่ีสอง (Wy-o-dah) หรือ “วาโยธาตุ” จะเกิดโรคในอกหรือที่ศีรษะ หากเกิดท่ีอกจะมีอาการจาม ไอ อาเจียน ตาพร่ามวั หตู ึงหรอื ไมไ่ ดย้ ิน ปวดเม่ือยเหนอ่ื ยออ่ น กระสบั กระส่าย ปวดตามแขนขา เสมหะข้นเหนียว หากเกิดในศีรษะก็จะมีผลมากไปอีก เจ็บตา หากเกิดอาการท่ีหัว อาการอาจมากข้ึนไปอีก จะมีอาการปวด หรือกลับกันผิวหนังบางส่วนจะชาไร้ความรู้สึก ร่างกายคร่ึงซีกมีอาการชา ไร้ความร้สู กึ ใบหนา้ อาจเบีย้ วไปซกี หน่ึง ลิน้ แขง็ และไร้ความรู้สึก งง น้วิ มอื แขง็ เกรง็ มอื และเทา้ หงกิ งอ ลำ� ตัวโค้งงอ30 หากบุคคลใดถูกรบกวนในอารมณ์ท่ีสาม (Ar-bo-dah) หรือ “อาโปธาตุ” จะเกิดโรคท่ีผิวหนัง จนเกิดเป็นกามโรคที่มีอาการทางผิวหนัง (verereal cutaneous diseased) ผวิ หนงั จะเปลยี่ นเปน็ สที องแดง แดงเขม้ หรือแดงจางๆ หรือมีลักษณะคล้ายดังข้ีผึ้ง จะมีจุดอยู่บนผิวหนังพร้อมกับ อาการคันจนผิวแตก ผลเสียอย่างที่สุดจากอาการป่วยด้วยอารมณ์น้ีคือ ไข้ทรพิษ อีสุกอใี ส และโรคเรอ้ื น31 p. 411. 28 E. A. Parkes, “On the State of Medicine among the Burmese,” 29 Ibid. 30 Ibid.,, p. 410-411. 31 Ibid., p. 411.

23 หากบคุ คลใดถูกรบกวนดว้ ยอารมณ์ทส่ี ่ี (Put-ta-why-dah) หรือ “ปถวีธาต”ุ เกิดอาการลำ� ไส้มปี ญั หา ท้องรว่ ง และมีอาการท้องบวมอดื 32 หากบุคคลถกู รบกวนด้วยอารมณท์ ่ี 5 (Ar-can-dhar-dah) หรือ “อากาสธาต”ุ เพมิ่ มากขนึ้ จะทำ� ใหผ้ วิ หนงั แหง้ เปน็ พเิ ศษและตกสะเกด็ หาก อารมณน์ ลี้ ดลง ก็จะท�ำให้เกิดเหงอื่ ออกมากและซบู ผอม เหงื่อจะมีสีขุ่น33 อาการทเี่ กดิ จากอารมณ์หรือธาตุท้ัง 5 น้ี ไมไ่ ดม้ ีโดยเทา่ เทียมกนั และนอกจากน้ี กอ่ นบุคคลจะอายคุ รบ 16 ปี เสมหะจะมีอิทธิพลตอ่ ร่างกาย มากท่สี ุด ระหวา่ งอายุ 16-32 ปี นำ�้ ดีจะมอี ิทธิพลมากกว่า หลังจากอายุน้นั จะเป็นเสมหะอีกที นอกจากน้ีอารมณ์หรือธาตุทั้งห้ายังสัมพันธ์กับอิทธิพล ของปจั จัยภายนอกอยา่ งเช่น ฤดูกาล อกี ด้วย เตโชธาตุ จะมักก�ำเรบิ ง่ายใน ช่วงเดือนเมษายน สิงหาคม และธันวาคม อาโปธาตุ มักก�ำเริบง่ายในช่วง เดอื นตลุ าคม และกรกฎาคม ในคมั ภรี แ์ พทยย์ งั บอกถงึ ตำ� รบั ยาทจ่ี ดั ปรงุ แบง่ ตามธาตตุ า่ งๆ ตำ� รบั ยาเหลา่ นนั้ มกั ประกอบไปดว้ ยตวั ยาจากสมนุ ไพร สารหนู ปรอท และพลวง ตัวอย่างวธิ ีการรกั ษาคอื เม่อื อารมณต์ า่ งๆ ก�ำเรบิ ข้นึ ท�ำให้ เกิดเปน็ ไข้ จะมกี ารส่งั ยาท่ที ำ� ให้อาเจียนออกมากอ่ น จากน้ันก็ใช้เครอ่ื งเทศ ตา่ งๆ กานพลู ขงิ และใส่สมุนไพรไปอกี โดยเฉพาะพวกทม่ี ีคณุ สมบตั ิบ�ำรงุ ก�ำลงั และกล่ินหอม สว่ นมากทำ� มาจากน�้ำจากดอกไม3้ 4 พารก์ ส ยงั บนั ทกึ วา่ โรคของชาวพมา่ ทรี่ จู้ กั กนั นนั้ ตา่ งจากโรคของ ชาวตะวนั ตก โรคทพ่ี บมากกม็ ี อาการลำ� ไสผ้ ดิ ปกติ ไขป้ า่ ขอ้ อกั เสบ ไขท้ รพษิ 32 Ibid. 33 Ibid. 34 E. A. Parkes, “On the State of Medicine among the Burmese,” p. 412.

24 กามโรค โรคเรอ้ื น ทไี่ มค่ อ่ ยพบคอื โรคเบร-่ี เบรี่ โรคหลอดลมอกั เสบ ปอดบวม วัณโรค โรคที่เป็นกันในโลกตะวันตกท่ีเกิดจากการพัฒนาต่างๆ ก็ไม่พบ โรคเสียจริตหรือโรคประสาทก็ไม่ค่อยพบ โรคท้องอืดท้องเฟ้อหรือโรคตับก็ ไม่ค่อยพบ เขายอมรับว่าบรรดาแพทย์พ้ืนเมืองหรือแผนเดิมของพม่าใช้ยา จ�ำนวนมากทเี่ ขาไม่รูจ้ ัก ทีช่ าวยโุ รปพอจะร้จู ักบา้ งกไ็ ดแ้ ก่ ฝิน่ กัญชา สีเสยี ด ไม้จ�ำพวกทองกวาว รง การบูร หมาก กระวาน และพวกเครื่องเทศ ยหี่ รา่ ดนิ สอพอง พลวง สารหนู ปรอท น�้ำมนั ละหงุ่ ยาสูบ และต�ำรับยาท่ปี รงุ ก็ ซบั ซอ้ นมากบางต�ำรบั ใช้ยาถึง 60 ชนิด วิธีปรงุ ยากม็ ที ัง้ การใช้ในรูปของยา เม็ดและยาต้ม35 พารก์ ส เหน็ วา่ การแพทย์พน้ื บ้านหรอื แบบดั้งเดมิ ของพมา่ นั้น เป็นผลมาจากการสังเกตและการปฏิบัติ โดยการดูผลการรักษาจาก อาการ แม้ว่าจะมีทฤษฎีแต่ดูเหมือนว่าทั้งทฤษฎีและต�ำรับยาต่างๆ ไม่ได้มี ฐานคิดมาจากการอุปนัยจากปรากฏการณ์น�ำมาสร้างเป็นทฤษฎี และอาจ เป็นไปได้ว่าผลจากการปฏิบัตติ ่างหากทีส่ ร้างตวั ทฤษฎขี ึน้ มา36 พารก์ ส ได้กล่าวถึงเรื่องการใช้อ�ำนาจเหนอื ธรรมชาตใิ นการรักษา โรคด้วยการแพทย์แบบดั้งเดิมของพม่า โดยบอกว่า เป็นเรื่องปกติมาก ท่ีจะเห็นหมอหรือชาวบ้านใช้เวทย์มนต์คาถาในการนี้ โรคร้ายแรงอย่าง อหิวาตกโรค ไข้ทรพิษ ล้วนถูกอ้างเหตุไปถึงความมุ่งร้ายของภูตผีปิศาจ ซงึ่ ตอ้ งมีการป้องกนั ด้วยวตั ถมุ งคล การสาธยายมนต์ หรอื การใช้คาถา เขา ยกตวั อยา่ งของอหวิ าตกโรคทเี่ ชอื่ กนั วา่ เปน็ โรคทเี่ กดิ จากผลของอาชญากรรม ทีผ่ ู้ป่วยเคยกระทำ� ไว้ เมือ่ ผ้ปู ว่ ยตายลงไปภตู ผีปิศาจก็สามารถมายดึ รา่ งกาย ของเขาเพอ่ื เปน็ การแกแ้ คน้ ได้ บรรดาญาตมิ ติ รของผปู้ ว่ ยจงึ ตอ้ งมาชมุ นมุ กนั 35 Ibid. 36 Ibid., p. 414.

25 ลอ้ มรอบศพ และแสดงทา่ ทางทดี่ รุ า้ ยพรอ้ มตะโกนเสยี งดงั เพอื่ ขม่ ขภู่ ตู ผปี ศิ าจ ให้หลีกหนีไป พิธีกรรมน้ีจะท�ำไปจนกระทั่งเคล่ือนศพไปถึงเชิงตะกอน เม่อื ศพถกู เผาไปแลว้ ปิศาจกจ็ ะจากไปอย่างไมส่ มดังหวงั 37 วา่ ด้วยระบบการแพทย์แบบดง้ั เดมิ ของพม่า ระบบการแพทยพ์ มา่ แบบดัง้ เดิมอาจแบง่ ออกได้เปน็ 4 ระบบ คือ 1. ระบบ Desana หรือระบบเทศนาตั้งอยู่บนปรากฏการณ์ ธรรมชาติ อาทิ ความรอ้ น ความเยน็ แนวคดิ พน้ื ฐานสว่ นใหญม่ าจากแนวคดิ ของพุทธศาสนา พร้อมกับการบ�ำบัดด้วยการใช้สมุนไพร ยาท่ีมาจากธาตุ ตา่ งๆ และการดูแลเรือ่ งอาหารการกิน38 2. ระบบ Bethitzza ตง้ั อยบู่ นฐานความรขู้ องการแพทยอ์ ายรุ เวท เพิ่มการรักษาด้วยการใช้ยาสมุนไพรและธาตุต่างๆ เพื่อการสร้างสมดุล ระหวา่ ง “ตรีโทษ” (Dosas) ตา่ งๆ คอื กะผะ (Kapha) วาตะ (Vata) และ ปิตตะ (Pitta)39 3. ระบบ Netkhattanaya หรือระบบนักขัต เป็นระบบ การแพทย์แบบโหราศาสตร์ ตั้งอยู่บนฐานการค�ำนวนการเคล่ือนที่และ ต�ำแหน่งของดาวในระบบจักรราศี เช่ือมโยงกับเวลาตกฟากและอายุ เมื่อ 37 E. A. Parkes, “On the State of Medicine among the Burmese,” p. 415. 38 Traditional Medicine in Union of Myanmar. [Online].: 72. Available from: http://www.searo.who.int/entity/medicines/topics/traditional_ medicine_in_union_of_myanmar.pdf[28 September 2017]. (69-80) 39 Ibid.

26 คำ� นวณปจั จยั ตา่ งๆ รวมกนั แลว้ จงึ จะกลายมาเปน็ แนวทางในการกนิ อยหู่ รอื การจัดเทียบยาสำ� หรบั รกั ษาโรค40 4. ระบบ Weizzadharanaya หรือระบบวิชาธร ระบบน้ีเป็น ระบบท่ีต่างออกไป จากระบบการแพทย์แบบอ่ืนๆ ค่อนข้างมากในเร่ือง แนวคิดและวิธีการรักษา เป็นระบบการแพทย์ท่ีมีฐานคิดมาจากการนับถือ พุทธศาสนาของชาวบ้านท่ีผสมผสานกับความเช่ือเรื่องเหนือธรรมชาติแบบ โบราณ พลงั อำ� นาจในการรักษาโรคมาจากการฝกึ ฝนเรอื่ งสมาธิภาวนาและ การปรุงยาแบบเล่นแร่แปรธาตุ ความรู้และทักษะของการแพทย์สกุลน้ียัง เชอ่ื มโยงไปถงึ การใชโ้ ลหะธาตอุ ยา่ งเชน่ ตะกว่ั ปรอท สารพษิ อนื่ อาทิ สารหนู และสารทใี่ กลเ้ คยี ง นำ� มาใชเ้ ปน็ ยารกั ษาโรคหลงั จากผา่ นกระบวนการทำ� ให้ หมดความเป็นพิษ (การสะต)ุ กลายเปน็ สารที่ไมม่ ีปฏิกรยิ าในทางลบ เพื่อที่ จะเป็นสอื่ น�ำมาซึง่ พลังเหนอื ธรรมชาต4ิ 1 พทุ ธศาสนากบั การแพทย์แบบด้งั เดิมของพมา่ แม้ว่าในระบบการแพทย์ดั้งเดิมท่ีเป็นกระแสหลักของพม่า จะมี ความเก่ียวโยงกับแนวคิดทางพระพุทธศาสนาและอายุรเวทค่อนข้างชัดเจน อยแู่ ล้ว ดงั ท่ปี รากฏในคัมภีรแ์ พทย์ที่บนั ทกึ ไว้ฉบับต่างๆ แต่เร่ืองการบ�ำบัด รกั ษาโรคและการดแู ลสขุ ภาพ ยอ่ มไมไ่ ดถ้ กู จำ� กดั เพยี งสง่ิ ทปี่ รากฏอยใู่ นตำ� รา เท่าน้ัน ในชีวิตจริงของผู้คนในดินแดนพม่า ซึ่งเป็นสังคมพหุวัฒนธรรม ประกอบด้วยเช้ือชาติอันหลากหลาย มีประวัติศาสตร์ความเป็นมายาวนาน 40 Ibid. 41 Ibid. (ดูรายละเอียดเพ่ิมเติมเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีและวิธีการรักษาของ การแพทยแ์ บบดั้งเดิมของพมา่ ได้ในภาคผนวก)

27 สิ่งเหล่าน้ีย่อมส่งผลต่อแบบแผนการปฏิบัติในเรื่องการดูแลสุขภาพและ การรักษาโรค โดยการผสมผสานความเชื่อ ความรู้ และประสบการณ์ของ ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ดง้ั เดมิ เขา้ ไปเปน็ สว่ นหนง่ึ ขององคค์ วามรแู้ ละปฏบิ ตั กิ ารในการ ดูแลสขุ ภาพและรักษาโรคของผคู้ นในดนิ แดนประเทศพม่า ความหลากหลายของพทุ ธศาสนาในพม่า ความเปล่ียนแปลงในเชิงการปรับตัวหรือปฏิรูปพุทธศาสนาอย่าง เป็นทางการในประเทศพม่าเกิดข้ึนอยู่หลายระลอกในประวัติศาสตร์ คร้ังท่ี ส�ำคัญมากครั้งหนึ่งได้เกิดข้ึนในสมัยอาณาจักรพุกามซ่ึงส่งผลให้พุทธศาสนา แบบเถรวาทข้นึ มามีสถานะเหนอื ความเช่อื แบบอื่นๆ อกี ครง้ั ท่สี �ำคญั คอื เม่อื ประเทศพม่าตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ถูกอังกฤษบ่ันทอนความ ภาคภมู ใิ จในตนเองเปน็ อยา่ งมาก องั กฤษไดผ้ นวกพมา่ เขา้ เปน็ อาณานคิ มของ บริติชอนิ เดีย มกี ารน�ำเอาคนอนิ เดียเขา้ มารบั ราชการในพม่า เปิดโอกาสให้ นายทนุ อินเดียเข้ามาขูดรดี พม่า ถงึ ที่สดุ กไ็ ด้ล้มล้างสถาบนั กษัตริย์ลงไปดว้ ย ท�ำใหเ้ อกลักษณ์ของชาตทิ ่ียังคงเหลอื อยู่ มแี ตพ่ ทุ ธศาสนาเทา่ นนั้ ประสบการณใ์ นการถกู คกุ คามหรอื ยดึ ครองจากการลา่ อาณานคิ ม ในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 19 ไมไ่ ดเ้ กดิ กบั พมา่ เพยี งชาตเิ ดยี ว แตเ่ ปน็ ปรากฏการณ์ ที่พบได้แทบทั้งทวีปเอเชีย บรรดาปัญญาชนท้องถ่ินที่ต่างตระหนักดีถึง อทิ ธพิ ลของโลกตะวนั ตก จงึ มคี วามพยายามตอบโตก้ บั อทิ ธพิ ลของตะวนั ตก โดยกลับไปสืบค้นรากฐานทางปัญญาของสังคมตนเองน�ำมาประยุกต์ เพื่อ อธบิ ายจกั รวาล โลก และวฒั ธรรมของสงั คมตนเอง ในประเทศทพ่ี ทุ ธศาสนา เป็นแกนหลักทางสังคมวัฒนธรรม ปัญญาชนทั้งหลายจึงกลับไปแสวงหาสิ่ง ท่ีอยู่ในพุทธศาสนา เพ่ือจะน�ำมาสร้างอัตตลักษณ์ของตนให้ไม่ด้อยไปกว่า

28 พวกฝรั่งเจา้ อาณานิคม แต่ในขณะเดยี วกนั “พทุ ธศาสนา” ที่พวกเขานำ� มา ใช้ ไม่ได้เป็นเนื้อเดียวกับพุทธศาสนาที่มีแต่ด้ังเดิมในสังคมของเขาทั้งใน รูปแบบและเนื้อหา หากเป็นพุทธศาสนาที่ปรับเปลี่ยนตีความให้สอดคล้อง กับคุณค่าของโลกสมัยใหม่เป็นส่วนใหญ่ หรืออาจเรียกได้ว่า “พุทธศาสนา สมยั ใหม่” (Modern Buddhism) โดนัลด์ เอส. โลเปซ (Donald S. Lopez) นักวิชาการด้าน พระพุทธศาสนาให้ค�ำนิยามลักษณะของพุทธศาสนาสมัยใหม่ว่า เน้นเร่ือง เหตผุ ลนยิ ม ประจกั ษน์ ยิ ม วทิ ยาศาสตร์ ความเปน็ สากล ขนั ตธิ รรม อสิ รภาพ และการปฏิเสธศาสนาตามประเพณี รวมไปถึงการใช้จุดยืนในปัจจุบันไป ตัดสินอดีต พุทธศาสนาสมัยใหม่ปฏิเสธเรื่องเหนือการพิสูจน์ พิธีกรรม ที่ ปรากฏอยู่ในพุทธศาสนายุคก่อนหน้า เน้นความเท่าเทียมกันเหนือการ ปกครองแบบล�ำดับช้ัน นับความเป็นสากลเหนือกว่าลักษณะของท้องถิ่น ยกย่องปัจเจกบุคคลมากกว่าชุมชน เน้นบทบาทของสตรีในพุทธศาสนา มากข้ึน เน้นในเรื่องการฝึกสมาธิภาวนา และบทบาทของฆราวาสในการ เป็นผู้น�ำทางศาสนา42 ดังน้ันความเคล่ือนไหวของพุทธศาสนาสมัยใหม่ ของพม่าในลักษณะขบวนการที่พยามยามพัฒนาพุทธศาสนาในมิติต่างๆ จึงเพิ่มมากขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าว ไม่เว้นแม้แต่การเป็นพลังส�ำคัญของการ ต่อสู้เพ่ือเอกราช ต่อมาเมื่อพม่าปลดแอกตนเองจากการเป็นอาณานิคม ของอังกฤษ เกิดปรากฏการณ์มากมายท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิรูปหรือตีความ พุทธศาสนาให้เข้ากับแนวคิดเร่ืองความเป็นสมัยใหม่ (Modernity) หลาย 42 Daniel S. Lopez Jr., The Modern Buddhist Bible: essential readings from East and West. (Boston: Beacon, 2002), pp. VII-XIII.

29 เหตกุ ารณ์ อาทิ การกอ่ ตง้ั องคก์ ารพทุ ธศาสนกิ สมั พนั ธแ์ หง่ โลก (The World Fellowship of Buddhists) มีการฉลองพุทธชยนั ตพี ร้อมกับการสังคายนา พระไตรปิฎกครั้งที่ 6 (ฉัฏฐสังคายนา) ในประเทศพม่า ความเคลื่อนไหวท่ี กล่าวมาอยชู่ ่วงทศวรรษ ค.ศ. 1950 เร่อื งเหล่านี้จดุ ประกายความตน่ื ตัวให้ กับพุทธศาสนิกชนท่วั ๆ ไปและในพมา่ เอง43 ปญั ญาชนชาวพุทธของพมา่ ซง่ึ ลกึ ๆ แลว้ กย็ อมรบั นบั ถอื ในอำ� นาจของความรสู้ มยั ใหมท่ ม่ี าจากโลกตะวนั ตก ได้พยายามเช่ือมโยงภูมิปัญญาดั้งเดิมของตนเอง เข้ามาสู่กระบวนการสร้าง อัตตลักษณ์และการตอ่ สู้กบั การครอบงำ� จากอำ� นาจอาณานิคมตะวนั ตก44 นกั วชิ าการจำ� นวนหนง่ึ ทศ่ี กึ ษาเรอื่ งพทุ ธศาสนาในพมา่ มคี วามเหน็ วา่ ในประเทศทน่ี บั ถือพทุ ธศาสนาแบบเถรวาทมีคตคิ วามเชอ่ื วา่ กอ่ นจะเขา้ สศู่ ตวรรษท่ี 19 การเขา้ ถงึ พระนพิ พานเปน็ ไปไดย้ ากเสยี แลว้ เนอ่ื งจากความ เสอ่ื มของพระศาสนา การปฏบิ ตั ติ า่ งๆ ในทางศาสนาจงึ ลดเหลอื เพยี งแตก่ าร ท�ำบุญท�ำทาน ถือศีล หรือปฏิบัติตามพิธีกรรมต่างๆ เพ่ือผลแห่งบุญนั้นจะ ช่วยปัดเป่าวิบากกรรมที่จะต้องไปพบเจอในสังสารวัฏหรือการตกไปใน อบายภูมิ แตก่ ็ยังมกี ระแสการหาความรจู้ ากพระไตรปฎิ กโดยตรง เน่ืองจาก เห็นว่าเป็นหนทางท่ีจะน�ำไปสู่ความหลุดพ้นจากสังสารวัฏได้ โดยเฉพาะ กระแสทเ่ี กดิ ขึน้ ในกลางครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 19 ไดส้ ร้างแนวทางใหมข่ น้ึ มา คือ แนวทางการปฎบิ ตั วิ ปิ สั สนาแบบพมา่ กระแสดงั กลา่ วชว่ ยถากถางทางใหเ้ กดิ 43 Kate Crosby, “The Other Burmese Buddhism,” in Champions of Buddhism: Weikza cults in contemporary Burma, eds. Bénédicte Brac de la Perriere Guillaume Rozenberg and Alicia Turner (Singapore: Nus Press, 2014), pp. xxi-xxii. 44 Ibid.

30 ครูวิปัสสนาที่เป็นฆราวาสในช่วงศตวรรษที่ 20 เน้นการปฏิบัติเพ่ือความ หลดุ พน้ ในชาตนิ ภี้ พน้ี ซง่ึ ในเวลาทเ่ี กดิ กระแสตนื่ ตวั ในการปฏบิ ตั ดิ งั กลา่ วเปน็ ช่วงรัชสมัยของพระเจ้ามินดง พระองค์เองก็มีความสนพระทัยในแนวทางนี้ และให้การส่งเสริมสนับสนุนเป็นอย่างดี ดังน้ันพุทธศาสนาแบบสมัยใหม่จึง แพร่หลายไปผ่านโรงเรียน การพิมพ์ต�ำรับต�ำราต่างๆ การออกเทศน์สอน แสดงอย่างกว้างขวาง หนังสือที่ติดอันดับขายดีที่สุดในยุคแรกของการพิมพ์ คอื กลอนอธบิ ายพระอภธิ รรมของ เลติ สะยาดอวเ์ ปน็ การนำ� ธรรมมายอ่ ยให้ อา่ นงา่ ยเขา้ ถงึ งา่ ย ดว้ ยการสง่ เสรมิ จากปญั ญาชนในราชสำ� นกั และปญั ญาชน ในเมืองดงั กลา่ ว ทำ� ให้การปฏิบตั ิวิปัสสนาแนวทางใหมจ่ งึ ขยายตัวเติบโตข้ึน ตามเมืองต่างๆ นับตั้งแต่ในยุคอาณานิคมอังกฤษปกครองพม่าเป็นต้นมา เกดิ ขบวนการปฏริ ปู พทุ ธศาสนาของพมา่ ทมี่ อี งคก์ รนำ� เปน็ สมาคมพทุ ธทเ่ี ปน็ ฆราวาสกับพระภิกษุนักปฏิรูป พัฒนาพุทธศาสนาแบบที่ตรงต่อคัมภีร์และ การฝึกฝนวิปัสสนากรรมฐานอย่างเป็นระบบ เป้าหมายของขบวนการน้ีคือ ชาวบ้านท่ัวไปมากกว่าจะเน้นไปท่ีวัด ท้ังน้ีมีเป้าหมายเพื่อการยกระดับการ ศกึ ษา ศลี ธรม การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ และความรคู้ วามเขา้ ใจในพระพทุ ธศาสนา บทบาทของฆราวาสในการสงั่ สอนธรรมะและการปฏบิ ตั เิ พม่ิ มากขนึ้ บทบาท ของวดั เสอื่ มถอยลงไป45 การร้ือฟ้ืนเรื่องการปฏบิ ตั ิ “วปิ ัสสนา”ข้นึ มา ส่งผล ให้การฝึกฝนแบบ “วิปัสสนา”ของพม่า กลายเป็นเร่ืองท่ีแพร่หลายออกไป ทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นประเทศที่นับถือพุทธศาสนาหรือไม่ ท้ังยังได้รับการ ยอมรบั จากวงการประสาทวทิ ยาและจติ บำ� บดั ทเี่ รมิ่ เฟอ่ื งฟขู น้ึ ในปลายครสิ ต์ 45 Michael K. Jerryson, The Oxford Handbook of Contemporary Buddhism, (New York: Oxford University Press, 2017), p. 219.

31 ศตวรรษท่ี 20 จนทำ� ให้ “วปิ สั สนา” เปน็ เหมอื นสนิ คา้ สง่ ออกสำ� คญั ของพมา่ และดงึ ดูดใหค้ นเขา้ มาทอ่ งเทยี่ วในประเทศพม่าดว้ ย46 แต่อีกด้านหนึ่งโลกของพุทธศาสนาของพม่ายังมีความเช่ืออีก แบบหนงึ่ เปน็ พทุ ธศาสนาทส่ี บื เนอื่ งวถิ กี ารปฏบิ ตั มิ าแตโ่ บราณ เชอื่ มโยงกบั ความลึกลับ อ�ำนาจเหนือธรรมชาติ และการปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัดตาม หลกั การน่นั คือ ความเช่อื เรื่อง weikza (หรือวทิ ยาธร ซง่ึ จะได้ขยายความ ต่อไปข้างหน้า) แต่เน่ืองจากในแง่ทางการแล้วพุทธศาสนาแบบสมัยใหม่ ดงั กลา่ วมา เปน็ เรอ่ื งทไี่ ดร้ บั การยอมรบั มากกวา่ จากปญั ญาชนและชนชน้ั นำ� ท�ำให้แนวทางของพุทธศาสนาแบบชาวบ้าน ท้ังในลักษณะท่ีเป็นความเช่ือ หรือการปฏิบัติท่ีเกี่ยวข้องถูกซ่อนไว้เงียบๆ ในสังคมพม่าจากสายตาของ คนนอก แมว้ า่ ผคู้ นทฝี่ กึ ฝนตนตามแนวทางนใ้ี นสงั คมพมา่ หรอื เอกสารตา่ งๆ ที่เกยี่ วข้องกม็ ีเปน็ จ�ำนวนมากหาไดไ้ ม่ยากในท้องถ่ิน47 แนวคิดวทิ ยาธร (หรือ weikza, wizza, Weizzadhara) ลทั ธหิ รอื แนวคดิ เรอ่ื วทิ ยาธร หรอื ทเี่ รยี กวา่ weikza ในภาษาพมา่ พัฒนามาจากแนวคิดเรื่องผู้วิเศษในความเชื่อทางศาสนา ผู้วิเศษที่เรียกว่า weikza หรือวทิ ยาธรในภาษาท่ีคนไทยคนุ้ หมู ากกวา่ weizza หรอื weikza ในภาษาพม่า คือ “วิทยาธร” ในภาษาไทยมีท่ีมาจากรากภาษาสันสกฤต 46 Kate Crosby, “The Other Burmese Buddhism,” in Champions of Buddhism: Weikza cults in contemporary Burma, p. xxi-xxii 47 Ibid.

32 สว่ นภาษาบาลนี ้ันคือคำ� วา่ วิชชาธร คำ� น้ีมีความหมายถงึ ผูท้ รงวชิ าความรู้ ซึ่งเป็นความรู้ชนิดท่ีผู้ใดเขาถึงแล้วจะกลายเป็นผู้วิเศษเหนือสามัญมนุษย์ ปกติ วทิ ยาธรนนั้ ตามตำ� นานเชอ่ื วา่ เปน็ เทวดาจำ� พวกหนงึ่ แตม่ นษุ ยธ์ รรมดา ก็สามารถกลายเป็นวิทยาธรได้หาก บ�ำเพ็ญเพียร ฝึกฝนคาถาอาคม มีของ วิเศษบางอย่างท่ีมีฤทธิ์ หรือเล่นแร่แปรธาตุได้ส�ำเร็จจนได้ธาตุวิเศษอย่าง ปรอทหุง เป็นต้น48 โดยมาก weikza มักจะเป็นบุรุษเพศ ผู้สามารถรวม เอาการฝกึ ฝนในดา้ นสมถะภาวนา (thamahta) และถอื ศลี อยา่ งไมด่ า่ งพรอ้ ย เขา้ กบั เรอื่ งของการฝกึ ฝนวชิ าเลน่ แรแ่ ปรธาตุ วชิ าแพทย์ หรอื เวทยม์ นตค์ าถา ต่างๆ ซง่ึ ถอื ว่าเปน็ ศาสตร์ของวทิ ยาธร เพอ่ื ไดม้ าซง่ึ อำ� นาจพเิ ศษ (theikdi) สามารถยืดอายุ ล่องหนหายตัว อยู่ยงคงกะพัน เพื่อในท่ีสุดบุคคลผู้นั้นจะ สามารถอยู่จนถึงยุคของอนาคตพุทธะเพ่ือรับฟังพระธรรมเทศนา และท้าย ท่ีสุดเข้าสู่พระนิพพานข้ามพ้นวัฏสงสารได้ ซึ่งในธรรมเนียมของพม่าน้ัน ผู้วิเศษที่บ�ำเพ็ญตนเหล่านี้ ล้วนมีสถานะเป็นมนุษย์แต่ก็ทรงคุณวิเศษก่ึงๆ เทพยดา สถานะเชน่ นที้ ำ� ให้ weikza สามารถเขา้ มายงุ่ เกย่ี วกบั เรอื่ งในโลกน้ี ได้มากกว่าเทวดาท่ีแม้ผู้คนจะอ้อนวอนขอร้องให้ช่วยเหลือ แต่มีข้อจ�ำกัด มากกวา่ ซึ่งบนทางสคู่ วามเป็น weikza น้ี เป็นหนทางทีบ่ รรดาผพู้ ยากรณ์ หมอพิธีกรรม พ่อมดหมอผี ทั้งหลายท่ีรักษาเยียวผู้คนจากที่มีเหตุจากบาป เคราะหท์ ัง้ หลายเขา้ ไปเกี่ยวขอ้ งดว้ ย49 48 มนต์ เมอื งใต.้ “วทิ ยาธร และ คนธรรพ์”. ใน สามทหาร 1 11 (ตลุ าคม 2505): 47-52. 49 Ibid.

33 ต�ำนานและส่ิงที่ปรากฏในสังคมพม่าเก่ียวกับความเชื่อเรื่อง weikza เปน็ สง่ิ ทีพ่ บเหน็ ได้ทัว่ ไป วา่ กันตามจริงแนวคดิ เร่อื ง weikza และ วปิ สั สนา ทเี่ หน็ กนั ในหมชู่ าวพทุ ธพมา่ ในปจั จบุ นั เกดิ ขน้ึ ในชว่ งครสิ ตศ์ ตวรรษ ท่ี 19 แมน้ วา่ ทั้งสองแนวคดิ จะดูต่างกันก็ตาม50 เหตุท่ีท�ำให้เรื่อง weikza ไม่เป็นที่ยอมรับอย่างเป็นทางการหรือ ตอ้ งเกบ็ ตวั อยใู่ นมมุ มดื มผี อู้ ธบิ ายวา่ เปน็ เพราะการฝกึ ฝนเพอ่ื ทางสู่ weikza เปน็ เรอ่ื งลบั ทผี่ ปู้ ฏบิ ตั กิ ไ็ มต่ อ้ งการใหเ้ ปน็ ทร่ี บั รกู้ นั ซง่ึ ลกั ษณะของการปดิ ลบั นี้ก็ปรากฏอยู่ในเรื่องของการปฏิบัติบางประการที่เก่ียวข้องกับการแพทย์ แบบด้ังเดิมด้วย อีกด้านหน่ึงการจัดตั้งโครงสร้างของตัวองค์กรท่ีเก่ียวข้อง เปน็ ไปแบบหลวมๆ และเลือ่ นไหล ตา่ งกับการสถาบันสงฆ์แบบเป็นทางการ ที่มีการเชื่อมโยงเครือข่ายความสัมพันธ์แบบศิษย์อาจารย์อย่างชัดเจน ทั้ง การบวชและการเรียน และเปน็ สว่ นหน่งึ ของสถาบันสงฆข์ องชาติ และยังมี คนวเิ คราะห์วา่ กลมุ่ ของ weizka และขบวนการกบฎผีบญุ ทั้งหลายมีความ เชอื่ มโยงกนั ขบวนการเหลา่ นล้ี ว้ นแตต่ อ่ ตา้ นองั กฤษเหมอื นกนั ขณะเดยี วกนั ก็สร้างส�ำนึกในการต่อต้านจักรวรรดินิยมและกลัวการเติบโตของขบวนการ จกั รวรรดนิ ยิ มใหม่ อกี ทั้งความผูกพันแบบภกั ดรี ะหวา่ งกนั ในกลมุ่ กเ็ ปน็ สิง่ ท่ี ท�ำให้รัฐบาลทหารรู้สึกว่ากลุ่มพวกน้ีคุกคามพวกเขาจึงหาทางก�ำจัดเร่ือยไป แต่ในอีกด้านหน่ึงบรรดานายทหารหรือชนชั้นน�ำของพม่าหลายๆ คนก็เป็น ผนู้ บั ถอื ในกลมุ่ weikza ดว้ ย51 แนวคดิ เรอ่ื งวทิ ยาธรนสี้ มั พนั ธไ์ ปกบั การรกั ษา 50 Kate Crosby, “The Other Burmese Buddhism,” in Champions of Buddhism: Weikza cults in contemporary Burma, eds. Bénédicte Brac de la Perriere Guillaume Rozenberg and Alicia Turner (Singapore: Nus Press, 2014), p. xxi. 51 Ibid., p.

34 โรคในระบบการแพทยพ์ ืน้ บ้านของพม่า โดยเฉพาะในพนื้ ทเ่ี ขตชนบท พน้ื ที่ ของกลมุ่ ชาตพิ นั ธท์ุ นี่ บั ถอื พทุ ธศาสนา หรอื พนื้ ทพี่ น้ จากเขตบรเิ วณภาคกลาง ของพม่า เนื่องจากพ้ืนท่ีเหล่านั้นยังมีระยะห่างจากการครอบงำ� ของวิถีการ ปฏิบัติพุทธศาสนาฉบับปฏิรูปท่ีทางการสนับสนุน ดังมีกรณีศึกษาถึงความ หลากหลายของระบบการดูแลสุขภาพทปี่ รากฏในรัฐยะไข่ (หรอื อาระกนั ) สถานการณด์ ้านการดแู ลสุขภาพและรกั ษาโรค ของชาวบา้ นรัฐยะไข่ งานศึกษาถึงการดูแลสุขภาพของชาวพุทธในรัฐยะไข่บอกไว้ว่า ชาวบ้านที่เป็นคนพุทธโดยมากนั้น ชอบท่ีจะจัดการดูแลสุขภาพและ รักษาโรคด้วยแนวคิดด้วยวิธีการที่หลากหลาย อันมีท่ีมาจากวัฒนธรรมที่ หลากหลายตามไปด้วย ท้ังการแพทย์แบบดั้งเดิม การแพทย์แบบตะวันตก สมัยใหม่ที่อังกฤษเอาเข้ามาอย่างเป็นทางการ การรักษาแบบพุทธ การพยากรณ์ โหราศาสตร์ การเล่นแร่แปรธาตุ หรือการถือผ5ี 2 ทา่ มกลางความหลากหลายของแนวคดิ และปฏบิ ตั กิ ารทางสขุ ภาพ ท้ังหมดน้ี มีอยู่เพียงสองประเภทเท่านั้นท่ีได้รับการยอมรับและสนับสนุน อยา่ งเปน็ ทางการ คอื การแพทยแ์ บบตะวนั ตก และการแพทย์แบบดง้ั เดิมท่ี ถูกปรับเปลี่ยนใหม่ให้ทันสมัยและมีมาตรฐาน ซ่ึงรัฐบาลทหารพม่าได้เริ่ม สนับสนุนการแพทย์แบบน้ีมาตั้งแต่หลังได้รับเอกราชเป็นต้นมา อย่างไรก็ดี การสนับสนุนดังกล่าวไม่เคยได้รับการลงทุนเพื่อให้เกิดการบริการท่ีเป็นจริง 52 Celine Coderey, Coping with health-related uncertainties and risks in Rakhine (Myanmar) in Health, Risk & Society, 17: 3-4, p. 264.

35 ผลท่ีเห็นก็คือระบบบริการสุขภาพขาดแคลนไปในทุกด้านไม่ว่าจะเป็น บคุ ลากร ยา หรอื อปุ กรณเ์ ครอื่ งมอื เครอ่ื งใช้ ความขาดแคลนดงั กลา่ วเปน็ ผล จากการละเลยและขาดงบประมาณในการลงทนุ จากภาครฐั และภาคใี นระดบั นานาชาติต่อเนื่องกันมาหลายปี และเห็นได้อย่างชัดเจนมากในกรณีของรัฐ ยะไข่และพ้ืนท่ีชายขอบที่อ่ืนๆ แม้ว่าจะหมดยุครัฐบาลทหารแล้ว และรัฐบาลเลือกตั้งที่เข้ามาก็พยายามจะปรับปรุงระบบบริการสุขภาพเพ่ือ เพิ่มพูนคุณภาพและท�ำให้เข้าถึงได้มากกว่าเดิม แต่สถานการณ์ไม่ได้ดีขึ้น มากนัก53 การแพทย์ทางเลือกที่พ้นไปจากการแพทย์แบบตะวันตกและ การแพทย์แบบด้ังเดิมฉบับทางการ ล้วนแต่มีมุมมองต่อการรักษาท่ีต่างไป จากทงั้ สองระบบขา้ งตน้ เพราะโดยมากระบบการแพทยแ์ บบอนื่ ไมว่ า่ จะเปน็ หมอพระ หมอดู คนทรง ฯลฯ ลว้ นแตใ่ หค้ วามสำ� คญั กบั พนื้ ทอ่ี นื่ ๆ นอกเหนอื ไปจากรา่ งกาย อยา่ งเชน่ มติ ทิ างจติ วญิ ญาณ มติ ทิ างสงั คม และจกั รวาลทศั น์ ของผปู้ ว่ ย สงิ่ เหลา่ นี้เปน็ เร่ืองทีก่ ารแพทย์แบบทางกายท้งั สองประเภทไม่ได้ ให้ความส�ำคัญ ระบบการแพทย์แบบไม่เป็นทางการทั้งหลายไม่ได้มองเรื่อง ความเจบ็ ปว่ ยเปน็ เรอื่ งแยกขาดออกไปชวี ติ ไมไ่ ดม้ องเหน็ ความเจบ็ ปว่ ยเปน็ เรื่องของประสบการณ์เฉพาะด้าน หากแต่มันคือส่วนหนึ่งของความอับโชค ในช่วงชีวิต เช่ือมโยงไปกับเร่ืองผลของกรรม โชคชะตา การกระท�ำจาก ส่งิ อ่นื ๆ 53 Ibid.

36 ในชีวิตประจ�ำวันจริงๆของผู้คนในยะไข่ วัฒนธรรมสุขภาพท่ี หลากหลายลว้ นแต่มีความพัวพนั ระหวา่ งกนั แม้แตกตา่ งในแนวคิด แตบ่ าง ครั้งก็ใช้แนวปฏิบัติแบบเดียวกัน แต่ท้ังหมดก็ยังต้องอยู่ภายใต้ร่มเงาของ พุทธศาสนา ที่เป็นประหนึ่งดังพลังที่ก�ำกับทิศทางของให้คุณค่าและความมี ประสิทธิภาพของปฏบิ ัตกิ ารณ์ของวัฒนธรรมสขุ ภาพแบบดงั้ เดิม54 การรักษาโรคแบบดั้งเดิมในเมอื งตั่งตแว รัฐยะไข่ เมืองตั่งตเเว รัฐยะไข่ (หรืออาระกัน) ของพม่า มีการปฏิบัติเพื่อ ฝึกฝนในทางไปสู่การเป็น weikzai เกีย่ วข้องกับบรรดาผทู้ ่ีทำ� การดแู ลรกั ษา สุขภาพและโรคภัยไข้เจ็บ คนเหล่านั้นทั้งท�ำการวิเคราะห์และรักษาโรค และยังเป็นที่ปรึกษาคนส�ำคัญ รัฐอาระกันถือเป็นรัฐรอบนอกของพม่า ภาคกลาง ซ่ึงลัทธิความเชื่อเรื่อง weikza ถือก�ำเนิดหรืออย่างน้อยก็ถือว่า เป็นความเช่ือที่สำ� คัญและกระจายตวั ไปทว่ั 55 รฐั อาระกนั ตงั้ อยทู่ างตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของประเทศพมา่ เคยเปน็ รฐั อสิ ระซง่ึ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากทางอนิ เดยี มานาน กอ่ นจะถกู พมา่ เขา้ ยดึ ครอง ในรัชสมัยพระเจ้าโบด่อพญา ค.ศ. 1784 คนส่วนใหญ่ในพ้ืนที่คือชาว อาระกัน แต่ก็มีเช้ือชาติอื่นๆ รวมอยู่ด้วย อาทิ ชิน พม่า เบงกาลี และ ชาตพิ นั ธอ์ นื่ ๆ อกี คนสว่ นใหญน่ บั ถอื พทุ ธศาสนา เวน้ แตค่ นเชอ้ื สายเบงกาลี ที่นับถือศาสนาอิสลาม และคนชินที่นับถือคริสต์ศาสนา แต่คนจ�ำนวนมาก 54 Ibid. 55 Céline Coderey, “The Weikza’s Role in Arakanese Healing Practices,” in Journal of Burma Studies, 16 2, December 2012, pp. 181-182.

37 ก็นับถือผีไปในเวลาเดียว ในส่วนของเมืองตั่งตเวมีการนับถือ นัต (นาถ)56 ในสองลักษณะ คือ นัต ทท่ี �ำหน้าทด่ี แู ลรักษาพนื้ ท่ใี นธรรมชาติ เชน่ ภเู ขา ต้นไม้ แม่น้ำ� หรอื ทะเล และนตั ทท่ี ำ� หน้าที่ดูแลรักษาพ้นื ท่ที างสงั คม เช่น บ้าน หมบู่ า้ น และเมอื ง แตน่ ตั สามสิบเจด็ ตน ท่นี บั ถือกนั ในแถบภาคกลาง และตอนใต้ของพม่าแทบจะไม่เป็นที่รู้จักของคนในตั่งตแว ด้านหนึ่งอาจจะ เปน็ เพราะวา่ การนบั ถอื ผนี ตั อาจจะถกู มองวา่ เปน็ เรอื่ งทไ่ี มใ่ ชพ่ ทุ ธ แตใ่ นทาง กลบั กนั ลทั ธคิ วามเชอื่ เรอื่ ง weikza ทนี่ ยิ มกนั นนั้ ถกู มองวา่ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของ พทุ ธศาสนา57 56 ประเทศพม่านับถือ นัต ในฐานะผีสางหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์อันเป็นตัวแสดงทรง อทิ ธพิ ลเหนอื ธรรมชาตทิ ปี่ กครองและมอี ำ� นาจเหนอื มนษุ ย์ จงึ มลี กั ษณะทแ่ี ตกตา่ งหลากหลาย กนั ไปในรายละเอยี ด นตั มหี ลายกลมุ่ เชน่ นตั ในฐานะภตู อิ น่ื ๆ ทอี่ ยใู่ นธรรมชาตหิ รอื ในวถิ ชี วี ติ ของมนุษย์ นัต ในฐานะผีบ้านผีเรือนที่จะคอยปกป้องคุ้มครองความปลอดภัยให้แก่บ้านของ ตน นัตท่ีเป็นส่ิงศักด์ิสิทธ์ิประจ�ำหมู่บ้านคอยปกป้องชุมชน นัตอีกกลุ่มคือ นัตหลวง 37 ตน ซึง่ จัดเป็นนตั ชน้ั สงู เป็นกลมุ่ ของนตั ท่มี ีขึ้นสมยั ของพระเจา้ อนรุ ทุ หรอื อโนรามังช่อแหง่ พกุ าม พระองค์พยายามที่จะฟื้นฟูพุทธศาสนาแบบเถรวาท จึงพยายามกวาดล้างการนับถือผี แต่ ไม่ค่อยได้ผลดีนัก จึงเปลี่ยนวิธีด้วยการท�ำให้ความเช่ือดั้งเดิมสอดคล้องไปกับความเช่ือจาก ศนู ยก์ ลางอ�ำนาจ น�ำมาสูก่ ารสถาปนานัตหลวง 37 ตน ข้นึ มา ซ่งึ ประกอบไปดว้ ยเทพสวรรค์ และเหล่าคนท่ีตายไปด้วยสาเหตุร้ายแรง หรือก่อนวัยอันควร โดยมีประมุขของนัตท่ีมีชื่อว่า สักกะมิน (Thagyamin) คือพระอินทร์ตามคติฮินดู หรือท้าวสักกะตามคติพุทธ (ข้อมูล จาก ศูนย์ศึกษาภาษา วัฒนธรรม และสังคมอาเซียน ส�ำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย วลยั ลกั ษณ.์ นตั , สารานกุ รมอาเซยี น[ออนไลน]์ แหลง่ ทม่ี า: https://aseanpedia.wu.ac.th/ site/contactus[16 กนั ยายน 2560] 57 Céline Coderey, “The Weikza’s Role in Arakanese Healing Practices,” p. 182.

38 ความเจ็บปว่ ยทีน่ อกเหนอื ไปจากกายภาพ ในเมืองต่ังตแว ชาวบ้านมองความเจ็บป่วยเป็นสองลักษณะ ความเจบ็ ปว่ ยแบบปกติ (yawga) และความเจ็บป่วยทไี่ มป่ กติ (payawga) ท่ีว่าเจ็บป่วยแบบธรรมดาน้ัน มักมีเหตุมาจากอาหาร อากาศ หรือความ วุ่นวายใจ นอกไปจากสาเหตุเบื้องต้นที่ว่านี้ ส่ิงท่ีท�ำให้คนป่วยได้อีก คือ ผลของกรรม อิทธิพลของดวงดาว แต่ท่ีสุดแล้วก็นับว่ากรรมของบุคคลน้ัน เป็นท่สี ุดของความเจบ็ ปว่ ย โดยท่วั ไปแลว้ เม่อื คนมีอาการเจ็บปว่ ยกไ็ มไ่ ด้ไป คดิ ถงึ เรอื่ งผลกรรมหรอื ดวงดาวแตอ่ ยา่ งใด จะมาคดิ กต็ อ่ เมอ่ื อาการเจบ็ ปว่ ย น้ันไม่รู้จักหายไปเสียทีแม้รักษามาได้ระยะหนึ่ง พอไม่หายก็สงสัยว่าจะ เป็นมาจากวิบากท่ีท�ำมาหรือดวงดาวนั้นมาท�ำให้ไม่หายป่วย นอกจากน้ี ชาวบ้านก็ยังเช่ือว่า อาการผิดปกติท่ีมีมาแต่ก�ำเนิดเช่น ตาบอด หรือความ ไม่สมประกอบต่างๆ หรืออาการเจ็บป่วยที่รุนแรงหรือรักษาไม่หายอย่าง มะเร็งหรอื เอดส์ ความเจบ็ ป่วยมากกว่าปกติเหลา่ นเี้ ชือ่ กนั ว่า เปน็ ผลมาจาก การให้ร้ายจากผู้มีคุณไสย พ่อมดหมอผี หรือจากความอาฆาตมาดร้าย ของภูตผีปิศาจต่างๆ แต่พลังร้ายเหล่าน้ีจะออกผลเป็นความเจ็บป่วยได้ก็ ต่อเม่ือวิบากกรรมของคนผู้นั้นได้เวลาให้ผลหรือเป็นช่วงดาวร้ายให้ผลต่อ ดวงชะตา58 ความเช่ือของชาวบ้านในเขตเมืองตั่งตแว ไม่ได้ต่างไปจากความ เชอ่ื พ้ืนบ้านของไทยในเร่อื งการถูกของหรือคณุ ไสย ชาวบ้านทีน่ ั่นเชอื่ กนั ว่า บรรดาแม่มดหมอผีสามารถวางยาในอาหารหรือใช้ช้ินส่วนจากร่างกาย ของบุคคลท่ีต้องการท�ำร้ายเช่น ผม เล็บ เอามาผสมรวมกับของอื่นๆ แล้ว 58 Céline Coderey, The Weikza ‘s Role in Arakanese Healing Practices, pp. 184-185.

39 เสกมนต์คาถาใส่ เพื่อปล่อยส่ิงชั่วร้ายเขา้ สู่ร่างกายของผเู้ ป็นเจา้ ของชนิ้ ส่วน หรือบางทีก็เป็นการใช้การเขียนยันต์ไปไว้ที่บ้านของคนท่ีต้องการกระท�ำ หรอื สัง่ ใหผ้ มี าท�ำรา้ ย59 หากผู้ใดเจ็บป่วยก็ยากท่ีจะรู้ได้ว่าป่วยเพราะถูกกระท�ำหรือป่วย ตามปกติ เพราะไมม่ ขี อ้ ชชี้ ดั ทจี่ ะแยกอาการหรอื รวู้ า่ มาจากเหตใุ ดแน่ อาการ เจ็บป่วยหลายอาการจึงอาจมาจากสาเหตุได้มากกว่าเพียงเหตุใดเหตุหนึ่ง อาจจะมาจากอาหาร อากาศ หรอื ถูกกระท�ำโดยคณุ ไสยตา่ งๆ การพิจารณา วา่ ถกู คณุ ไสยหรอื ไม่ มกั จะทำ� เมอื่ การรกั ษาแบบอนื่ ๆ ไมส่ ามารถทำ� ใหอ้ าการ ดีข้ึน และมีอาการต่างๆ ที่จะน�ำมาพิจารณาร่วมด้วย เช่น มีพฤติกรรม ผิดปกติอย่างการร้องไห้โหยหวน หรือคลั่งตะโกน ไม่ก็มีอาการทางจิต ประสาทอยา่ งการนอนไมห่ ลบั ปวดหวั ตอื้ ๆ ไมก่ อ็ าจจะมอี าการผดิ ปกตขิ อง สายตา หรอื อาการเคล่อื นไหวรา่ งกายไม่ได้ เม่ืออาการป่วยถูกแบ่งแยกเป็นสองลักษณะแบบปกติและแบบที่ ไมป่ กติ ทำ� ใหก้ ารรกั ษากถ็ กู แบง่ แยกออกไปดว้ ย ถา้ เปน็ อาการเจบ็ ปว่ ยแบบ ปกติ ผใู้ หก้ ารรกั ษาทเ่ี ปน็ หมอสมยั ใหมห่ รอื หมอแบบดงั้ เดมิ ทส่ี ำ� เรจ็ การศกึ ษา จากมหาวทิ ยาลยั กจ็ ะเกยี่ วขอ้ งมากหนอ่ ย แตถ่ า้ เปน็ ความเจบ็ ปว่ ยทผ่ี ดิ ปกติ ไม่ว่าจะมาจาก วิบากกรรม ดาวเคราะห์ ผีท�ำ หรืออ�ำนาจเหนือธรรมชาติ ต่างๆ ก็จะเป็นหน้าที่ของผู้ให้การรักษาอีกกลุ่มหน่ึงคือ หมอพิธีกรรม โหราจารย์ หมอพระ คนทรง พ่อมด แมม่ ด หมอผี ท่ีสบื ทอดการรักษามา ตามวิถวี ฒั นธรรมดั้งเดิม ซึง่ Coderey เรียกผรู้ ักษากลมุ่ นวี้ า่ หมอพนื้ บา้ น ซ่ึงจะต่างจากผู้ที่ใช้การแพทย์แบบด้ังเดิมของพม่า ซ่ึงในภาษาพม่าอาจ เรยี กวา่ taingyin hsay pyinnya ความรเู้ กย่ี วกบั การรกั ษาแบบพื้นเมือง 59 Ibid.

40 พ้ืนถ่ิน ในบรรดาผู้ทรงความรู้ในศาสตร์ด้ังเดิมทั้งหลายนี้ จ�ำนวนไม่น้อยมี ความรู้มากกว่าศาสตร์ใดศาสตร์หน่ึงเพียงแต่อย่างเดียว ดังนั้นการแบ่ง จ�ำพวกของผู้ให้การรักษาเหล่านี้จึงไม่ได้แบ่งแยกอย่างเด็ดขาด ส่วนใหญ่ก็ สามารถบอกได้ว่าผู้ป่วยน้ัน เจ็บป่วยจากเคราะห์กรรมหรือไม่ สามารถ แยกแยะระหว่างความเจ็บปว่ ยแบบปกติหรอื การถกู ของ และหาทางปดั เปา่ ได้ แมว้ า่ การเยยี วยารกั ษาหรอื พธิ กี รรมบางประเภทกจ็ ำ� กดั อยใู่ หท้ ำ� ไดเ้ พยี ง ผู้ให้การรักษาบางกลุ่มที่ผ่านการฝึกการเรียนเป็นเฉพาะ เช่น แม่มดหมอผี ท้ังหลายก็จะช�ำนาญในเร่ืองการรักษาผู้ถูกคุณไสยหรือผีท�ำเป็นการเฉพาะ แต่ถ้าเป็นหมอท่ีเช่ียวชาญเร่ืองยาพ้ืนบ้านก็จะสามารถวิเคราะห์และรักษา โรคทางกายได้เฉพาะมากกว่า ใครที่อยากจะเพ่ิมเติมความสามารถในการ รกั ษาของตนก็ต้องไปเรียนร้ศู าสตรม์ ากกวา่ แขนงเดียว60 เมืองตั่งตเเว รัฐยะไข่ (หรืออาระกนั ) ของพมา่ ยงั คงมกี ารปฏิบัติ เพ่อื ฝกึ ฝนสูก่ ารเปน็ weikzai ในหมผู่ ้ทู ่เี กย่ี วขอ้ งเร่อื งการดแู ลรกั ษาสุขภาพ และโรคภัยไข้เจ็บแบบด้ังเดิม คนเหล่าน้ันท้ังท�ำการวิเคราะห์และรักษาโรค รฐั อาระกนั ถอื เปน็ รฐั รอบนอกหา่ งไปจากดนิ แดนพมา่ ภาคกลาง ซงึ่ ลทั ธคิ วาม เชื่อเรอ่ื ง weikza อาจถอื ก�ำเนดิ ข้ึนทนี่ แ่ี ละยงั คงเปน็ ความเชื่อท่สี �ำคัญและ แพร่หลายไปทั่ว61 60 Céline Coderey, “The Weikza ‘s Role in Arakanese Healing Practices,” in Journal of Burma Studies, 16 2, December 2012, pp. 186-187. 61 Céline Coderey, “The Weikza ‘s Role in Arakanese Healing Practices,” pp. 181-182.

41 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างผู้ให้การรกั ษาและผรู้ บั การรกั ษา นอกจากความหลากหลายของระบบการแพทยด์ ง้ั เดมิ ของพมา่ แลว้ กลุ่มผู้ให้การรักษาก็มีความหลากหลายเช่นกัน ดังมีผู้ศึกษาการรักษาแบบ ดงั้ เดมิ ของพมา่ ในรฐั ยะไข่ โดยแบง่ ผรู้ กั ษาออกเปน็ กลมุ่ บคุ คลตา่ งๆ ประกอบ ไปดว้ ย พระภกิ ษุ หมอดู คนทรง หมอผี และหมอพนื้ บา้ นทชี่ ำ� นาญการรกั ษา ในแต่ละด้าน ในกลุ่มน้ีถือว่าเป็นกลุ่มผู้ให้การรักษาแบบนอกระบบบริการ สุขภาพอยา่ งเปน็ ทางการ เนื่องจากใช้วธิ กี ารรกั ษาตามแบบดั้งเดมิ เป็นหลัก การวิเคราะห์โรคก็มาจากมุมมองหรือความรู้ที่ต่างไปจากระบบการแพทย์ สมยั ใหม่แบบตะวนั ตก เช่น การวเิ คราะห์ความเจบ็ ปว่ ยทางกายหรอื ทางจิต ว่าเป็นผลจากความไม่สมดุลระหว่างธาตุต่างๆ ในร่างกาย ซ่ึงมีเหตุจาก อาหาร สภาพอากาศ สภาวะทางจติ ใจ อทิ ธพิ ลของภมู ปิ ระเทศ วบิ ากกรรม ของบคุ คล การกระทำ� จากสิ่งชวั่ รา้ ย มนต์ด�ำ หรือผีปศิ าจ เป็นต้น เพอ่ื ท่ีจะ ฟ้ืนคืนความสมดุลกลบั มา ผูใ้ หก้ ารรกั ษาในกลุ่มนใ้ี ช้วิธีการตา่ งๆ ผสมผสาน กัน ต่างไปจากผู้เช่ียวชาญในการแพทย์สมัยใหม่ หรือผู้ท่ีศึกษาการแพทย์ ดงั้ เดมิ ของพมา่ ในหลกั สตู รแบบสมยั ใหม่ ซง่ึ จะมองความเจบ็ ปว่ ยจากมมุ มอง ทางชีวเคมีและจากการท�ำงานของอวัยวะต่างๆ และท�ำการรักษาโดยใช้ เครื่องมือและความรู้ทางการแพทย์เฉพาะทางท่ีพวกเขามีเป็นหลัก อีกทั้ง ส่วนใหญ่มักจะท�ำงานในระบบบริการสุขภาพอย่างเป็นทางการ62 และส่ิงท่ี ส�ำคัญคือ Coderey ซ่ึงเป็นผู้ลงไปเก็บข้อมูลภาคสนามในเมืองตั่งตแว เชื่อว่าต้นธารของอุดมคติในเร่ืองการให้การรักษาด้วยความเมตตาและ 62 Céline Coderey, The Healing Power of the Gift Healing Services and Remuneration in Rakhine (Western Myanmar) in Religion Compass 9 11 (2015): 406.

42 เสยี สละ เหน็ แกป่ ระโยชนผ์ ้อู น่ื เปน็ ที่ตง้ั โดยไมป่ รารถนาสงิ่ ตอบแทนมาจาก พุทธศาสนา ผู้ให้การเยียวยาท้ังหลายที่มีโอกาสพบเจอในเมืองต่ังตแว ตา่ งยนื ยนั ว่า ในคัมภรี ์ทางพุทธศาสนากลา่ วไวว้ ่า โดยอุดมคติผ้ใู หก้ ารรกั ษา คือ ผูท้ ่ีต้องประกอบไปดว้ ย ศลี สมาธิ และปญั ญา และเป่ยี มด้วยเมตตา63 วา่ ด้วยหมอพระ พระภกิ ษุสงฆ์ในพม่าไมไ่ ด้มวี ถิ ที แ่ี ตกต่างไปจากพระภิกษสุ งฆข์ อง ไทย ตอ้ งมคี วามสัมพนั ธ์กบั ชมุ ชนในดา้ นตา่ งๆ เชน่ บรกิ ารชมุ ชนในแง่ของ การอบรมส่ังสอนพระธรรม การประกอบพิธีกรรมในวันส�ำคัญทางศาสนา หรือในงานพิธตี า่ งๆ ในชว่ งเปลี่ยนผา่ นของชวี ติ เช่น งานบวช งานแต่ง หรือ งานศพ แตน่ อกจากหนา้ ที่ๆ เกย่ี วขอ้ งกบั พทุ ธศาสนาโดยตรงดังกล่าวท่ีเรา พบเหน็ ได้ท่ัวไปแล้ว พระภิกษุในพมา่ กย็ ังทำ� หน้าท่ีอื่นๆ อีก คลา้ ยกับทเ่ี รา เห็นในสังคมไทย หน้าท่ีเหล่านั้นสัมพันธ์ไปกับความต้องการของชุมชนและ ความรู้ดั้งเดิมท่ีถ่ายทอดมาในสังคมหรือชุมชน เช่น เป็นที่ปรึกษาของ ชาวบ้านด้วยการใช้วิชาโหราพยากรณ์ การแนะน�ำวิธีการบูชาพระเคราะห์ การผลิตและแจกจ่ายวัตถุมงคล และการรักษาโรคให้ชาวบ้านด้วยความรู้ ทางการแพทย์พื้นบ้านซ่ึงในกรณีหลังก็มีจ�ำนวนไม่มากนัก โดยรวมการท�ำ หน้าที่เหล่านี้ก็ไม่ต่างจากท่ีเราเห็นในสังคมไทย และในอีกด้านหน่ึงหน้าท่ี เหลา่ น้ี กถ็ กู ตงั้ คำ� ถาม เหมอื นกบั ทป่ี รากฏในสงั คมไทยเชน่ กนั เนอื่ งจากหาก ยดึ ถอื พระวนิ ัยอย่างเคร่งครดั แลว้ ส่งิ เหล่านอี้ าจถอื เปน็ การละเมิดพระวินัย ได6้ 4 63 Ibid., p. 407. 64 Ibid., pp. 406-409.

43 ดงั มกี รณศี กึ ษาในหมบู่ า้ น Watankway เมอื งตงั่ ตแว (Thandwe) เมืองโบราณและเมืองท่าส�ำคัญของรัฐยะไข่ของพม่าในปัจจุบันเก่ียวกับพระ ที่ท�ำหน้าที่ผู้รักษาหรือหมอพระ หมอพระท่ีหมู่บ้านนี้มีชื่อเสียงมากในเมือง ตั่งตแว ท้ังชื่อเสียงทางเป็นหมอรักษาและหมอดู ชาวบ้านเมื่อเจ็บป่วยก็จะ พากันมาหาท่าน ก่อนจะท�ำการรักษาก็จะมีการค�ำนวณดูชะตาราศีของ ผู้ป่วยว่า อาการป่วยนั้นมาจากวิบากกรรมอันใดหรือไม่ หรือว่าเป็นเพราะ ดาวเคราะห์ใดโคจรมาให้โทษ เม่ือค�ำนวณเรียบร้อยจนทราบเหตุท่ีมาแล้ว ก็จะมีการท�ำ yadaya หรือพิธีสะเดาะเคราะห์ แบบหนึ่งที่ท�ำกันมากคือ การบูชาและถวายส่ิงของให้กับพระเจดีย์หรือพระพุทธปฏิมาตามท่ี ก�ำหนด เพ่ือเป็นเสมือนการท�ำบุญการสะเดาะเคราะห์และขออ�ำนาจของ พระพทุ ธคณุ มาบรรเทาเรอ่ื งรา้ ยทต่ี อ้ งเผชญิ โดยมากพระภกิ ษทุ ที่ ำ� พธิ กี รรมนี้ จะมอบวตั ถมุ งคลให้เพื่อปดั เป่าอำ� นาจช่ัวร้ายใหผ้ ูป้ ว่ ยด้วย โดยวตั ถมุ งคลน้ี มักจะเป็นแผ่นโลหะจารอักขระศักดส์ิ ทิ ธิ์หรอื สญั ลกั ษณบ์ างอย่างพรอ้ มดว้ ย การปลกุ เสกดว้ ยคาถา ใสไ่ วใ้ นขวดเครอื่ งหอมหรอื มว้ นเปน็ ตะกรดุ เอาไวห้ อ้ ย รอบแขนหรือคอ ในขณะท�ำพิธีกรรมก็จะมีการพรมน�้ำมนต์ให้กับผู้ป่วย พร้อมกับผู้ป่วยกล่าวค�ำบูชาไตรสรณคมน์และคาถาบูชาพระรัตนตรัย จากนั้นให้ผู้ป่วยกินเถ้าที่เผาจากกระดาษท่ีเขียนอักขระศักด์ิสิทธ์ิเข้าไป65 ซึ่งการรักษาดังกล่าวไม่ได้เป็นการแสวงหาประโยชน์ ไม่มีการตกลงเร่ือง ค่าตอบแทนจากการรักษา แต่เป็นพิธีกรรมท่ีทั้งผู้ให้การรักษาและผู้รับ การรกั ษา กระทำ� ตอ่ กนั ดว้ ยเมตตาและกรณุ าเพอ่ื ชว่ ยใหช้ าวบา้ นทต่ี อ้ งทกุ ข์ 65 Céline Coderey, The Healing Power of the Gift Healing Services and Remuneration in Rakhine (Western Myanmar) in Religion Compass 9 11 (2015): pp. 409-410.

44 จากโรคภัยและตอ้ งการความช่วยเหลอื ให้พ้นทุกขไ์ ดร้ บั สงิ่ ทีป่ ระสงค์ แม้ว่า ในทางพระวินัยแล้วเรื่องพวกน้ีเป็นเร่ืองต้องห้ามก็ตามที แต่ทั้งพระภิกษุ และชาวบ้านท่ีมาหาก็ตระหนักดีถึงการหม่ินเหม่ต่อการท�ำผิดพระวินัย ดังกลา่ ว66 แต่ด้วยมุมมองที่ว่า การรักษาโรคที่เกิดข้ึนนี้มาจากความเมตตา กรุณาและเป็นทานอย่างหน่ึงท่ีพระภิกษุจะมอบให้ชาวบ้านได้ แม้จะมี ชาวบ้านอีกจ�ำนวนไม่น้อยท่ีเห็นว่าเรื่องพวกน้ีผิดต่อพระวินัย และมีความ ไมค่ อ่ ยพอใจตอ่ พระทท่ี ำ� พธิ กี รรมเหลา่ นี้ และมองวา่ หมอพระเหลา่ นก้ี ไ็ มต่ า่ ง จากพระที่ประพฤติผิดธรรมวินัยพวกอ่ืนๆ แต่เอาเข้าจริงเมื่อพวกเขาต้อง ประสบกับทุกข์ด้วยตนเอง คนกลุ่มน้ีหลายคนก็เลือกจะขอความช่วยเหลือ จากหมอพระที่ลึกๆ แล้วเขาก็รู้สึกว่า ท่านมีพลังพิเศษมากกว่า เชื่อถือได้ มากกว่า และซอ่ื สตั ยม์ ากกวา่ เม่อื เทยี บกบั หมอชาวบา้ น เพราะอย่างไรก็ดี พระภิกษุเหล่านี้ก็มุ่งปฏิบัติเพ่ือให้พ้นไปจากโลกียวิสัยและดูเหมือนว่าไม่ได้ ใส่ใจในเร่อื งผลประโยชน์ท่จี บั ต้องได6้ 7 วา่ ดว้ ยคนทรง (baydin hsaya หรอื nat hsaya) เป็นผู้ที่สามารถส่ือสารในทางจิตกับบรรดาเทพเจ้าทั้งหลาย หรือ ส่ือสารกับวิทยาธรได้ บางทีก็ผ่านวิชาทางด้านโหราพยากรณ์หรือมีความ สามารถในการรู้เห็นสิ่งท่ีเกินกว่าอายตนะของคนธรรมดาจะหย่ังรู้ได้ กล่าว กันว่า บางคนก็หย่ังรู้วิบากรรมของผู้อื่นได้ สามารถเข้าใจผลกระทบจาก ดวงดาวได้ และมีวิชาในการสร้างยันต์ เคร่ืองราง หรือวัตถุมงคลต่างๆ ได้ 66 Ibid., pp. 410-411. 67 Ibid., pp. 410-411.

45 ความสามารถในการสอื่ สารกบั เทพหรอื วทิ ยาธรไดเ้ ปน็ ผลมาจากการถกู เลอื ก โดยจะปรากฏเป็นนิมิตผ่านความฝันหรือปรากฎการณ์บางอย่าง เชื่อกันว่า ผถู้ กู เลอื กมาทำ� หนา้ ทน่ี ี้ โดยมากมกั จะมาจากเหตสุ องประการ ประการแรก บุคคลน้นั เป็นผสู้ ัง่ สมบารมีมานานต้ังแต่ในอดีตชาติ ด้วยการทำ� บุญ ปฏิบัติ ธรรมต่างๆ มามากจนมีโอกาสได้พบกับวิทยาธร บ่อยคร้ังท่ีการถูกเลือกนี้ มักเกดิ ขน้ึ ตัง้ แต่บุคคลน้ันอยู่ในวยั เด็ก ส่วนใหญก่ ็จะเปน็ ผมู้ าจากครอบครัว ท่ีมีสถานะทางสังคมไม่ค่อยดีและยากจน ประการที่สองผู้ท่ีถูกเลือกมักเป็น ผู้ท่ีมีจิตบริสุทธิ์และมั่นคงจากที่ปฏิบัติสมถะกรรมฐานมาอย่างเข้มข้น รวมทง้ั ไมข่ าดตกบกพรอ่ งในศลี หา้ นำ� ไปสกู่ ารมพี ลงั อำ� นาจพเิ ศษอนั เกดิ จาก อ�ำนาจแห่งฌาณ บางคนอาจมีฤทธ์ิ เช่น สามารถรู้ใจคนอื่นได้ พยากรณ์ เหตุการณ์ในอนาคตได้ หรือสื่อสารกับเทพหรือวิทยาธรได้ Coderey ได้ ท�ำการศึกษากรณีตัวอย่างของคนทรงผู้หญิงในเมืองต่ังตแว และพบว่า คนทรงมกั จะไมเ่ รยี กการเยยี วยารกั ษาของตนวา่ เปน็ การใหบ้ รกิ ารรกั ษาโรค แต่เห็นว่าเป็นการกระท�ำที่เนื่องมาจากเมตตาเพื่อช่วยให้ผู้คนมีชีวิตท่ีดีข้ึน และมักเน้นถึงความส�ำคัญของ “ปัญญา” อันเป็นที่มาของความรู้ทั้งด้าน ทฤษฎแี ละการปฏิบตั ิของพวกเธอ68 บรรดาคนทรงรักษาโรคเหล่าน้ี มักท�ำงานอย่างไม่เห็นแก่ เหนด็ เหนอื่ ยเพอ่ื การเยยี วยาผคู้ น ไมว่ า่ จะเหนด็ เหนอื่ ยหรอื ปว่ ยไข้ อกี ทงั้ ยงั แสดงออกถงึ ความถอ่ มตนอยา่ งชดั เจนใหผ้ คู้ นเหน็ ได้ เรอื่ งคา่ รกั ษากไ็ มม่ กี าร เรียกร้อง หลายคนจึงได้รับความยอมรับและเคารพนับถือจากชาวบ้านเป็น อย่างมาก เพราะชาวบ้านเห็นว่ากลุ่มคนเหล่าน้ีบางคนเป็นผู้ท่ีเดินตามรอย 68 Ibid., pp. 412-413.

46 ของพระพทุ ธองค์ ดว้ ยการปฏบิ ตั กิ รรมฐานและการถอื ศลี หา้ อยา่ งเครง่ ครดั จนเมอ่ื ผใู้ ดสามารถยกระดบั จติ ใจใหบ้ รสิ ทุ ธแ์ ละมกี ำ� ลงั มากขนึ้ ไปได้ จะทำ� ให้ ถกู เลือกจากวิทยาธรให้สอื่ สารกับพวกตนได้ ชาวบ้านก็มองว่าในการทำ� การ รักษาเยียวยาน้ันไม่ได้แยกหรือต่างไปจากพิธีกรรมของพระพุทธศาสนา เพราะคนทรงจ�ำนวนมากจะสวดพระปริตร หรือสวดบทย่อของสัตตปกรณ์ ในพระอภิธรรมปิฎก ท�ำน้�ำมนต์ รวมท้ังเขียนยันต์เพื่อปัดเป่าโรคภัยต่างๆ มอบใหผ้ ู้ทีม่ ารักษาตวั เรอ่ื งคา่ รักษาก็ไม่มกี ารเรยี กร้อง เป็นเรือ่ งที่คนมาหา จะให้เองตามก�ำลังศรัทาธา โดยมากผู้ท่ีมารักษาก็จะให้กันทุกคนน้อยมาก ตามแต่ก�ำลังทรัพย์ แต่พวกชาวบ้านไม่ได้มองว่าเป็นการจ่ายค่ารักษาแต่ เป็นการท�ำบญุ หรอื การถวายอามสิ บูชาใหก้ ับคนทรงท่านนัน้ ๆ ใหส้ มกับการ เคารพนับถือท่ีพวกเขามีต่อท่านเหล่าน้ัน แต่ก็มีเหมือนกันที่คนทรงเหล่านี้ กำ� หนดราคาของการเขียนยันต์หรือเครื่องรางของขลัง ซ่งึ หากมใี ครกำ� หนด เช่นนั้นก็จะถูกมองอย่างเปรียบเทียบกับคนอ่ืนๆ ที่ไม่เรียกร้องค่ารักษาว่า การท�ำเช่นนี้เป็นการหวังในอามิสมากกว่าการรักษาด้วยความเมตตาและ เสียสละหรือไม่ รวมทั้งก่อให้เกิดเป็นความไม่เช่ือมั่นในความน่าเช่ือถือและ ความมปี ระสิทธภิ าพของคนท่ีกำ� หนดราคา69 สถานะและขอ้ ก�ำหนดต่างๆ ของรัฐ ต่อการแพทย์แบบดงั้ เดิมของพม่า ประเทศพม่าก่อตั้งกรมการแพทย์แบบด้ังเดิมเม่ือเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1989 โดยได้เก็บรักษาคัมภีร์ทางการแพทย์หรือต�ำรายาโบราณใน รูปแบบใบลาน สมุดกระดาษ หรือหนังสือไว้มากกว่า 4,000 ชิ้น โดยมี 69 Ibid., pp. 413-414.

47 การประกาศใช้กฎหมายว่าด้วยการแพทย์แบบดั้งเดิม เมื่อ ค.ศ. 1996 ยาแผนโบราณข้ึนทะเบียน 3,926 รายการ ผู้ผลิตอีก 632 ราย ได้รับ ใบอนญุ าตให้ผลติ ยาได้ และมหี มอแผนเดมิ กว่า 8,000 คน มาขึ้นทะเบียน ในเมืองมัณฑะเลย์มีโรงพยาบาลแพทย์แผนดั้งเดิมขนาด 50 เตียงหนึ่งแห่ง ในย่างกุ้งมีโรงพยาบาลแพทย์แผนดั้งเดิมขนาด 25 เตียง 1 แห่ง และยังมี ขนาด 16 เตยี งอยทู่ อ่ี นื่ อกี 1 แหง่ ในระดบั อำ� เภอมอี ยู่ 194 อำ� เภอทมี่ แี ผนก แพทย์แผนด้ังเดิมอยู่ ซ่ึงแต่ละแห่งก็จะมีคลินิกผู้ป่วยนอกของตนเองเป็น การเฉพาะ70 ในเรื่องการก�ำกับควบคุมการประกอบวิชาชีพน้ัน ช่วงก่อนหน้า สงครามโลกคร้ังที่ 2 มีคณะกรรมการระดับชาติหลายชุดท่ีแนะให้รัฐบาล ยอมรับการใช้การแพทย์แบบดั้งเดิม แต่ก็ไม่มีผลที่เป็นรูปธรรมแต่อย่างใด หลงั จากพมา่ ไดร้ ับเอกราชราวสปี่ ี เมือ่ ค.ศ. 1948 มีการตั้งคณะกรรมการ การแพทยแ์ บบดง้ั เดมิ ของพมา่ ขนึ้ มา และคณะกรรมการชดุ นไี้ ดร้ า่ งกฎหมาย คณะกรรมการของผปู้ ระกอบวชิ าชพี แพทยแ์ บบดงั้ เดมิ ของพมา่ ท่ี 74 ซง่ึ ผา่ น การพจิ ารณาเมอ่ื ค.ศ. 1953 และปรบั ปรงุ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ใน ค.ศ. 1955, 1962 และ 198771 กฎหมายน้ีท�ำให้เกิดคณะกรรมการของผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ แบบดง้ั เดมิ ของพมา่ ทม่ี หี นา้ ทใ่ี นการใหค้ ำ� ปรกึ ษาแกร่ ฐั บาลวา่ ดว้ ยการฟน้ื ฟู และพัฒนาการแพทย์แบบด้ังเดิมของพม่า หรือการวิจัยที่เก่ียวข้องกับเร่ือง 70 World Health Organization, Legal Status of Traditional Medicine and Complementary/Alternative Medicine: A Worldwide Review, (n.p.: World Health Organization, 2001), p. 136. 71 Ibid.

48 ดงั กลา่ ว และการสง่ เสรมิ การสาธารณสขุ ทเี่ กย่ี วขอ้ งในเรอ่ื งนี้ ในมาตราท่ี 11 ของกฎหมายดังกล่าวระบุว่า “จะก�ำจัดพวกหลอกลวงหรือหมอเถ่ือนที่หา ประโยชนจ์ ากการใชก้ ารแพทยแ์ บบดงั้ เดมิ ของพมา่ ” ราวกบั มงุ่ ใหเ้ รอ่ื งนเี้ ปน็ ภารกิจเฉพาะของกรรมการชุดนี้ คณะกรรมการชุดน้ีขึ้นตรงต่อประมุข แห่งรัฐ จึงได้รับอ�ำนาจให้ก�ำหนดหัวข้อในการสอบวัดความรู้ในเร่ืองการ แพทยแ์ บบดงั้ เดมิ ของพมา่ การขนึ้ ทะเบยี น หรอื ถอดถอนผปู้ ระกอบวชิ าชพี ออกจากทำ� เนยี บ หากมปี ญั หาในเรอ่ื งบคุ คลหรอื การประกอบวชิ าชพี เกดิ ขนึ้ มาตรา 24 ก�ำหนดวา่ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามข้อก�ำหนดในมาตรา 23 บทบญั ญตั ิ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี แพทยแ์ บบดง้ั เดมิ ตอ้ งไปขน้ึ ทะเบยี นเพอ่ื ทจี่ ะออกใบรบั รอง แพทย์ ตามกฎหมายที่ก�ำหนดให้ลงช่ือรับรองโดยผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ แบบดง้ั เดมิ เวน้ แตบ่ คุ คลนน้ั ไดร้ บั การอนญุ าตมากอ่ นหนา้ โดยประมขุ แหง่ รฐั หากแพทยผ์ ูป้ ระกอบวิชาชพี แบบดัง้ เดมิ ของพม่าผ้ใู ดไมไ่ ดข้ ึ้นทะเบยี นจะไม่ สามารถรับต�ำแหน่งในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลท่ีได้รับการอุดหนุน จากรฐั 72 มาตรา 7 ของกฎหมายคณะกรรมการของผปู้ ระกอบวชิ าชพี แพทย์ แบบด้ังเดิมของพม่า ฉบับ ค.ศ. 1950 ได้ก�ำหนดให้มีการข้ึนทะเบียน ผูป้ ระกอบวิชาชีพแพทย์แบบด้ังเดิมอยู่ 6 ประเภท การแบ่งประเภทข้ึนอยู่ กบั หลกั การแบง่ ระบบในการแพทยด์ ง้ั เดมิ ของพมา่ ทแ่ี บง่ ออกเปน็ 4 ประเภท คอื ระบบธาตุ (dhatu) ระบบอายุรเวท (ayuraveda) ระบบโหราศาสตร์ (astrology) และระบบใช้เวทยม์ นตค์ าถา (witchcraft) ในมาตรา 9 ของ กฎหมาย ได้ลงรายละเอียดเร่ืองความรู้ที่ต้องมีในแต่ละประเภทเพื่อท�ำการ ข้ึนทะเบียน ส่วนในมาตรา 10 ก�ำหนดให้บุคคลใดก็ตามที่จะท�ำงานในวง 72 Ibid.

49 วิชาชพี แพทย์แบบดงั้ เดมิ ของพม่า ต้องข้นึ ทะเบียนอยูใ่ นกลุ่มหน่ึงกลุม่ ใดใน สามกลมุ่ และยงั หา้ มไมใ่ หพ้ ระภกิ ษสุ งฆม์ าขนึ้ ทะเบยี นเปน็ แพทยแ์ บบดงั้ เดมิ ของพมา่ ดว้ ย ในมาตรา 12 คณะกรรมการฯ มีอำ� นาจในการหาวิธีการเพอ่ื ผนวกรวมการแพทย์ทงั้ 4 ระบบท่มี ีการท�ำการรักษากนั อยู่เขา้ มาเปน็ ระบบ เดียวกัน และคณะกรรมการยังมีอ�ำนาจในการควบคุมการวิจัยและให้ ค�ำแนะนำ� องคก์ รตา่ งๆ ถึงวิธกี ารที่เปน็ มาตรฐานของการรักษาทดี่ �ำเนินการ โดยรา้ นยาของรฐั 73 คณะกรรมการของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แบบดั้งเดิมของ พม่า ได้ออกกฎหมายปรับปรุงแก้ไขบัญญัติท่ี 48 ของฉบับ ค.ศ. 196274 โดยเพม่ิ มาตรา 22-A และมาตรา 28-A เพอ่ื ใหอ้ ำ� นาจประธานของสภาปฏวิ ตั ิ แห่งพม่าสามารถยกเลิกการขึ้นทะเบียนของผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์แบบ ดง้ั เดมิ ของพมา่ ได้ สามารถออกขอ้ กำ� หนดสำ� หรบั ผจู้ ะขนึ้ ทะเบยี นได้ ยกเลกิ สภาพความเป็นคณะกรรมการของบุคคลใดบคุ คลหนง่ึ หรือคณะกรรมการฯ ท้ังหมดได้ และสามารถแต่งตั้งคณะกรรมการใหม่มาแทนที่ได้ ด้วยอ�ำนาจ เหล่านี้ คณะกรรรมการท่ีได้รับการแต่งต้ังใหม่สามารถเริ่มกระบวนการขึ้น ทะเบยี นผปู้ ระกอบวชิ าชีพซ้�ำอกี ครั้งได้75 ใน ค.ศ. 1996 รัฐบาลได้ประกาศใช้กฎหมายการแพทย์ท้องถ่ิน แบบดั้งเดิม เพ่ือควบคุมการผลิตและการขายยาแผนโบราณ กระทรวง 73 World Health Organization, Legal Status of Traditional Medicine and Complementary/Alternative Medicine: A Worldwide Review, pp. 136-137. 74 ตงั้ ข้นึ เมือ่ นายพลเนวนิ ก่อการรัฐประหาร ใน ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2505) 75 Ibid., p. 137