การดำเนินการโยนโทษ โดยกรรมการตาม และ กลาง : Administrating Free Throws – Passive Official (Trail & Centre) โยนโทษ 1 คร้ัง โยนโทษ 2 ครัง้ โยนโทษ 3 ครงั้ 60 61 62 นิว้ ช ้ี นว้ิ ชดิ กนั ข้ึนท้ังสองมอื กาง 3 นิ้ว ขึ้นทง้ั สองมือ ภาพท่ี 7 สญั ญาณของกรรมการ : Officials’ signals คู่มอื ผตู้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 87
B ใบบนั ทึกคะแนน : THE SCORESHEET ภาพที่ 8 ใบบนั ทกึ คะแนน : Scoresheet 88 คมู่ ือผูต้ ัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล
B.1 ใบบันทึกคะแนนตามภาพที่ 8 เป็นแบบใบบันทึกที่ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการ เทคนคิ ของฟบี า้ (Technical Commission) B.2 ใบบันทึกคะแนนประกอบด้วย ต้นฉบับ 1 แผ่น และ สำเนา 3 แผ่น แต่ละแผ่นมีสีต่างๆ ดังน้ี ต้นฉบับเป็นสีขาว สำหรับ ฟีบ้า(FIBA) สำเนาแผ่นที่หน่ึงเป็นสีน้ำเงิน สำหรับ ฝ่ายจัดการแข่งขัน สำเนาแผ่นที่สองเป็นสีชมพู สำหรับทีมชนะ และสำเนาแผ่นท่ีสาม เปน็ สเี หลอื ง สำหรบั ทีมแพ ้ หมายเหตุ : 1. แนะนำให้ผู้บันทกึ คะแนนใช้ปากกาทม่ี สี ีแตกต่างกนั 2 สี สหี นง่ึ ใช้สำหรับ ช่วงเวลาแรกกับช่วงเวลาที่สาม และอีกสีหนึ่งใช้สำหรับช่วงเวลาท่ีสอง กับชว่ งเวลาทส่ี ่ี 2. ใบบันทึกคะแนนอาจจะจดั เตรียมไว้ในระบบอิเล็กทรอนิคได้ B.3 ก่อนเริ่มต้นการแข่งขันตามกำหนดการอย่างน้อยท่ีสุด 20 นาที ผู้บันทึกคะแนน จะต้อง จดั เตรียมใบบันทึกตามวิธกี ารดงั ตอ่ ไปน้ี B.3.1 เขาตอ้ งเขียนชอื่ ทมี 2 ทีมในชอ่ งบนสดุ ของใบบันทึกคะแนน ทมี เอ(A) จะตอ้ งเปน็ ทีมเหย้า (ทีมเจ้าบ้าน) สำหรับทัวร์นาเม้นท์ หรือการแข่งขันในสนามแข่งขันกลาง เป็นชือ่ ทีมแรกในกำหนดการแข่งขนั เสมอ สว่ นอกี ทีมหนง่ึ จะตอ้ งเปน็ ทมี บี(B) B.3.2 ตอ่ จากนน้ั เขาจะต้องเขยี น : • ชอื่ ของการแข่งขนั • ลำดบั ท่ขี องการแข่งขัน • วันที่ เดอื น ปี เวลา และสถานท่ีแขง่ ขัน • ช่อื ของผู้ตดั สนิ (Referee) และผู้ช่วยผตู้ ดั สิน (Umpires) ภาพที่ 9 สว่ นบนของใบบันทึกคะแนน : Top of the scoresheet คมู่ อื ผตู้ ัดสินกีฬาบาสเกตบอล 89
B.3.3 ต่อจากน้ัน เขาจะต้องเขียนช่ือสมาชิกของแต่ละทีม ตามรายช่ือสมาชิกของทีม ท่ีได้รับรองโดยผู้ฝึกสอน หรือตัวแทนของเขา ทีมเอ(A) จะต้องอยู่ส่วนบน และทมี บี(B) จะต้องอย่สู ว่ นลา่ งของใบบันทึกคะแนน B.3.3.1 ในช่องแรก ผู้บันทึกคะแนนจะต้องเขียนเลขหมายการอนุญาต (Player’s licence) ของนักกีฬาแต่ละคน(เลขสามตัวสุดท้าย) สำหรับทัวร์นาเม้นท์นั้น เลขหมายการอนุญาตของนักกีฬาจะต้องถูกระบุในการเล่นเกมแรกโดยทีมของ เขาเท่านั้น B.3.3.2 ในช่องท่ีสอง ผู้บันทึกคะแนนจะต้องเขียนช่ือของผู้เล่นแต่ละคน ให้เรียงลำดับ ตามหมายเลขของเสื้อแข่งขัน ด้วยตัวอักษร ตัวพิมพ์ใหญ่ ทั้งหมด โดยใช้ หมายเลขของทีมตามรายการที่ผู้ฝึกสอน หรือตัวแทนของเขาได้จัดเตรียมให้ หวั หนา้ ทีมจะต้องถกู ระบุดว้ ยการเขยี น “ CAP ” ตามหลังชื่อของเขา B.3.3.3 ถ้าทีมมีผู้เล่นน้อยกว่า 12 คน ผู้บันทึกคะแนนจะต้องขีดเส้นยาวตลอดจนถึง ช่องสุดท้าย B.3.4 ท่ีส่วนล่างสุดในส่วนของทีม ผู้บันทึกคะแนนจะต้องเขียน (ตัวพิมพ์ใหญ่) ช่อื ผ้ฝู กึ สอน และผู้ชว่ ยผฝู้ กึ สอนของทมี B.4 ก่อนการแข่งขันตามกำหนดการอย่างน้อย 10 นาที ผู้ฝึกสอนของทั้งสองทีม จะตอ้ ง : B.4.1 ยืนยันความเห็นพ้องของพวกเขาเก่ียวกับรายชื่อ และความถูกต้องของหมายเลข สมาชิกในทีมของเขาเหล่าน้นั B.4.2 ยนื ยนั รายช่อื ของผฝู้ ึกสอน และผู้ช่วยผ้ฝู กึ สอน B.4.3 ระบุผู้เล่น 5 คนแรกที่จะเร่ิมต้นการแข่งขัน โดยทำเครื่องหมาย x ตัวเล็ก ข้างหมายเลขผูเ้ ล่นในชอ่ ง “ ผเู้ ล่นลงแข่งขนั ” B.4.4 เซน็ ชอื่ ในใบบันทกึ คะแนน ผฝู้ กึ สอนของทมี เอ(A) จะต้องเปน็ ฝ่ายดำเนินการตามทก่ี ลา่ วขา้ งต้นกอ่ น B.5 ในช่วงเริ่มต้นการแข่งขัน ผู้บันทึกคะแนนจะต้องวงกลมรอบเคร่ืองหมาย x ของผู้เล่น 5 คน ของแต่ละทมี ที่จะเรม่ิ ต้นการแข่งขนั B.6 ในระหว่างแขง่ ขนั ผ้บู นั ทึกคะแนนจะต้องเขียนเครือ่ งหมาย x (ไมใ่ ช่วงกลมรอบ) ในช่อง “ ผเู้ ลน่ ลงแขง่ ขนั ” เมอ่ื ผ้เู ลน่ สำรองลงแขง่ ขัน สำหรับการเป็นผู้เลน่ ครั้งแรก 90 คู่มอื ผตู้ ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล
ภาพที่ 10 สว่ นของทีมในใบบันทกึ คะแนน : Teams on the scoresheet B .7 เวลานอก : Time-outs B.7.1 การอนุญาตให้เวลานอก จะต้องบันทึกในใบบันทึกคะแนน โดยเขียนนาทีของเวลาแข่งขัน ของชว่ งเวลา หรอื แตล่ ะช่วงต่อเวลาพเิ ศษ ในช่องท่ีอยใู่ ตช้ ือ่ ทีม B.7.2 ในช่วงสิ้นสุดการแข่งขันของแตล่ ะคร่งึ เวลา หรอื ชว่ งตอ่ เวลาพิเศษ จะต้องขดี เส้นขนาน 2 เส้น ในช่องทไี่ มไ่ ด้ใช้ ทีมทีไ่ ม่ได้รบั อนุญาตเวลานอก กอ่ นเวลา 2 นาทสี ุดทา้ ยของครึ่งเวลาหลัง ผ้บู นั ทึกคะแนนจะตอ้ งขีดเสน้ ขนาน 2 เส้นในช่องแรกสำหรบั ครึง่ เวลาหลงั ของทมี B .8 การฟาล์ว : Fouls B.8.1 การฟาล์วของผู้เล่น ซ่ึงอาจจะเป็นฟาล์วบุคคล ฟาล์วเทคนิค ฟาล์วผิดวิสัยนักกีฬา หรอื ฟาล์วเสียสิทธก์ิ ารแข่งขัน จะตอ้ งถกู บนั ทึกเป็นการฟาล์วของผูเ้ ลน่ B.8.2 การกระทำฟาล์วของบุคคลที่เกี่ยวข้องในทีม ซ่ึงอาจจะเป็นฟาล์วเทคนิค หรือฟาล์วเสียสิทธ์ิ การแข่งขนั จะตอ้ งถูกบันทึกเป็นการฟาลว์ ของผู้ฝกึ สอน B .8.3 การฟาลว์ ทง้ั หมด จะต้องบนั ทึกดงั ต่อไปน้ี B.8.3.1 ฟาลว์ บคุ คล จะตอ้ งถกู ระบโุ ดยบันทกึ เป็นตัวอักษร “ P ” คู่มือผู้ตัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล 91
B.8.3.2 ฟาล์วเทคนิคผู้เล่น จะต้องถูกระบุโดยบันทึกเป็นตัวอักษร “ T ” การฟาล์วเทคนิค ครง้ั ทสี่ อง จะต้องถกู ระบุโดยบันทกึ เปน็ ตวั อกั ษร “ T ” เชน่ เดยี วกัน ติดตามด้วยตวั อักษร “ GD ” สำหรับการตดั สทิ ธก์ิ ารแข่งขันในชอ่ งว่างถดั ไป B.8.3.3 ฟาล์วเทคนิคผู้ฝึกสอน สำหรับความประพฤติส่วนตัวท่ีผิดวิสัยนักกีฬาของเขา จะต้องถูกระบุ โดยบันทึกเปน็ ตวั อกั ษร “ C ” การฟาล์วเทคนิคในลกั ษณะเดียวกันเปน็ ครง้ั ท่สี อง จะต้อง ถกู ระบุโดยบนั ทกึ เปน็ ตวั อกั ษร “ C ” เช่นเดียวกัน และตดิ ตามด้วยตัวอักษร “ GD ” ใน ชอ่ งว่างถัดไป B.8.3.4 ฟาล์วเทคนิคผู้ฝึกสอนสำหรับเหตุผลอื่นๆ จะต้องถูกระบุโดยบันทึกเป็นตัวอักษร “ B ” การฟาล์วเทคนิคครั้งท่ีสาม (หนึง่ ในสามคร้งั บนั ทึกเปน็ “ C ”) จะต้องถกู ระบโุ ดยบนั ทกึ เป็นตวั อักษร “ B ” หรือ “ C ” ตดิ ตามด้วยตัวอกั ษร “ GD ” ในช่องว่างถัดไป B.8.3.5 ฟาล์วผิดวิสัยนักกีฬา จะต้องถูกระบุโดยบันทึกเป็นตัวอักษร “ U ” การฟาล์วผิดวิสัย นักกีฬาคร้งั ท่สี อง จะตอ้ งถูกระบโุ ดยบันทึกเป็นตัวอกั ษร “ U ” เชน่ เดียวกนั และตดิ ตามดว้ ย ตวั อักษร “ GD ” ในช่องว่าง ถัดไป B.8.3.6 ฟาลว์ เสียสทิ ธิ์ จะต้องถกู ระบุโดยบนั ทกึ เปน็ ตัวอักษร “ D ” B.8.3.7 การฟาล์วทุกครั้งท่ีเกี่ยวข้องกับการโยนโทษ จะต้องถูกระบุโดยการเพิ่มเติมตัวเลขจำนวนคร้ัง ของการโยนโทษ (1, 2 หรือ 3) ในลักษณะเดียวกันขา้ งตัวอกั ษร P, T, C, B, U หรือ D B.8.3.8 การฟาล์วทั้งหมดของท้ังสองทีมท่ีเกี่ยวข้องกับการลงโทษที่มีบทลงโทษเหมือนกัน และได้ยกเลิกตามกติกาข้อ 42 (สถานการณ์พเิ ศษ) จะต้องถูกระบุโดยการเพิม่ เตมิ ตัวอกั ษร “c” ตวั เล็ก ข้างตัวอักษร P, T, C, B, U หรอื D B.8.3.9 ในช่วงสิ้นสุดการแข่งขันของแต่ละช่วงเวลา ผู้บันทึกคะแนนจะต้องขีดเส้นหนา ระหว่าง ชอ่ งท่ไี ด้บันทึกแล้วกับช่องที่ไมไ่ ดถ้ ูกบันทกึ ในช่วงส้ินสุดเวลาการแข่งขัน ผู้บันทึกจะต้องทำลายช่องว่างท่ีเหลือ ด้วยการขีดเส้นหนา ตามแนวนอน B.8.3.10 ตัวอย่างสำหรับการบนั ทึกฟาล์วเสยี สทิ ธิข์ องบุคคลทีเ่ ก่ยี วขอ้ งในทีม 92 คมู่ ือผตู้ ดั สินกีฬาบาสเกตบอล
การฟาล์วเสยี สทิ ธข์ องผเู้ ล่นสำรอง จะต้องบนั ทกึ ดังตอ่ ไปน ี้ และ การฟาล์วเสยี สทิ ธิข์ องผชู้ ่วยผฝู้ ึกสอน จะต้องบนั ทกึ ดังต่อไปนี ้ การฟาลว์ เสียสทิ ธิ์ของผูเ้ ล่นทถี่ กู ให้ออกหลังจากกระทำฟาล์วครบ 5 ครงั้ จะตอ้ งบนั ทกึ ดังตอ่ ไปน้ ี และ B.8.3.11 ตวั อยา่ งสำหรบั การบันทกึ ฟาล์วเสียสิทธ์ิ (การทะเลาะววิ าท : Fighting) การบันทึกฟาล์วเสียสิทธ์ิของบุคคลท่ีเกี่ยวข้องในทีม สำหรับการออกจากเขตท่ีนั่งของทีม (กติกาข้อ 39) จะต้องบันทึกตามที่แสดงอยู่ด้านล่าง ในช่องว่างฟาล์วท่ีเหลือทั้งหมดของบุคคล ทถ่ี ูกตัดสิทธก์ิ ารแขง่ ขัน จะต้องถกู บันทึกด้วยตวั อกั ษร “ F ” เฉพาะผฝู้ ึกสอนถกู ตัดสทิ ธิ์การแขง่ ขนั เฉพาะผ้ชู ว่ ยผูฝ้ กึ สอนถูกตัดสทิ ธกิ์ ารแขง่ ขนั คูม่ ือผ้ตู ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 93
ถ้าทั้งผ้ฝู ึกสอน และผูช้ ว่ ยผฝู้ ึกสอนถกู ตัดสทิ ธ์ิการแข่งขัน ถ้าผู้เลน่ สำรองกระทำฟาล์วนอ้ ยกว่า 4 คร้ัง เชน่ นั้นแลว้ จะต้องบันทึกตวั อักษร “ F ” ลงใน ช่องฟาลว์ ทเ่ี หลอื ทง้ั หมด ถา้ เป็นการฟาล์วครั้งท่ี 5 ของผู้เลน่ สำรอง เชน่ นัน้ แล้ว จะต้องบันทึกตัวอักษร “ F ” ลงใน ช่องฟาล์วสดุ ท้าย ถ้าผเู้ ลน่ ท่ีถูกให้ออกหลังจากกระทำฟาลว์ ครบ 5 ครั้งไปแลว้ ( fouled out) เช่นนั้นแล้ว จะตอ้ ง บนั ทึกตัวอักษร “ F ” ลงในชอ่ งหลงั จากฟาล์วคร้งั สดุ ทา้ ย เพ่มิ เติมตอ่ จากตัวอย่างขา้ งตน้ ของผู้เล่น SMITH, JONES และ RUSH หรอื ถา้ ผู้ติดตามทีม คนใดถกู ตดั สิทธิก์ ารแขง่ ขัน จะต้องบันทึกฟาลว์ เทคนคิ ดังน้ี หมายเหตุ ฟาลว์ เทคนคิ หรือฟาลว์ เสียสทิ ธ์ิตามกติกาข้อ 39 จะไม่นบั รวมเปน็ ฟาลว์ ทีม B.9 ฟาลว์ ทมี B.9.1 สำหรับแต่ละช่วงเวลา จะมีช่องบันทึกฟาล์วทีม 4 ช่องในใบบันทึกคะแนน (ใต้ชื่อทีม และเหนอื ชอ่ื ผู้เลน่ ) เพ่ือบนั ทกึ การฟาล์วทีม B.9.2 เมื่อใดก็ตามท่ีผู้เล่นกระทำฟาล์วบุคคล ฟาล์วเทคนิค ฟาล์วผิดวิสัยนักกีฬา หรือฟาล์ว เสียสิทธิ์ ผู้บันทึกคะแนนจะต้องบันทึกเป็นการฟาล์วต่อทีมของผู้เล่นคนน้ัน โดยการทำ เครื่องหมาย X ตัวใหญ่ ในชอ่ งทีไ่ ด้กำหนดไว้ตามลำดับ 94 ค่มู ือผูต้ ัดสินกฬี าบาสเกตบอล
B .10 การบันทึกคะแนน B.10.1 ผู้บันทึกคะแนน จะต้องบันทึกคะแนนตามลำดับโดยต่อเนื่องทันทีท่ีแต่ละทีม ทำได้ B.10.2 ใบบันทกึ คะแนน มี 4 แถว สำหรับบนั ทกึ B.10.3 แต่ละแถวถูกแบ่งเป็นอีก 4 ช่อง 2 ช่องด้านซ้ายมีไว้เพ่ือทีมเอ(A) และ 2 ช่องด้านขวามีไว้เพ่ือทีมบี(B) ช่องกลางมีไว้ เพ่ือสำหรับบันทึกคะแนนของ แต่ละทีม (160 คะแนน) ผูบ้ นั ทกึ คะแนน จะตอ้ ง : • อันดับแรก ให้ขีดเส้นทแยง ( / ) สำหรับทุกคะแนนที่ได้อย่างถูกต้อง จากการยิงประตู และทำวงกลมทึบ ( ) สำหรับทุกคะแนนที่ได้ อย่างถูกต้องจากการโยนโทษ ไปตลอดทั้งหมดของคะแนนรวมท่ีได ้ สะสมครัง้ ใหม่โดยทมี ที่ทำคะแนนได ้ • ต่อจากนั้น ในช่องว่างด้านเดียวกันกับจำนวนคะแนนรวมใหม่ (ด้านข้าง คะแนนใหม่/หรอื ) ใหใ้ ส่หมายเลขของผ้เู ลน่ ทท่ี ำคะแนนไดจ้ ากการ ยงิ ประตูหรอื โยนโทษ B.11 การบนั ทกึ คะแนน : คำแนะนำเพิ่มเตมิ : The running score : Additional instructions B.11.1 ผู้เล่นท่ียิงประตู 3 คะแนนได้ จะต้องบันทึกโดยการทำวงกลม รอบหมายเลขของผเู้ ล่น B.11.2 คะแนนท่ีได้จากการทำประตูโดยบังเอิญของผู้เล่นด้านห่วง ตาข่ายของทีมเขาเอง จะต้องบันทึกเป็นการทำคะแนนของ หัวหน้าทีมฝา่ ยตรงขา้ มทอี่ ยใู่ นสนามแขง่ ขัน B.11.3 คะแนนที่ได้ในกรณีที่ลูกบอลไม่ลงห่วงตาข่าย (กติกาข้อ 31 การปรับเป็นประตู และการรบกวนห่วงตาข่าย) จะต้องบันทึก เป็นการทำคะแนนโดยผู้เลน่ ทไ่ี ด้พยายามยงิ ประตู B.11.4 ในช่วงสน้ิ สดุ การแข่งขันของแต่ละช่วงเวลา ผู้บันทกึ คะแนนจะต้องทำวงกลมหนา ( ) รอบตัวเลขของคะแนนที่ทำได้หลังสุดของแต่ละทีม ติดตามด้วย การขีดเส้นหนาตามแนวนอนใต้คะแนนท่ีได้ และใต้หมายเลขผู้เล่นแต่ละคนที่ ภาพที่ 11 ไดท้ ำคะแนนหลงั สุด การบนั ทึกคะแนน : Running score คมู่ ือผตู้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 95
B.11.5 ในช่วงเริ่มต้นการแข่งขันของแต่ละช่วงเวลา ผู้บันทึกคะแนนจะต้องบันทึก ตามลำดับโดย ต่อเนอ่ื งตอ่ ไป ต่อจากคะแนนทไี่ ดห้ ยดุ ไว้ B.11.6 เมื่อใดก็ตาม หากเป็นไปได้ ผู้บันทึกคะแนนควรตรวจสอบคะแนนของเขากับป้ายคะแนน ถ้ามีความขัดแย้งกัน และคะแนนของเขาถูกต้อง เขาจะต้องรีบทำการแก้ไขป้ายคะแนนทันที กรณีเกิดความสงสัย หรือถ้ามีทีมใดคัดค้านกับการแก้ไข เขาจะต้องแจ้งผู้ตัดสิน(Referee) โดยเรว็ ที่สดุ เมอื่ บอลกลายเปน็ บอลตาย และนาฬิกาแข่งขนั ไดห้ ยุดเดิน B.12 การบนั ทกึ คะแนน : การสรุปคะแนน : The running score - Summing up B.12.1 ในช่วงส้ินสุดการแข่งขันของแต่ละช่วงเวลา ผู้บันทึกคะแนนจะต้องบันทึก คะแนนของช่วงเวลานั้น ลงในส่วนที่แบ่งเป็นช่องท่ีด้านล่างของใบบันทึก คะแนน B.12.2 ในช่วงส้ินสุดการแข่งขันของแต่ละช่วงเวลา ผู้บันทึกคะแนนจะต้อง ขีดเส้นหนา 2 เส้นตามแนวนอนใต้ตัวเลขของคะแนนสุดท้ายท่ีทำได้โดย ผู้เล่นของแต่ละทีม รวมถึงใต้หมายเลขของผู้เล่นท่ีได้ทำคะแนนสุดท้ายน้ัน เขายังจะต้องขีดเส้นทแยงมุมไปถึงส่วนล่างของช่อง เพ่ือทำลายตัวเลข (คะแนนตามลำดับ) ทีเ่ หลือสำหรบั แตล่ ะทีม B.12.3 ในช่วงส้ินสุดการแข่งขันของแต่ละช่วงเวลา ผู้บันทึกคะแนนจะต้องบันทึก คะแนนสุดท้าย และชื่อทมี ทีช่ นะการแขง่ ขนั ภาพท่ี 12 การสรุปคะแนน : B.12.4 ต่อจากนั้น ผู้บันทึกคะแนนจะต้องเขียนช่ือ−สกุล ด้วยตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ Summing up หลังจากท่ีผู้ช่วยผู้บันทึกคะแนน ผู้จับเวลา และผู้ควบคุมนาฬิกายิงประต ู ในใบบนั ทึกคะแนน B.12.5 ทันทีท่ีผู้ช่วยผู้ตัดสินได้เซ็นชื่อแล้ว ผู้ตัดสินจะเป็นผู้รับรองและเซ็นช่ือในใบ บนั ทกึ คะแนนเปน็ คนสดุ ท้าย การเซ็นช่ือถือเป็นการสนิ้ สุดการปฏบิ ัติหน้าท่ี อย่างเปน็ ทางการ และความเกยี่ วข้องกับการแข่งขนั หมายเหตุ ถ้ามีหัวหน้าทีม(CAP) ของทีมหนึ่งทีมใดเซ็นชื่อเพ่ือประท้วงในใบบันทึกคะแนน ในช่อง “ลายเซ็น หวั หนา้ ทมี กรณีมกี ารประท้วง” เจา้ หน้าทีโ่ ต๊ะทุกคนรวมท้งั ผู้ชว่ ยผ้ตู ดั สนิ จะต้องอยูจ่ นกวา่ ผู้ตัดสนิ จะอนุญาตให้ออกไปได้ ภายใต้การดำเนินการของผตู้ ดั สนิ 96 คู่มอื ผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอล
ภาพท่ี 13 สว่ นลา่ งของใบบนั ทกึ คะแนน : Bottom of the scoresheet คูม่ ือผ้ตู ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 97
C ระเบยี บวธิ ีการประทว้ ง : PROTEST PROCEDURE ในการแข่งขันของสหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติ (FIBA official competition) ถ้าทีมหนึ่งทีมใด เชื่อว่าการแข่งขันของทีมตน ได้รับผลท่ีเป็นตรงกันข้ามจากการตัดสินของกรรมการ (ผู้ตัดสินหรือ ผู้ช่วยตัดสิน) หรือจากกรณีใดๆ ที่ทำให้ตกอยู่สถานะน้ันในระหว่างการแข่งขัน ทีมนั้นต้องดำเนินการ ฟ้องรอ้ งตามวธิ กี ารดงั ตอ่ ไปน้ี : C.1 หัวหน้าของทีมนั้น จะต้องแจ้งผู้ตัดสิน (referee) ทันที ในช่วงส้ินสุดการแข่งขันว่า ทีมของเขา ขอประท้วงต่อผลการแข่งขัน และเซ็นช่ือในใบบันทึกคะแนนในช่อง “ลายเซ็นหัวหน้าทีม กรณีมกี ารประท้วง” เพื่อทำให้การประท้วงถูกต้องสมบูรณ์ เป็นเร่ืองจำเป็นท่ีตัวแทนเจ้าหน้าท่ีของสหพันธ์แห่งชาตินั้น หรือสโมสรที่ประท้วง จะต้องให้การยืนยันการประท้วงครั้งนี้เป็นลายลักษณ์อักษร ซ่ึงต้องทำ ภายใน 20 นาที หลังจากจบการแขง่ ขัน รายละเอียดของคำอธิบายไม่จำเป็นต้องมี ให้เขียนเพียงว่า : สหพันธ์แห่งชาติ(หรือสโมสร) X ขอประท้วงผลการแข่งขัน ระหว่างทีม X กับ ทีม Y ต่อจากนั้นเขาจะต้องมัดจำเงินประกัน ต่อผู้แทนสหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติ หรือประธานคณะกรรมการเทคนิค เป็นจำนวนเงิน 1.500 ฟรังกส์ วิส (CHF) ผู้แทนสหพนั ธแ์ ห่งชาติของทมี หรอื สโมสรท่ปี ระท้วง ตอ้ งเสนอรายละเอยี ดของการประท้วงไปยัง ผู้แทนสหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติ หรือประธานคณะกรรมการเทคนิคภายในเวลา 1 ช่ัวโมง หลังจากจบการแขง่ ขัน หากคณะกรรมการเทคนคิ เห็นพ้องดว้ ยกบั ทมี ทปี่ ระท้วง เงินประกนั จะไดร้ ับคนื C.2 ผู้ตัดสินจะต้องรายงานเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน ซ่ึงนำไปสู่การประท้วงไปยังประธานคณะกรรมการ เทคนคิ ภายใน 1 ช่วั โมง หลังจากหมดเวลาการแขง่ ขัน C.3 หากสหพันธ์แห่งชาติของทีมหรือสโมสรที่ประท้วง หรือฝ่ายตรงข้ามหรือสโมสรตรงข้ามน้ัน ไม่เห็นด้วยกับคำตัดสินของคณะกรรมการเทคนิค ก็อาจจะยื่นการอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ อุทธรณ ์ เพื่อทำให้การอุทธรณ์นี้ถูกต้องสมบูรณ์ การอุทธรณ์ต้องยื่นเป็นลายลักษณ์อักษรภายใน 20 นาที หลังจากได้รับคำตัดสินของคณะกรรมการเทคนิค และพร้อมกับวางมัดจำ เป็นเงินประกนั 3.000 ฟรังกส์ วิส(CHF) หากคำวินจิ ฉัยของคณะกรรมการอทุ ธรณ์ เหน็ พอ้ งด้วยกับทีมทยี่ น่ื อุทธรณ์ เงนิ ประกนั จะไดร้ บั คืน C.4 วิดีทัศน์ ฟิล์ม ภาพยนตร์ หรือวัสดุอ่ืนใด ทัศนูปกรณ์ เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ เคร่ืองดิจิตอล หรืออุปกรณ์อื่น สามารถนำมาใช้เพื่อการกำหนดความรับผิดชอบในเรื่องระเบียบ หรือ เพอ่ื วตั ถปุ ระสงคเ์ กย่ี วกบั การศกึ ษา(การฝกึ หดั ) ภายหลังการแข่งขนั ได้สน้ิ สุดลงเทา่ นั้น 98 คมู่ อื ผ้ตู ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล
D การจดั อนั ดบั ของทีม : CLASSIFICATION OF TEAMS D.1 ขั้นตอนวธิ กี าร D.1.1 ทีมต่างๆ จะถูกจัดอันดับตามสถิติผล ชนะ − แพ้ ของทีมเหล่านั้น กล่าวคือ 2 คะแนน สำหรับแต่ละเกมที่ชนะ 1 คะแนนสำหรับแต่ละเกมท่ีแพ้(รวมทั้งการแพ้ เพราะผู้เล่น ไ ม่เพียงพอ : default) และ 0 คะแนนสำหรับการแพ้การแขง่ ขนั เพราะถกู ปรบั แพ้(forfeit) D.1.2 ข้ันตอนวิธีการน้ี จะถูกนำไปใช้สำหรับแต่ละทีมท่ีได้แข่งขันกับแต่ละทีมในกลุ่ม 1 เกม เท่านั้น (ทัวร์นาเม้นต์เดียว) รวมถึง สำหรับแต่ละทีมท่ีได้แข่งขันกับแต่ละทีม 2 เกม หรือมากกว่า (ลกี เหยา้ −เยือน หรือทัวร์นาเม้นต์ ท่ีมากกว่า) D.1.3 ถา้ มี 2 ทีม หรือมากกว่า มสี ถติ ิผลการแขง่ ขนั ชนะ− แพ้ ในกลมุ่ เหมอื นกันของการแขง่ ขัน ท้งั หมด เกมการแขง่ ขันระหว่าง 2 ทมี น้ี หรือมากกว่า จะนำมาใช้ในการชขี้ าดเพื่อจดั อนั ดบั การแข่งขัน ถา้ หากว่า 2 ทมี น้ี หรอื มากกวา่ มสี ถิติผลการแขง่ ขนั ชนะ− แพ้ เหมือนเดมิ ของ เกมการแข่งขันระหว่างพวกเขา จะตอ้ งนำหลักเกณฑ์ดงั ตอ่ ไปนี้มาใช้ตามลำดบั • ผลต่างของประตู สงู กวา่ ในเกมการแขง่ ขันระหวา่ งพวกเขา • จำนวนคะแนนประตูท่ีทำได้ สูงกว่าในเกมการแข่งขันระหว่างพวกเขา • ผลตา่ งของประตู สูงกวา่ ในเกมการแข่งขนั ท้งั หมดในกลมุ่ • จำนวนคะแนนประตูที่ทำได้ สงู กวา่ ในเกมการแขง่ ขนั ท้ังหมดในกลุม่ ถา้ หากหลกั เกณฑ์นีย้ ังไม่สามารถตัดสินได้ การจับสลากจะเปน็ การช้ีขาดในการจัดอันดบั D.1.4 หากสามารถจัดอันดับทีมตามข้ันตอนในระดับต่างๆ ได้แล้ว ขั้นตอนวิธีการตามข้อ D.1.3 จะถูกดำเนนิ การซ้ำอีกตั้งแตเ่ รม่ิ ตน้ สำหรบั ทมี ที่เหลอื ท้ังหมดทีย่ ังไม่ไดถ้ กู จดั อนั ดบั คู่มอื ผตู้ ัดสินกีฬาบาสเกตบอล 99
�� D.2.4 ตัวอยา งที่ 4 85 – 90 B vs. C 100 – 90 A vs. B 55 – 100 B vs. D 75 – 85 A vs. C 75 – 120 C vs. D 65 – 55 A vs. D คะแนน คะแนน ผลตาง จัดอันดบั ประตู ของประตู ทีม จาํ นวน ชนะ แพ 215 : 310 - 95 เกม 3 3 265 : 260 + 5 A30 1 5 255 : 210 + 45 B32 1 5 260 : 215 + 45 C32 1 5 D32 ดังนน้ั อนั ดับ 4 A การจดั อันดับการแขง ขนั ระหวา ง B, C, D : ทีม จาํ นวน ชนะ แพ คะแนน คะแนน ผลตาง เกม จัดอันดับ ประตู ของประตู B211 3 175 : 175 C211 3 155 : 155 0 D211 3 140 : 140 0 0 ดงั น้ัน อันดบั 1 B อันดับ 2 C อันดบั 3 D D.2.5 ตัวอยางท่ี 5 100 – 55 B vs. F 110 - 90 A vs. B 85 – 90 C vs. D 55 - 60 A vs. C 120 – 75 C vs. E 90 - 75 A vs. D 80 – 100 C vs. F 105 - 75 A vs. E 85 – 80 D vs. E 70 - 45 A vs. F 100 – 95 D vs. F 65 – 60 B vs. C 80 – 75 E vs. F 75 – 80 B vs. D 75 – 80 B vs. E 100 คมู่ ือผตู้ ดั สินกีฬาบาสเกตบอล
�� ทมี จาํ นวน ชนะ แพ คะแนน คะแนน ผลตาง เกม 2 จัดอันดบั ประตู ของประตู A53 2 470 : 400 B53 2 8 420 : 440 + 70 C53 2 8 435 : 395 - 20 D53 3 8 345 : 360 + 40 E52 4 8 375 : 395 - 15 F51 E 7 385 : 440 - 20 6 F - 55 อนั ดบั 6 ดงั นน้ั อนั ดบั 5 การจดั อนั ดับการแขงขัน ระหวาง A, B, C, D : ทมี จํานวน ชนะ แพ คะแนน คะแนน ผลตา ง เกม จัดอนั ดบั ประตู ของประตู A321 5 305 : 220 B321 5 235 : 270 + 85 C312 4 240 : 245 - 35 D312 4 210 : 255 -5 - 45 ดงั นน้ั อนั ดับ 1 A = ชนะ B อนั ดบั 3 D = ชนะ C อนั ดับ 2 B อันดับ 4 C D.2.6 ตัวอยา งท่ี 6 71 – 65 B vs. F 95 - 90 A vs. B 85 – 86 C vs. D 95 - 100 A vs. C 77 – 75 C vs. E 82 - 75 A vs. D 80 – 86 C vs. F 105 - 75 A vs. E 85 – 80 D vs. E 68 - 67 A vs. F 88 – 87 D vs. F 65 – 60 B vs. C 80 – 75 E vs. F 80 – 75 B vs. D 75 – 76 B vs. E ค่มู อื ผตู้ ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล 101
�� ทีม จํานวน ชนะ แพ คะแนน คะแนน ผลตาง เกม จดั อันดบั ประตู ของประตู A532 398 : 392 B532 8 403 : 399 +6 C532 8 455 : 423 +4 D532 8 383 : 379 + 32 E532 8 384 : 380 +4 F505 8 380 : 430 +4 5 - 50 ดงั นั้น อันดับ 6 F การจดั อันดบั การแขงขัน ระหวาง A, B, C, D, E : ทีม จํานวน ชนะ แพ คะแนน คะแนน ผลตา ง เกม จดั อันดบั ประตู ของประตู A422 6 313 : 312 B422 6 308 : 309 +1 C422 6 350 : 348 -1 D422 6 318 : 319 +2 E422 6 304 : 305 -1 A -1 ดงั นัน้ อนั ดับ 1 C อนั ดับ 2 การจัดอันดับการแขงขนั ระหวา ง B, D, E : ทีม จํานวน ชนะ แพ คะแนน คะแนน ผลตาง เกม จดั อนั ดับ ประตู ของประตู B211 3 155 : 151 D211 3 143 : 147 +4 E211 3 143 : 143 -4 0 ดงั นน้ั อันดบั 3 B อนั ดับ 4 E อนั ดับ 5 D 102 ค่มู ือผู้ตดั สินกฬี าบาสเกตบอล
�� D.2.7 ตัวอยา งที่ 7 73 – 71 B vs. F 95 - 90 A vs. B 85 – 86 C vs. D 95 - 96 A vs. C 77 – 75 C vs. E 82 - 75 A vs. D 90 – 96 C vs. F 105 - 75 A vs. E 85 – 80 D vs. E 68 - 67 A vs. F 88 – 87 D vs. F 80 – 75 B vs. C 80 – 79 E vs. F 80 – 75 B vs. D 79 – 80 B vs. E ทมี จาํ นวน ชนะ แพ คะแนน คะแนน ผลตาง เกม 2 จัดอนั ดบั ประตู ของประตู A53 2 410 : 408 B53 2 8 413 : 409 +2 C53 2 8 455 : 419 +4 D53 2 8 398 : 394 + 36 E53 5 8 398 : 394 +4 F50 8 395 : 445 +4 5 - 50 ดังนน้ั อันดบั 6 F การจัดอนั ดบั การแขงขัน ระหวาง A, B, C, D, E : ทมี จาํ นวน ชนะ แพ คะแนน คะแนน ผลตา ง เกม จัดอันดบั ประตู ของประตู A422 6 325 : 328 B422 6 318 : 319 -3 C422 6 350 : 344 -1 D422 6 318 : 319 +6 E422 6 318 : 319 -1 A -1 ดงั นนั้ อนั ดับ 1 C อันดบั 5 คมู่ อื ผูต้ ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 103
�� การจัดอนั ดบั การแขง ขัน ระหวาง B, D, E : ทีม จํานวน ชนะ แพ คะแนน คะแนน ผลตาง เกม จดั อันดับ ประตู ของประตู B211 3 159 : 159 D211 3 147 : 147 0 E211 3 147 : 147 0 0 ดงั นน้ั อันดับ 2 B อนั ดบั 3 D = ชนะ E อันดับ 4 E D .3 ขนั้ ตอนวธิ กี ารเพ่มิ เตมิ D.3.1 กตกิ าข้อ D.1 และ D.2 สามารถใชไ้ ด้ตามกติกา หลังจากท่ีทกุ ทีมไดแ้ ขง่ ขนั กนั หมดทกุ เกม ในกลุ่มของพวกเขา D.3.2 หากทุกทีมยังไม่ได้แข่งขันกันหมดทุกเกมของพวกเขา และถ้ามี 2 ทีม หรือ มากกว่า มีสถติ ผิ ล ชนะ − แพ้ เหมือนกัน ผลต่างของประตสู ูงกวา่ ของเกมการแขง่ ขันทง้ั หมดของทมี เหลา่ น้นั ทไ่ี ดแ้ ขง่ ขนั หา่ งมาก จะต้องตัดสินในการจดั อนั ดับ D.4 การถกู ปรับแพ้ : forfeit D.4.1 ทีมท่ีไม่มาแสดงตนตามกำหนดการแข่งขันโดยปราศจากเหตุผลท่ีชอบ หรือถอนตัวจาก สนามแขง่ ขนั ก่อนส้ินสุดการแข่งขนั จะถูกปรบั ใหแ้ พก้ ารแข่งขันโดยถกู ปรบั แพ้ และได้รับ 0 คะแนนในการจดั อนั ดับ D.4.2 ถ้าทีมถูกปรบั ให้แพเ้ ปน็ คร้ังท่สี อง ผลของการแขง่ ขนั ทั้งหมดของทีมน้ี จะต้องเป็นโมฆะ 104 ค่มู ือผูต้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล
E เวลานอกของส่อื : MEDIA TIME - OUTS E .1 คำจำกดั ความ ฝ่ายจัดการแข่งขันอาจจะกำหนดด้วยตนเองว่าจะใช้เวลานอกของส่ือหรือไม่ และถ้ามี ชว่ งเวลาของเวลานอก จะมชี ่วงเวลาประมาณ (60, 75, 90 หรอื 100 วินาที) E .2 หลักเกณฑ์ E.2.1 ในแต่ละช่วงเวลา อนุญาตให้มีเวลานอกของส่ือ 1 ครั้ง เป็นการให้เพ่ิมเติมจากเวลานอกปกต ิ ไม่อนญุ าตให้มเี วลานอกของสอื่ ในชว่ งต่อเวลาพิเศษ E.2.2 เวลานอกครั้งแรกในแตล่ ะชว่ งเวลา(ทีมหรือสอื่ ) จะเปน็ ช่วงเวลา 60, 75, 90 หรือ 100 วินาที E.2.3 ช่วงเวลาของเวลานอกอน่ื ๆ ทั้งหมด จะตอ้ งเปน็ เวลา 60 วินาที E.2.4 ท้ังสองทีม จะมีสิทธิ์ได้เวลานอก 2 ครั้ง ในระหว่างครึ่งเวลาแรก และ 3 ครั้งในระหว่าง ครงึ่ เวลาหลงั เวลานอกเหล่านี้ อาจจะร้องขอ ณ เวลาใดก็ได้ในระหว่างการแข่งขัน และช่วงเวลาของเวลานอก อาจจะเปน็ ดังนี้ : • 60, 75, 90 หรอื 100 วนิ าที ถา้ ถูกพิจารณาวา่ เปน็ เวลานอกของสื่อ ซ่ึงเป็นเวลานอก ครงั้ แรกของช่วงเวลา หรอื • 60 วินาที ถ้าถูกพิจารณาว่าไม่ได้เป็นเวลานอกของส่ือ ซึ่งได้ถูกร้องขอโดยทีมใด ทมี หนงึ่ หลังจากได้ใหเ้ วลานอกของสอื่ ไปแลว้ E.3 ขั้นตอนการดำเนนิ การ E.3.1 ตามหลักการแล้ว เวลานอกของทีมควรจะใช้ในช่วงเวลาที่เหลือ 5 นาที ของช่วงการเล่น อย่างไรก็ตาม เง่ือนไขน้ี ไม่มหี ลักประกนั ว่าจะตอ้ งเป็นไปตามกรณีน้ี E.3.2 หากไม่มีทีมใดได้ร้องขอเวลานอกก่อน 5 นาทีสุดท้ายของเวลาที่เหลือในช่วงเวลา ถ้าเป็นเชน่ นัน้ จะอนญุ าตใหเ้ ปน็ เวลานอกของส่อื ณ โอกาสแรกเม่ือลูกบอลกลายเปน็ บอลตาย และนาฬกิ าเวลาแข่งขันไดห้ ยุดเดนิ เวลานอกครั้งนี้ จะไมน่ บั เป็นเวลานอกของทมี ใดทมี หน่งึ E.3.3 ถ้ามีทีมใดทีมหนึ่งได้รับเวลานอกก่อน 5 นาทีสุดท้ายของเวลาท่ีเหลือในช่วงเวลานอก คร้ังน้ีจะเปรียบเสมือนการใช้เวลานอกของสื่อ เวลานอกครั้งน้ี จะต้องนับเสมือนเป็นท้ังเวลา นอกของสอ่ื และเวลานอกสำหรบั ทมี ท่ีร้องขอ E.3.4 ด้วยวิธีการตามขั้นตอนนี้ จะทำให้มีเวลานอกอย่างน้อยท่ีสุด 1 คร้ังในแต่ละช่วงเวลา และมากทีส่ ดุ 6 ครง้ั ในคร่ึงเวลาแรก และ มีเวลานอกมากท่สี ดุ 8 ครัง้ ในคร่ึงเวลาหลงั จบกตกิ า และวธิ ดี ำเนินการแขง่ ขนั คูม่ อื ผู้ตัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล 105
106 ค่มู ือผ้ตู ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล
ผู้ตดั สนิ วธิ ีการตัดสินบาสเกตบอลระบบ 2 คน Official Basketball Rules 2010 Referees’ Manual Two-Person Officiating คู่มือผ้ตู ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล 107
108 ค่มู ือผ้ตู ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล
2วธิ ีการตดั สนิ บาสเกตบอล แบบ คน TWO - PERSON OFFICIATING คู่มือผู้ตัดสนิ วธิ ีการตดั สนิ บาสเกตบอล ระบบ 2 คน คู่มือผู้ตัดสิน : วิธีการตัดสินบาสเกตบอลระบบ 2 คน ฉบับนี้ ท้ังหมดได้กล่าวถึงผู้เล่น ผู้ฝึกสอน กรรมการ ฯลฯ สำหรับเพศชาย รวมถงึ ใชก้ บั เพศหญิงดว้ ย ต้องมีความเขา้ ใจว่า คมู่ ือผู้ตัดสนิ นี้ได้ จ ัดข้นึ เพื่อเหตผุ ลในการปฏิบตั ไิ ดจ้ รงิ เทา่ นั้น 1 . บทนำ : Introduction กลไกของการตัดสิน เป็นระบบที่ออกแบบมาให้เป็นระเบียบวิธีการเพ่ืออำนวยความสะดวก แก่กรรมการในการปฏิบัติงานในสนามแข่งขัน มีวัตถุประสงค์เพ่ือช่วยให้กรรมการอยู่ในตำแหน่ง ท่ีดีที่สุดในการตัดสนิ ใจเก่ยี วกบั การละเมิดกติกาได้อย่างถกู ตอ้ งเท่าทีเ่ ป็นไปได ้ สามัญสำนกึ เป็นสิ่งสำคญั ที่ต้องมีในกรรมการท่ีดี ไมเ่ พยี งเฉพาะมคี วามเข้าใจอยา่ งถอ่ งแท้ และชดั เจนในกติกาบาสเกตบอลเทา่ นัน้ แตต่ ้องเขา้ ใจถึงเจตนารมณ์ของการแขง่ ขนั ที่เป็นสว่ นสำคญั อย่างแท้จริง ในการลงโทษการละเมิดกติกาทางเทคนิคที่เกิดขึ้นทุกกรณี กรรมการท่ีประสบผลสำเร็จนั้น ต อ้ งทำให้ผชู้ ม ผู้เล่น และผ้ฝู ึกสอน ยอมรับการตดั สนิ คู่มือผู้ตัดสินฉบับนี้จัดทำข้ึนเพื่อให้กลไกการตัดสินได้มาตรฐานและเตรียมความพร้อม ใ ห้กรรมการสำหรบั การแข่งขนั ทีท่ นั สมยั วัตถุประสงค์ของเรา คือ การกำหนดแบบแผนให้สอดคล้องกับประสบการณ์อันหลากหลาย ท ไ่ี ด้มาจากบรรดากรรมการท้งั หมด กรรมการทุกคนต้องพยายามปฏิบัติตามหลักการพ้ืนฐานเหล่านี้ นอกเหนือจากนี้ ขน้ึ อยูก่ บั ดุลยพินิจของกรรมการ ค่มู อื ผตู้ ดั สินกีฬาบาสเกตบอล 109
2. การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นการแขง่ ขัน : Preparation before the game ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 2 2.1 การเดนิ ทางมาสนามแข่งขัน : Arrival at venue เปน็ สง่ิ สำคญั ทีก่ รรมการทกุ คนควรวางแผนการเดินทางเพื่อใหถ้ ึงจุดหมายปลายทาง ได้ทันเวลา เมื่อเกิดสภาพอากาศที่เลวร้าย พวกเขาควรมีเวลามากพอสำหรับการเดินทาง เพ่ือหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดความล่าช้าในการแข่งขัน ถือเป็นคำแนะนำท่ีควรปฏิบัติอย่างเคร่งครัดว่า กรรมการต้องมาถงึ สนามก่อนเวลาการแข่งขนั ตามกำหนดการอย่างนอ้ ย 1 ชวั่ โมง และใหร้ ายงานตัว ต่อฝ่ายจัดการแข่งขันหรือเจ้าหน้าที่ควบคุมการแข่งขัน : Commissioner ถ้ามีกรรมการต้องเตรียม ความพร้อมของร่างกายและสภาพจิตใจให้ดีท่ีสุดเท่าที่จะทำได้ สำหรับการแข่งขันในแต่ละเกม ควรรับประทานอาหารก่อนเริ่มการแข่งขันอย่างน้อย 4 ชั่วโมง และในวันน้ันควรงดเคร่ืองด่ืมที่มี แอลกอฮอล์ บุคลิกภาพของกรรมการเป็นสิ่งสำคัญมาก ก่อนการแข่งขัน กรรมการต้องแสดงออกถึง ความภาคภูมิใจ โดยการแต่งกายให้เหมาะสม กรรมการชายควรสวมสูทผกู เนคไท (หรือเส้ือนอกแบบ ลำลอง : sports blazer) ชุดของกรรมการควรอยู่ในสภาพดี สะอาด และรีดอยา่ งเรยี บรอ้ ย ไมส่ วมใส่ นาฬ กิ าข้อมือ สายรัดขอ้ มอื หรือเครือ่ งประดับชนดิ อนื่ ในระหว่างการแข่งขัน สรปุ คือ กรรมการตอ้ งมีลกั ษณะเปน็ มอื อาชีพท้งั ในและนอกสนาม 110 คู่มอื ผูต้ ดั สินกีฬาบาสเกตบอล
ภาพท่ี 3 ภาพท่ี 4 2.2 การประชมุ ของกรรมการ : Meeting of officials หลังจากท่ีมาถึงสนาม กรรมการทั้งสองคนควรทักทายทำความรู้จักกัน และเตรียมตัวปฏิบัติหน้าที่ พวกเขาเป็นทีมเดียวกัน และต้องปฏิบัติหน้าที่เต็มกำลังความสามารถ ดว้ ยความเป็นน้ำหนึง่ ใจเดียวกนั การปรกึ ษาหารือกนั กอ่ นการแข่งขนั นับว่าเปน็ สง่ิ สำคัญทสี่ ุด หัวข้อในการสนทนา ประกอบดว้ ย 1. สถานการณ์พิเศษ : สถานการณ์ลูกกระโดดและวิธีการปฏิบัติ การฟาล์วเทคนิค การโยนโทษ เวลานอกสำหรับโทรทัศน์ ฯลฯ 2. ความร่วมมือและการทำงานเป็นทีม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเม่ือเสียงนกหวีด ดังพร้อมกัน 3. การพยายามยิงประตู 3 คะแนน 4. ความร้สู ึกตอ่ สถานการณก์ ารแขง่ ขัน 5. หลกั การได้เปรียบ/การเสียเปรยี บ 6. ตำแหน่งและความรบั ผิดชอบต่อการเลน่ ที่เฉพาะเจาะจงเปน็ พเิ ศษ 7. การครอบคลุมพื้นทไ่ี มม่ ีบอล(Off-the-ball coverage) 8. การป้องกันด้วยวิธีการรุมสอง (Double teaming) และวิธีการกดดัน (pressing defences) 9. ช่วงเวลาการแข่งขันหรอื ชว่ งการต่อเวลาพเิ ศษส้ินสดุ ลง 10. การจัดการกับปัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ จากผู้มสี ว่ นรว่ มและผูช้ ม คมู่ ือผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอล 111
11. วธิ ีการส่อื สารทั่วไป : - การสอ่ื สารระหวา่ งผูต้ ัดสนิ - การสอื่ สารไปถึงกรรมการโต๊ะและเจา้ หน้าท่ีควบคุมการแข่งขนั ถา้ ม ี 2.3 การเตรยี มความพรอ้ มของร่างกาย : Physical preparation ภาพท่ี 5 ภายหลังการเปลี่ยนชุดตัดสินแล้ว กรรมการแต่ละคนต้องเตรียมตัวสำหรับความหลากหลาย ของรูปแบบการแข่งขนั และกระนัน้ กรรมการควรรำลกึ วา่ บาสเกตบอลสมัยใหม่เป็นกีฬาท่ีมศี ักยภาพ ท างการกฬี าชั้นสงู ไม่เพยี งแต่ตวั ผเู้ ล่น แต่รวมถึงกรรมการดว้ ย โดยไม่คำนึงถึงอายุและประสบการณ์ของกรรมการ การเตรียมความพร้อมของร่างกาย ก่อนการแข่งขันเป็นส่ิงจำเป็น การยืดกล้ามเน้ือด้วยรูปแบบต่างๆ เป็นการช่วยป้องกันอันตราย หรือลดความรนุ แรงจากการบาดเจ็บลงได้ รวมทัง้ เกิดผลดีตอ่ สภาพจติ ใจ ทำให้กรรมการมีความรูส้ กึ และอยูใ่ นสภาวะพร้อมตอ่ ภาระงานทอี่ ย่ขู า้ งหน้า แรงจูงใจในตัวเองและความกระตือรือร้นท่ีสูงย่ิงเป็นส่ิงจำเป็น ส่ิงเหล่าน้ีสามารถเกิดข้ึนได้ จากตวั ของกรรมการเองเทา่ นั้น 112 คูม่ ือผ้ตู ดั สินกีฬาบาสเกตบอล
2.4 การปฏบิ ตั หิ น้าทกี่ อ่ นการแขง่ ขัน : Pre-game duties ภาพท่ี 6 ภาพที่ 7 ภาพท่ี 8 ภาพที่ 9 กรรมการต้องเข้าสนามแข่งขันด้วยกัน อย่างน้อย 20 นาที ก่อนการแข่งขันจะเร่ิมข้ึน และไมน่ ้อยกว่า 5 นาที ก่อนเริม่ ในครง่ึ เวลาหลงั ถือเปน็ ระยะเวลาน้อยท่ีสดุ ที่จำเป็นในการตรวจสอบ คณุ สมบตั ขิ องอปุ กรณส์ นามแข่งขัน และสงั เกตการณก์ ารอบอุ่นร่างกายของท้ังสองทมี ผู้ตัดสินมีหน้าที่รับรองสนามแข่งขัน นาฬิกาแข่งขัน และอุปกรณ์เทคนิคทั้งหมด รวมถึง ใบบันทึกคะแนน (รวมทัง้ เลขทะเบียนผเู้ ลน่ ถ้าไมม่ ีเจา้ หน้าท่ีควบคุมการแข่งขนั ) ผู้ตัดสินจะเลือกลูกบอลที่ใช้แล้ว 1 ลูก สำหรับแข่งขัน และทำเครื่องหมายไว้ให้ชัดเจน ลูกบอลท่ีตัดสินใจเลือกใช้สำหรับแข่งขันนั้น จะต้องไม่อนุญาตให้ทีมใดทีมหนึ่งใช้ฝึกซ้อมก่อนเร่ิมแข่งขัน ลกู บอลแขง่ ขนั ตอ้ งอยู่ในสภาพดี และถูกต้องตามกตกิ า คูม่ ือผตู้ ัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล 113
ภาพที่ 10 ภาพ ท่ี 11 กรรมการควรยืนอยู่ด้านตรงข้ามโต๊ะบันทึกคะแนน และคอยสังเกตการณ์การอบอุ่น ร่างกายของทั้งสองทีมอย่างรอบคอบในระหว่างก่อนเริ่ม/การแข่งขัน และช่วงพักคร่ึงเวลา สำหรับการกระทำท่ีอาจทำให้เกิดความเสียหายต่ออุปกรณ์การแข่งขัน การดึงห่วงของผู้เล่นไม่ควร ให้กระทำเพราะอาจเปน็ เหตุทำให้เกดิ ความเสียหายกบั ห่วงหรือแปน้ กระดาน หากกรรมการสังเกตเห็นพฤติกรรมที่ผิดวิสัยนักกีฬา ผู้ฝึกสอนของทีมที่กระทำผิดต้อง ต ักเตอื นทนั ที ถา้ มกี ารกระทำซ้ำอกี ให้เรียกฟาล์วเทคนคิ ตอ่ บคุ คลทีก่ ระทำผดิ 114 คู่มอื ผูต้ ดั สินกฬี าบาสเกตบอล
ผู้ตัดสินควรตรวจว่า ผู้บันทึกคะแนนได้เตรียมใบบันทึกคะแนนอย่างถูกต้อง และแน่ใจว่า ก่อนเร่ิมการแข่งขัน 10 นาที ตามตารางแข่งขัน ผู้ฝึกสอนได้ยืนยันความถูกต้องของรายชื่อ และหมายเลขของผู้เล่น ชื่อผู้ฝึกสอนโดยการลงช่ือในใบบันทึกคะแนน รวมท้ังระบุผู้เล่น 5 คนแรก ทีจ่ ะเริม่ การแข่งขัน จากนั้นใหผ้ ตู้ ดั สินกลับไปทต่ี ำแหน่งของเขาด้านตรงขา้ มโตะ๊ ผบู้ นั ทกึ คะแนน ภาพที่ 12 ภาพท่ี 13 ภาพที่ 14 ปัจจุบันตามปกติจะต้องมีพิธีการแนะนำตัว ผู้เล่น ผู้ฝึกสอน และกรรมการ ให้กับผู้ชม ขณะที่การแนะนำตัวก่อนการแข่งขันจะเข้าสู่พิธีการ การแนะนำตัวจะเริ่มก่อนการแข่งขัน 6 นาท ี ผู้ตัดสินต้องเป่านกหวีดของเขาและแน่ใจว่าผู้เล่นทั้งหมดได้หยุดอบอุ่นร่างกาย และกลับไปยังท่ีน่ัง ของแตล่ ะทีมทนั ท ี หลังจากท่ีผู้เล่นทุกคน ผู้ฝึกสอน และกรรมการ ได้รับการแนะนำตัวกับผู้ชมแล้ว ให้ผู้ตัดสินเป่านกหวีดของเขา และให้สัญญาณเหลือเวลา 3 นาที จะเริ่มการแข่งขัน ผู้เล่นสามารถ อบอุน่ รา่ งกายในช่วงสุดทา้ ยกอ่ นการแข่งขนั (ภาพที่ 13) ค่มู ือผตู้ ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล 115
เวลา 2 นาที ก่อนเริ่มการแข่งขัน ให้กรรมการเคลื่อนที่มายังตำแหน่งใกล้กับโต๊ะ ผู้บนั ทึกคะแนน เหลอื เวลา 1.30 นาที กอ่ นเริ่มการแข่งขนั ผ้ตู ดั สนิ เป่านกหวดี ของเขา และแนใ่ จวา่ ผูเ้ ล่นท้งั หมดหยุดการอบอุ่นร่างกาย และกลับไปยงั ท่ีนัง่ ของทมี ทนั ที (ภาพท่ี 14) ภาพที่ 15 ภาพท่ี 16 ภาพที่ 17 ผู้ตัดสินควรตรวจสอบว่าทุกคนพร้อมท่ีจะเร่ิมการแข่งขัน และไม่มีผู้เล่นคนใดสวมใส่ อุปกรณ์ท่ีผิดกติกาผู้ตัดสินต้องให้หัวหน้าทีมในสนามแข่งขันของแต่ละทีมแสดงตัว การจับมือ เป็นวิธีการปกติที่ปฏิบัติกัน วิธีน้ีจะช่วยให้คู่ร่วมตัดสินของเขารับรู้ถึงการแสดงตัวของหัวหน้าทีม ทัง้ สองคนในสนาม 116 คู่มือผู้ตดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล
3. การเริม่ ต้นของช่วงการเลน่ : Beginning of a period ภาพที่ 18 ภาพที่ 19 ภาพที่ 20 ภาพท่ี 21 3.1 การดำเนนิ การก่อนการเรมิ่ ตน้ ของช่วงการเลน่ : Administration before the beginning of a period ก่อนก้าวเข้าไปในวงกลม เพื่อดำเนินการเล่นลูกกระโดดในช่วงการเล่นท่ี 1 รวมถึง ก่อนดำเนินการส่งบอลเข้าเล่นในการเริ่มต้นของช่วงการเล่นอื่นทุกช่วง ผู้ตัดสินต้องตรวจสอบ ความพร้อมกับคู่ร่วมตัดสินของเขา รวมถึงตรวจสอบผ่านคู่ของเขาไปถึงกรรมการโต๊ะผู้บันทึกคะแนนท้ังหมด ด ว้ ยการใหส้ ัญญาณ “ชูน้ิวหวั แมม่ ือ : Thumbs up” (ภาพท่ี 18) ผู้ตัดสินต้องชะลอเวลาในการโยนลูกบอล หรือการดำเนินการส่งบอลเข้าเล่นจนกว่าเขา มน่ั ใจว่าทกุ สง่ิ ถูกระเบียบ ในการเร่ิมต้นช่วงการเล่นท่ี 1 ผู้ช่วยผู้ตัดสิน ยืนในตำแหน่งบริเวณเส้นกลางสนาม ด้านเส้นข้างใกล้โต๊ะผู้บันทึกคะแนน เขาจะเป็นกรรมการอิสระ (Free official) หมายความว่าเขาไม่ได้ เก่ียวกับการดำเนินการเล่นลูกกระโดด แต่พร้อมเคลื่อนท่ีไปในทิศทางการเล่น เม่ือลูกบอลถูกปัด (ภาพท่ี 19 – ภาพท่ี 21) ค่มู ือผ้ตู ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 117
ผู้ตัดสินยืนด้านตรงข้าม หันหน้าเข้าหาโต๊ะผู้บันทึกคะแนน พร้อมท่ีจะก้าวเข้าไปใน ว งกลมกลาง เพือ่ โยนลกู บอลสำหรับการเริ่มต้นของช่วงการเลน่ ที่ 1 การดำเนินการส่งบอลเข้าเล่นในการเริ่มต้นของช่วงการเล่นอ่ืนทุกช่วง ผู้ตัดสินจะไปอยู่ใน ตำแหน่งที่แนวเส้นกลางสนามด้านตรงข้ามโต๊ะผู้บันทึกคะแนนในแดนหลังของผู้เล่นท่ีส่งบอลเข้าเล่น ผู้เล่นท่ีส่งบอลเข้าเล่นต้องยืนคร่อมแนวเส้นกลางสนาม ผู้ช่วยผู้ตัดสินจะยืนในตำแหน่งท่ีเส้นข้าง ด้านตรงข้ามในแดนหนา้ ของทีมทสี่ ง่ บอลเข้าเล่นและจัดกรอบ : box-in ผูเ้ ล่นท้งั หมดให้อยใู่ นสายตา สำหรับการเคล่ือนท่ีของผู้ตัดสินและผู้ช่วยผู้ตัดสินหลังจากการส่งบอลเข้าเล่นในการเร่ิมต้น ช่วงการเล่นอ่นื ทกุ ช่วง ยกเว้นชว่ งการเล่นท่ี 1 ดูกติกาขอ้ 5.2 ภาพที่ 22 ภาพที่ 23 ภาพที่ 24 ภาพที่ 25 3.2 การโยนลกู บอล : Opening toss ก่อนทำการโยนลูกบอล ผู้ตัดสินควรตรวจสอบความพร้อมของผู้เล่นลูกกระโดดทั้งสองคน รวมถึงเท้าท้ังสองของแต่ละคนให้อยู่ในคร่ึงวงกลมของวงกลมกลางใกล้กับห่วงประตูของเขา โดยให้ เทา้ ขา้ งหน่ึงใกล้กับเสน้ กลาง 118 ค่มู อื ผู้ตดั สินกีฬาบาสเกตบอล
ลูกบอลจะโยนตรงขึ้นไประหว่างผู้เล่นฝ่ายตรงกันข้าม 2 คน โดยให้สูงเกินกว่าผู้เล่น ท ้ังสองคนสามารถกระโดดถึง(ภาพที่ 22) หลังจากทำการโยนลูกบอลแล้ว แนะนำให้ผู้ตัดสินยืนนิ่งอยู่กับที่คอยดูทิศทางการเล่น จนกวา่ ลูกบอลและผู้เล่นไดเ้ คล่ือนออกจากวงกลม ผู้ตัดสินไม่ควรพยายามถอยหลังออกขณะปล่อยลูกบอลออกจากมือ เพราะจะมีผลต่อ ก ารโยนลกู บอลให้แม่นยำ ผู้ช่วยผู้ตัดสินต้องตรวจสอบการปัดบอลให้เป็นไปตามกติกา กล่าวคือลูกบอลได้ขึ้นถึง จุดสูงสุดก่อนการปัดรวมถึงการเคล่ือนท่ีของผู้เล่นที่ไม่ได้เล่นลูกกระโดด(8 คน) ให้ถูกต้องตาม ก ตกิ า(ภาพท่ี 23 - 24) ทันทีที่ลูกบอลถูกปัดคร้ังแรก ผู้ช่วยผู้ตัดสินให้สัญญาณเวลาในและเคลื่อนท่ีไปตาม ทิศทางการเล่น นำหนา้ ลูกบอลข้ึนไปทำหนา้ ที่ตำแหนง่ กรรมการนำ(ภาพท่ี 25) ภาพที่ 26 ภาพท่ี 27 ค่มู อื ผตู้ ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล 119
3.3 การเคล่อื นท่ขี องกรรมการ : Movement of official เม่อื ลกู บอลถกู ปัดไปทางขวา(ซา้ ยมือ : ผแู้ ปล) ของกรรมการอสิ ระ : free official เขาต้อง เคลื่อนที่ไปตามทิศทางการเล่นเดียวกันกับลูกบอล และว่ิงไปถึงเส้นหลัง ปรับตำแหน่งของเขาเป็น กรรมการนำ : lead official (ภาพที่ 26) ผู้ตัดสินที่โยนลูกบอล ให้อยู่ในตำแหน่งของเขาในวงกลม สังเกตการเล่น เม่ือการเล่น เคลื่อนออกจากบริเวณกลางสนามไปแล้ว เขาจึงเคลื่อนตำแหน่งตาม : trail position ไปตาม แนวเสน้ ขา้ ง (รูปภาพท่ี 26) เม่ือใดก็ตาม หากมีการเปล่ียนทีมครอบครองบอล และเปลี่ยนทิศทางการเล่นใหม่ กรรมการทั้งสองคนต้องปรับเปลี่ยนความรับผิดชอบ เขาท้ังสองยังคงรับผิดชอบแนวว่ิงเส้นเดียวกัน ดว้ ยการเปลยี่ นจากตำแหน่งตาม : trail position กลายเปน็ กรรมการนำ : lead official คนใหม่ และกรรมการนำกลายเป็นกรรมการตามคนใหม่ เม่ือลูกบอลถูกปัดไปทางซ้าย(ขวามือ : ผู้แปล) ของกรรมการอสิ ระ เขาต้องเคล่ือนท่ไี ปตามทิศทางการเลน่ เดียวกันกบั ลูกบอล และว่งิ ไปถึงเส้นหลงั ปรับตำแหนง่ ของเขาเป็นกรรมการนำ : lead official (ภาพที่ 27) ผู้ตัดสินที่โยนลูกบอล ควรอยู่ในตำแหน่งของเขาสักครู่หนึ่ง วิธีน้ีจะช่วยให้ผู้ตัดสิน ไม่กีดขวางผู้เล่น แล้วจึงเคลื่อนท่ีข้ามไปยังด้านโต๊ะผู้บันทึกคะแนนและอยู่ในตำแหน่งตาม (รปู ภาพท่ี 27) 4. ตำแหนง่ และความรบั ผดิ ชอบของกรรมการ : Positioning and responsibilities of Officials ภาพท่ี 28 120 คมู่ ือผูต้ ดั สินกีฬาบาสเกตบอล
4.1 เทคนคิ การตัดสนิ : Officiating techniques กรรมการควรกวาดสายตามองให้ท่ัวตลอดเวลา พยายามมองให้คลอบคลุมพ้ืนท่ี รอู้ ยูเ่ สมอว่าผู้เล่นท้ังหมด (10 คน) อยู่บริเวณใด แล้วแตต่ ำแหนง่ ของลูกบอล กรรมการหน่งึ คนตอ้ ง ดูการกระทำทห่ี ่างจากลูกบอล ก ารรู้วา่ ลกู บอลอยู่บริเวณใด ไม่เหมือนกับการจอ้ งลูกบอล เม่ือใดก็ตามท่ีกรรมการท้ังสองคนเป่านกหวีดพร้อมกัน กรรมการที่อยู่ใกล้การเล่นจะเป็น ผู้ดำเนินการ: take the call การกำหนดให้ส่ือสารด้วยสายตา : eye contact ซึ่งกันและกัน จะช่วยหลีกเลี่ยงการดำเนินการท่ีแตกต่างกัน : different calls เมื่อใดก็ตามท่ีกรรมการท้ังสอง เปา่ นกหวดี สำหรบั การฟาลว์ เขาไม่ควรรบี เคล่ือนท่ไี ปดำเนินการใดๆ ในเหตุการณน์ ้ี เพ่อื การตดั สนิ ท่ีถูกต้องเที่ยงธรรม กรรมการแต่ละคนควรคำนึงถึงคำตัดสินของคู่ร่วมตัดสินของเขา ต้องไม่มีความ ขัดแย้งกันระหว่างผู้ตัดสินกับผู้ช่วยผู้ตัดสิน เม่ือมีการตัดสินการฟาล์ว หรือการทำผิดระเบียบ กรรมการท่ีหนุ่มกว่าหรือมีประสบการณ์น้อยกว่า ก็มีอำนาจในการตัดสินใจมากเท่าเพื่อนร่วมงานท่ีมี ความชำนาญ ความร่วมมือและการทำงานร่วมกัน : team work เป็นส่ิงสำคัญ พวกเขาต้องปรับ การตดั สินใหเ้ ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั โดยการยอมรบั บทบาท และความรบั ผิดชอบซง่ึ กันและกัน ภาพท่ี 29 คมู่ ือผู้ตัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล 121
4.2 การแบ่งพนื้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบในสนาม : Division of responsibilities on the court รูปแบบการตัดสินนั้นกำหนดให้กรรมการทั้งสองคนทำงานร่วมกัน กรรมการคนหนึ่ง รับผิดชอบบอลในพื้นที่ครอบคลุม : on-the-ball และอีกคนหน่ึงรับผิดชอบสำหรับบอลนอกพ้ืนที่ ครอบคลุม : off-the-ball เพ่ือให้สามารถครอบคลมุ พน้ื ทีไ่ ด้ กรรมการทัง้ สองคนตอ้ งหาตำแหน่งทด่ี ี ทส่ี ดุ เท่าทีท่ ำไดเ้ พือ่ ตดั สินการเล่น การใชร้ ะบบของการตดั สินในคูม่ อื ฉบับน้เี ปน็ เพียงแนวทางในการ ปฏิบัติ เพื่อให้ง่ายต่อการตัดสิน แต่ละคร่ึงของสนามแข่งขันได้แบ่งคร่ึงสนามออกเป็นส่ีเหลี่ยมผืนผ้า หมายเลข 1 ถงึ 6 (ภาพท่ี 29) ในกรณีแรก เราจะมุ่งไปที่ตำแหน่งของกรรมการตามที่เก่ียวกับลูกบอล ที่แสดงถึง โอกาสเมื่อเขาต้องรับผิดชอบครั้งแรกสำหรับพื้นที่ที่มีลูกบอล และบอลนอกพ้ืนท่ีครอบคลุม พร้อมกับวิธีการมองให้เห็นถึงเหตุการณ์ตามหลักการที่อยู่ในเทคนิคการตัดสิน ต่อจากนั้นเป็น การวิเคราะห์ตำแหนง่ ของกรรมการนำ และความรบั ผดิ ชอบของเขา ในหมวดสุดท้ายจะเป็นการทบทวนการทำงานของกรรมการทั้งสองคน รวมถึง ห น้าท่ที ้งั หมดของเขาตามลำดบั 4.3 กรรมการตาม : ตำแหนง่ และความรบั ผิดชอบ : Trail official - positioning and responsibilities กรรมการตามควรอยู่ด้านหลังของการเล่นปกติ เขาควรอยู่ในตำแหน่งด้านหลัง เล็กน้อยทางด้านซ้ายของลูกบอลและห่างประมาณ 3 – 5 เมตร ในภาพท่ี 30 และภาพท่ี 31 ลูกบอลอยู่ในพืน้ ที่ส่เี หลี่ยมที่ 1 กรรมการตามรับผดิ ชอบ โดยดกู ารเล่นรอบลูกบอล โดยเฉพาะผู้เลน่ ท่ีกำลังเล้ียงบอล กำลังยิงประตู หรือกำลังส่งบอล และผู้เล่นฝ่ายป้องกัน หรือผู้เล่นขณะป้องกัน ฝ่ายตรงขา้ ม เมือ่ ลกู บอลอยู่ในพื้นที่สว่ นนข้ี องสนามแข่งขัน อันดับแรก กรรมการตามตอ้ งรบั ผดิ ชอบ พื้นที่ที่มีลูกบอล ในภาพที่ 32 และภาพท่ี 33 ลูกบอลอยู่ในพื้นท่ีส่ีเหล่ียมที่ 2 กรรมการตาม ก็รับผิดชอบการเลน่ รอบลูกบอล ในภาพที่ 34 ลูกบอลอยู่ในพ้ืนที่สเ่ี หล่ียมที่ 3 เป็นพื้นทที่ ี่หา่ งออกมา ทางด้านขวาของกรรมการตาม เขายังคงต้องรับผิดชอบสำหรับบอลในพ้ืนท่ีครอบคลุม ในสถานการณ์นี้ อย่างไรก็ตามกรรมการตามต้องหาตำแหน่งที่ดีที่สุดเท่าท่ีทำได้เพื่อให้ครอบคลุมพฤติกรรมการเล่น และรวมถึงการตัดสนิ เม่ือลกู บอลออกนอกสนามใกลเ้ ส้นข้างทางขวามอื ของเขาในภาพท่ี 35 ลกู บอล อยู่ในพื้นท่ีส่ีเหล่ียมท่ี 3 ใกล้เส้น 3 คะแนน ในกรณีนี้ส่วนใหญ่ลูกบอลจะรุกเข้าทางพื้นที่สี่เหลี่ยม ที่ 4 หรือ 5 เพ่ือยิงประตู ส่งบอล หรือเลี้ยงบอล ในการพิจารณาการกระทำท่ีอาจเกิดข้ึน กรรมการตามต้องเคล่ือนท่ีไปทางด้านซ้ายของเขา เพื่อให้สามารถครอบคลุมพ้ืนท่ีการเล่นท่ีห่าง จากการเลน่ บอล 122 คู่มือผ้ตู ัดสินกีฬาบาสเกตบอล
บางคร้ังกรรมการตาม ต้องการความช่วยเหลือจากกรรมการนำในการพยายามยิงประต ู 3 คะแนน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เมือ่ ผเู้ ล่นฝ่ายป้องกนั กีดขวางมมุ มองของเขา หากการพยายามยงิ ประตู 3 คะแนน กระทำโดยผู้เล่นที่ยืนคร่อมแนวเส้นโยนโทษ (พ้ืนที่ส่ีเหล่ียมท่ี 3 และ 4) กรรมการตาม ต้องรับผิดชอบสำหรับการพยายามยิงประตูน้ัน กรรมการตาม ไม่ต้องรับผิดชอบสำหรับเส้นหลัง หรือเส้นข้างทางด้านขวามือของเขา แต่ถ้ามีโอกาสเขาอาจให้ความช่วยเหลือคู่ร่วมตัดสินของเขา เร่อื งการตัดสินใจ ทศิ ทางการส่งบอลเขา้ เลน่ เม่อื ลกู บอลออกนอกสนาม ภาพท่ี 30 ภาพที่ 31 ภาพท่ี 32 ภาพท่ี 33 ภาพท่ี 35 ภาพที่ 34 ตำแหนง่ ของกรรมการตาม : Position of trail official ค่มู อื ผู้ตดั สินกีฬาบาสเกตบอล 123
ลูกบอลอยู่ในพื้นท่ีส่ีเหลี่ยมที่ 4 ที่มุมห่างไปทางด้านขวามือของเขา (ภาพท่ี 36 และภาพท่ี 37) ระหว่างแนวเส้นโยนโทษกับเส้นหลัง กรรมการตามไม่ต้องรับผิดชอบในส่วนของ ลูกบอลและการเล่นบริเวณโดยรอบลูกบอล ภาระอันดับแรกของเขาคือการดูสถานการณ์ท่ีอยู่ห่าง จากลูกบอล ความรับผิดชอบหลักของกรรมการตาม อยู่ที่พ้ืนท่ีการเล่นโพสท์ต่ำด้านที่ไม่มีการเล่นบอล (ด้านที่ห่างจากลูกบอล) พยายามดูแลเหตุการณ์การกำบังท่ีผิดกติกา หลักการสำคัญท่ีสุด คือ กรรมการตาม ต้องเคลื่อนท่ีเข้าไปถึงแนวเส้นโยนโทษ (โดยประมาณ) เม่ือลูกบอลตรงไปยัง ห่วงตาข่ายหรือเส้นหลัง ขณะส่งบอล เลี้ยงบอล หรือยิงประตู เพ่ือหามุมมองที่ดีกว่าให้เห็น ชอ่ งวา่ งระหว่างผ้เู ล่น ในภาพท่ี 38 และภาพท่ี 39 ลกู บอลอยู่ในพืน้ ทเ่ี ขต 3 วนิ าที (พืน้ ทีส่ ี่เหล่ยี มท่ี 5) ถือเป็น พื้นที่ร่วมท่ีกรรมการท้ังสองคนจะต้องดูการเล่นโดยรอบลูกบอล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานการณ์ การยิงประตู กรรมการตามต้องรับผิดชอบลูกบอลท่ีลอยอยู่ในอากาศ คอยดูว่าลูกบอลลงห่วงประตู หรือไม่ รวมถึงการขัดขวางลูกบอลลงห่วง และการรบกวนห่วงตาข่ายของฝ่ายรุก และฝ่ายป้องกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน้าที่ในการระวังดูแลสถานการณ์ขณะแย่งบอล ต้องตามดูแลเป็นพิเศษ ของผู้เล่นแนวป้องกันที่พยายามแย่งบอลจากตำแหน่งท่ีเสียเปรียบในภาพท่ี 40 ลูกบอลอยู่ในพื้นที่ สี่เหล่ียมท่ี 6 ในพื้นที่ยิงประตู 2 คะแนน อันดับแรกกรรมการตามเป็นผู้รับผิดชอบบริเวณ การเล่นบอล อย่างไรก็ตาม หากมีการยิงประตูจากแนวเส้นหลัง กรรมการนำจะรับผิดชอบการเล่น บริเวณโดยรอบลูกบอล เขาต้องตามดูแลการเล่นเป็นพิเศษในพ้ืนที่ตำแหน่งโพสท์สูงและโพสท์ต่ำ ในภาพที่ 41 ลูกบอลยงั คงอยใู่ นพืน้ ท่ีสี่เหลีย่ มที่ 6 และอยู่ในพน้ื ที่ยงิ ประตู 3 คะแนน กรรมการตาม ต้องดูลูกบอล และการเล่นโดยรอบลกู บอล โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมอื่ มกี ารพยายามยงิ ประตู กรรมการ ตามต้องรับผิดชอบโดยแสดงทิศทางการเล่น สำหรับการส่งบอลเข้าเล่น เม่ือลูกบอลออกนอกสนาม ใกล้เส้นข้างด้านซ้ายมือของเขา ความร่วมมืออย่างใกล้ชิดตลอดเวลาระหว่างกรรมการทั้งสองคน เป็นส่ิงจำเป็นท่ีสำคัญท่ีสุด โดยเฉพาะอย่างย่ิง ในกรณีเม่ือลูกบอลอยู่ในพื้นท่ีสี่เหลี่ยมที่ 6 ถือเป็น คำแนะนำท่ีควรปฏิบัติอย่างเคร่งครัดว่าเม่ือใดก็ตาม ท่ีลูกบอลได้ส่งเข้าไปในพื้นท่ีใหม่ หรือพ้ืนท่ีอ่ืน และมีการเปลี่ยนความรับผิดชอบสำหรับพื้นท่ีครอบคลุมลูกบอล กรรมการตามควรปรับตำแหน่ง ตามครู่ ่วมตัดสินด้วย 124 คู่มอื ผู้ตดั สินกีฬาบาสเกตบอล
ภาพท่ี 36 ภาพที่ 37 ภาพท่ี 38 ภาพท่ี 39 ภาพท่ี 40 ภาพที่ 41 ตำแหนง่ ของกรรมการตาม : Position of trail official คู่มือผ้ตู ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 125
ภาพท่ี 42 กรรมการตามเป็นผู้รับผิดชอบพนื้ ทีค่ รอบคลมุ ลูกบอล ในพื้นที่ส่ีเหล่ยี มทแี่ รเงา(ภาพท่ี 42) พน้ื ทส่ี เี่ หลี่ยมแรเงาทึบเป็นพ้ืนทีร่ ับผดิ ชอบร่วมกับกรรมการนำ หนา้ ท่ีเบือ้ งต้นของกรรมการตาม ประกอบดว้ ย : 1. การพยายามยิง ในพน้ื ท่ี 2 คะแนน และ 3 คะแนน รวมทง้ั การตัดสินเรือ่ งการสน้ิ สุด เวลาการแข่งขนั สำหรบั แต่ละช่วงการเลน่ หรือชว่ งตอ่ เวลาพเิ ศษ หรอื เมอ่ื เกิดการทำผดิ ระเบยี บ 24 วนิ าที 2. การขัดขวางลูกบอลลงหว่ ง และการรบกวนหว่ งตาข่าย 3. สถานการณ์การแย่งบอล โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ สถานการณ์เม่อื การแย่งบอลผา่ นไปแล้ว 4. พนื้ ทต่ี ำแหน่งโพสท์ตำ่ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงด้านทไี่ ม่มกี ารเลน่ บอล (หา่ งจากลูกบอล) 5. การฟาล์วท่หี ่างจากกรรมการนำ 6. การทำผดิ ระเบยี บการพาบอลเคลื่อนที่ (กรรมการตามมีมุมมองที่ดที ี่สุด) 7. เวลา 24 วินาที หลักปฏบิ ตั ขิ องกลไกการตัดสินทคี่ วรจำ 1. กรรมการตามต้องเคลอื่ นท่ีตลอดเวลาเมือ่ ลูกบอลเคลื่อนที ่ 2. การจดั กรอบผเู้ ล่น ใหผ้ ู้เล่นทัง้ หมดอย่รู ะหว่างกรรมการท้งั สองคน 3. เคล่ือนเข้าหาเมื่อลูกบอลรุกเข้าไปใต้แนวเขตเส้นโยนโทษ เม่ือยิงประตู ส่งบอล หรือเลยี้ งบอล 4. มองดชู อ่ งว่างระหวา่ งผู้เลน่ 126 ค่มู ือผูต้ ดั สินกีฬาบาสเกตบอล
4.4 ขอ้ แนะนำในการปฏบิ ัติของกรรมการตาม : Trail official – practical advice 1. เม่ือการเล่นเคลื่อนข้ึนไปด้านบนของสนามแข่งขัน ให้เคล่ือนท่ีไปอยู่ทาง ด้านซา้ ยข้างหลังลกู บอลเลก็ นอ้ ย(ดา้ นขวาในบางโอกาส) ห่างประมาณ 3 – 5 เมตร มองช่องว่าง ระหว่างผเู้ ล่น จะช่วยใหเ้ ห็นมมุ มองการเลน่ ไดก้ วา้ ง รวมถงึ ชว่ ยใหค้ รอบคลุมสนามมากข้นึ 2. กรรมการตามรับผิดชอบเส้นข้างด้านซ้าย เส้นกลางสนาม (อาจเกิดลูกบอลกลับ จากแดนหนา้ ไปแดนหลัง) และเวลา 24 วินาที เอาใจใสใ่ นรายละเอยี ดต่อเวลา 24 วินาที เม่อื ลูกบอล ออกนอกสนาม 3. แจ้งท้ังสองทีมถึงจำนวนของวินาทีท่ียังเหลืออยู่ เมื่อเวลาเหลือน้อยกว่า 8 วนิ าที ซึ่งทมี ฝา่ ยรุกตอ้ งพาบอลข้นึ ไปแดนหนา้ จากการส่งบอลเข้าเลน่ ในแดนหลัง 4. ถ้าลูกบอลข้ึนไปด้านบนของสนามแข่งขัน ไกลออกไปทางด้านขวา และผู้เลี้ยงบอลถูกป้องกันอย่างใกล้ชิด กรรมการตามต้องเคล่ือนไปหาเพื่อครอบคลุมผู้เล่น ตามความจำเปน็ จากนัน้ ต้องกลบั ไปยังตำแหนง่ ปกติของกรรมการตามทนั ทีทส่ี ถานการณ์อำนวย 5. กรรมการตามเป็นผู้รับผิดชอบหลักสำหรับสำหรับลูกบอลท่ีลอยอยู่ในอากาศ จากการยิงประตทู ุกสถานการณ์ ประกอบดว้ ย การขดั ขวางลกู บอลลงห่วง และการรบกวนหว่ งตาขา่ ย ดูเท้าทั้งสองของผู้ยิงประตูในการพยายามยิงประตู 3 คะแนน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเม่ืออยู่ใกล้เส้น 3 คะแนน ให้แนใ่ จวา่ ได้ดูระหวา่ งผเู้ ลน่ เพอ่ื การตัดสินในเรอ่ื งการปะทะกันในจังหวะสุดท้าย 6. เม่ือใดก็ตามท่ีลูกบอลเข้าไปเส้นหลัง หรือห่วงตาข่ายจากการยิงประต ู เลี้ยงบอล หรือส่งบอล กรรมการตามต้องเคล่ือนตามเข้าไปด้วย (แต่ไม่เกินแนวเส้นโยนโทษ) จะทำให้สามารถช่วยคู่ร่วมตัดสินได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้เล่นที่กำลังเข้ามาทางด้านหลังของ ฝา่ ยตรงข้ามเพอ่ื แยง่ ลกู บอลอยา่ งผดิ กติกา 7. เมื่อใดก็ตามที่ลูกบอลถูกส่งหรือปล่อยออกไปเพ่ือยิงประตู ให้สังเกต การกระทำของผู้เล่นฝา่ ยป้องกันก่อนมองทล่ี ูกบอล 8. เมื่อคู่ร่วมตัดสินมองเพ่ือขอความช่วยเหลือเม่ือลูกบอลออกนอกสนาม ต้องพร้อมที่จะช่วยเหลือทันที วิธีการส่ือสารในสถานการณ์นี้ เกิดข้ึนได้จากการคุยกันระหว่าง การประชมุ กอ่ นการแข่งขัน 9. การเปล่ียนตำแหน่งจากกรรมการตามเป็นกรรมการนำ ไม่ควรหันหน้าออก จากการเล่น และให้มองดูในสนามแข่งขัน สายตาควรมุ่งไปท่ีการเล่น และผู้เล่นตลอดเวลา โดยการมองขา้ มไหลต่ นเอง 10. เม่ือต้องรับผิดชอบบอลในพื้นที่ครอบคลุม โดยเฉพาะอย่างย่ิงในสถานการณ์ การเล่นตัวตอ่ ตัว ใหม้ องช่องว่างระหว่างผู้เล่น “ เคลื่อนไปในที่ตอ้ งการไป เพ่ือให้เห็นในสงิ่ ที่ตอ้ งการเห็น ” (Go where you need to go in order to see what you need to see) คู่มอื ผตู้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 127
4.5 กรรมการนำ - ตำแหนง่ และความรบั ผิดชอบ : Lead official - positioning and responsibilities กรรมการนำควรอยู่นำหน้าการเล่นในสภาวะปกติ เขาต้องเคลื่อนท่ีลงอย่างรวดเร็ว เท่าที่เป็นไปได้โดยให้การเล่นตามเขาลงมา กรรมการนำต้องเคล่ือนท่ีตลอดเวลา เมื่อเคลื่อนท่ีถึง เส้นหลัง ตามปกติเขาจะเคล่ือนที่ระหว่างเส้นเขตยิงประตู 3 คะแนน ไปด้านซ้ายมือ และไม่ไกล เกนิ ขอบของเขตกำหนด 3 วนิ าที ทางด้านขวามือของเขา โดยไมจ่ ำเป็นตอ้ งเคลอ่ื นเกินกวา่ บรเิ วณนี้ สำหรับสถานการณ์เกือบท้ังหมด กรรมการต้องใช้หลักการ “การจัดกรอบ : Boxing- in” จัดให้ผู้เล่นทั้ง 10 คน อยู่ระหว่างพวกเขาเสมอ กรรมการต้องไม่อยู่เป็นแนวทแยงมุมในภาพท่ี 43 และภาพท่ี 44 ลูกบอลอยู่ในพื้นที่สี่เหล่ียมที่ 1 กรรมการนำจัดตำแหน่งของเขาให้ผู้เล่นท้ัง 10 คน อยู่ระหว่างตัวเขากับคู่ร่วมตัดสินของเขา หน้าที่อันดับแรกของเขาคือ ดูการเล่นท่ีห่างจากลูกบอล เขาควรเอาใจใส่เป็นพเิ ศษตอ่ การกำบังอย่างผิดกติกาในภาพท่ี 45 และภาพที่ 46 ลูกบอลอยใู่ นพน้ื ที่ สเี่ หลย่ี มที่ 2 กรรมการนำตอ้ งรบั ผดิ ชอบอนั ดบั แรกสำหรับบอลนอกพืน้ ท่คี รอบคลุมโดยให้หนั ลำตวั : hips open เข้าหาการเล่น (เท้าท้งั สองขา้ งอยู่ตามแนวเสน้ หลงั ) เขาต้องสามารถคาดการณ์ถงึ ความ เป็นไปไดใ้ นการเคล่อื นทข่ี องลกู บอลไปยงั หว่ งตาขา่ ย เมื่อลูกบอลอยู่ในพื้นที่ส่ีเหลยี่ มท่ี 3 (ภาพที่ 47 และภาพท่ี 48) กรรมการนำยงั คงรบั ผิดชอบบอลนอกพื้นที่ครอบคลมุ เขาควรจะรอู้ ยู่เสมอวา่ ลูกบอล อยู่ที่ใด เมื่อจำเป็นต้องให้ความช่วยเหลือคู่ร่วมตัดสินขณะพยายามยิงประตู 3 คะแนน ไม่จำเป็น ต้องเคลื่อนที่ออกห่างจากเส้นยิงประตู 3 คะแนนไปด้านซ้ายมือของเขา ขณะที่ลูกบอลอยู่ในพ้ืนท่ี ส่ีเหลี่ยมที่ 3 กรรมการนำตอ้ งดผู ูเ้ ลน่ ในพ้ืนทีบ่ ริเวณโพสทต์ ำ่ การแขง่ ขันสมยั ใหม่ มกั มีการปะทะกัน ระหว่างผู้เล่นในพ้ืนท่ีบริเวณโพสท์ต่ำ จึงเป็นหน้าที่ของกรรมการนำ ที่ต้องแน่ใจว่า ขณะท่ีผู้เล่น พยายามหาตำแหน่งใหม่ในสนามแข่งขัน การปะทะกันน้ันไม่กลายเป็นเร่ืองมากเกินเลย และหยาบรุนแรง ส่งผลให้เกิดการใช้มือที่คาดไม่ถึง การกีดขวางท่ีผิดกติกาจากการกระทำน ี้ ถอื วา่ เป็นการฟาลว์ การใหต้ วั อย่างภาพประกอบทีแ่ สดงถึงตำแหนง่ ลกู บอลท่อี ยู่ในพื้นทส่ี เ่ี หลีย่ มท่ี 1, 2 และ 3 ระหว่างเสน้ กลางสนามกบั แนวเส้นโยนโทษเหล่านี้ กรรมการนำ ตอ้ ง “จัดผูเ้ ล่นให้อยภู่ ายใน กรอบ : Boxes” และอันดับแรกที่ต้องรบั ผดิ ชอบ คอื บอลนอกพนื้ ท่คี รอบคลมุ 128 คู่มือผู้ตัดสินกฬี าบาสเกตบอล
ภาพท่ี 43 ภาพที่ 44 ภาพที่ 45 ภาพที่ 46 ภาพท่ี 47 ภาพท่ี 48 ค่มู อื ผตู้ ดั สินกีฬาบาสเกตบอล 129
ตำแหน่งของกรรมการนำ : Position of Lead official ในภาพท่ี 49 และภาพท่ี 50 ลกู บอลอยูใ่ นพืน้ ท่ีสเ่ี หลีย่ มท่ี 4 กรรมการนำ จดั ตำแหน่งของ ตัวเขาให้หันลำตัว : hips open เข้าหาการเล่น (สนามแข่งขัน) และรับผิดชอบการเล่นโดยรอบ จากตรงน้ี เขายังคงอยู่ในตำแหน่งท่ีดีเพ่ือการพิจารณาตัดสิน เมื่อลูกบอลออกนอกสนามใกล้เส้นข้าง ด้านซ้ายของเขา อีกท้ังเขายังสามารถให้สัญญาณแก่คู่ร่วมตัดสิน เมื่อมีการพยายามยิงประตู 3 คะแนน จากพ้นื ท่ีนี ้ แมว้ ่าเขาเป็นผู้รับผดิ ชอบสำหรบั บอลในพนื้ ท่ีครอบคลุม ความรบั ผดิ ชอบรองลงมาของเขา เมื่อลูกบอลอยู่ในพ้ืนท่ีสี่เหลี่ยมท่ี 4 คือ คอยดูผู้เล่นในพ้ืนที่โพสท์ต่ำด้านท่ีมีลูกบอล เมื่อลูกบอล เคลอ่ื นที่เข้าไปอยใู่ นพื้นทเี่ ขต 3 วินาที พ้นื ท่ีส่ีเหล่ยี มที่ 5 (ภาพท่ี 51 และภาพที่ 52) กรรมการนำ คอยดกู ารเล่นโดยรอบลกู บอลในทันที คำแนะนำ เขาควรดผู เู้ ลน่ ฝา่ ยป้องกัน ในการยงิ ประตทู ั้งหมด หรอื สถานการณ์การเล่นแบบตัวตอ่ ตวั ในฐานะที่กรรมการนำเป็นผใู้ กลช้ ดิ การเล่นกว่า เขาเป็นผูท้ ่ีอยู่ ในตำแหน่งท่ีดีที่สุดในการพิจารณาตัดสินในสถานการณ์การปะทะกันที่มีผลต่อผู้ยิงประตูทั้งหมด รวมถึงผู้เล่นท่ีกำลังป้องกัน การปะทะกันโดยไม่ได้ตั้งใจควรจะมองข้าม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผู้เล่น พุ่งเข้าไปหาห่วงตาข่าย และทำคะแนน ไม่ใช่หน้าที่ของเขาในการดูลูกบอลที่ลอยอยู่ในอากาศ ในภาพท่ี 53 ขณะลูกบอลอยู่ในพ้ืนที่การยิงประตู 2 คะแนน ในพ้ืนที่สี่เหลี่ยมท่ี 6 กรรมการนำ เคลื่อนที่ข้ามไปครอบคลุมการเล่นโดยรอบลูกบอล แต่ต้องหันลำตัว : hips open เข้าหาการเล่น (สนามแข่งขัน) เสมอ เขาไม่จำเป็นต้องเคลื่อนที่ไกลออกไปถึงขอบของพ้ืนที่เขต 3 วินาที ทางด้าน ขวาของเขา อย่างไรก็ตาม เมื่อลูกบอลอยู่ในพื้นที่การยิงประตู 3 คะแนน พื้นที่ส่ีเหลี่ยมท่ี 6 (ภาพที่ 54) กรรมการนำมีหน้าที่แรกท่ีสำคัญ สำหรับบอลนอกพื้นที่ครอบคลุม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เขาต้องคอยดูพื้นที่บริเวณตำแหน่งโพสท์ต่ำ รวมถึงผู้เล่นอ่ืนท้ังหมดท่ีห่างจากลูกบอล และสถานการณ์การกำบัง กรรมการนำเป็นผู้รับผิดชอบบอลในพื้นที่ครอบคลุม เม่ือลูกบอลอยู่ใน พื้นที่สี่เหล่ียมท่ี 4 และ 5 รวมท้ังรับผิดชอบในพ้ืนที่สี่เหล่ียมท่ี 6 เมื่อลูกบอลอยู่ในพ้ืนท่ีโพสท์ต่ำ หรือขณะที่ผู้เล่นกำลังเคลื่อนที่พุ่งเข้าหาห่วงตาข่าย กรรมการนำควรจะพิจารณาตัดสินผู้เล่น ฝา่ ยปอ้ งกนั ในขณะที่ผู้เลน่ ฝ่ายรุกพรอ้ มลูกบอลอย่ใู นพนื้ ที่ และกำลงั พยายามยงิ ประตูหรอื เล้ยี งบอล 130 คูม่ ือผตู้ ดั สินกีฬาบาสเกตบอล
ภาพท่ี 49 ภาพที่ 50 ภาพท่ี 51 ภาพที่ 52 ภาพท่ี 53 ภาพที่ 54 ตำแหน่งของกรรมการนำ : Position of Lead official คมู่ ือผ้ตู ัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล 131
ภาพท่ี 55 กรรมการนำเป็นผู้รับผิดชอบบอลในพื้นที่ครอบคลุม เม่ือลูกบอลอยู่ในพื้นที่แรเงา (ภาพที่ 55) พ้นื ที่แรเงาเขม้ เป็นพื้นท่รี บั ผดิ ชอบร่วมกบั กรรมการตาม หน้าทร่ี ับผิดชอบอันดบั แรกของกรรมการนำ ประกอบดว้ ย : 1. การหมุนตวั /การเลน่ ตำแหน่งโพสท์ 2. การเลน่ ใต้ห่วงตาข่าย 3. การกระทำฟาลว์ ท่หี ่างจากกรรมการตาม 4. การพุ่งเข้าหาหว่ งตาขา่ ยทางดา้ นกรรมการนำของสนามแขง่ ขัน ข้อปฏิบตั ิทคี่ วรจำของการตัดสิน : 1. เคลอื่ นทีเ่ สมอ เม่อื ลูกบอลเปล่ยี นตำแหนง่ 2. จัดผู้เล่นทั้งหมดให้อยู่ในกรอบ : Box-in ระหว่างการมองในสนามแข่งขันของ กรรมการ 3. มองดูช่องวา่ งระหว่างผ้เู ล่น 4. ถอยหา่ งจากเส้นหลงั เพื่อให้ได้มมุ มองที่กวา้ งขึน้ 132 คูม่ อื ผตู้ ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล
4.6 ขอ้ แนะนำในการปฏิบตั ิของกรรมการนำ : Lead official - practical advice 1. กรรมการนำต้องเคล่ือนที่ลงอย่างรวดเร็วเท่าท่ีเป็นไปได้ ให้การเล่นตามลงมา เคลื่อนทตี่ ่อเนือ่ งตลอดเวลา พยายามหาตำแหนง่ ท่ดี ที ่ีสดุ เท่าที่จะทำได้ ต้องรู้ อยเู่ สมอวา่ ลกู บอลอยูไ่ หน เม่อื เป็นคนแรกท่ีดูการเล่นท่หี า่ งจากลกู บอล 2. รับผิดชอบเส้นหลังและเส้นข้างทางด้านซ้าย เตรียมพร้อมที่จะช่วยใน สถานการณ์ 24 วนิ าท ี 3. พร้อมให้ความช่วยเหลือคู่ร่วมตัดสินในการพยายามยิงประตู 3 คะแนน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อลูกบอลอยู่ใกล้พื้นที่สี่เหล่ียมที่ 4 สื่อสารด้วยสายตา : eye contact กับคูร่ ว่ มตดั สินตลอดเวลา 4. เอาใจใส่เป็นพิเศษต่อการเล่นในตำแหน่งโพสท์ และการปะทะตัวกันท่ีอาจจะ ปล่อยให้เล่นได้ ต้องรับผิดชอบ และควรจะลงโทษการเล่นท่ีหยาบ รุนแรง จำให้ได้ว่าผู้เล่นคนใดพยายามเคลื่อนที่เข้าไปยังตำแหน่งใหม่ หรือกำลัง ขดั ขวางการเคล่ือนทขี่ องฝ่ายตรงข้ามอย่างผดิ กตกิ า 5. เพ่ือใหไ้ ด้มมุ มองที่ดีท่สี ุด พยายามอย่ใู นตำแหน่งที่ห่างจากเส้นหลงั (ระยะ 2 เมตร ถ้าเป็นไปได้) มุมมองทีก่ วา้ งข้นึ นำมาซง่ึ การมองเห็นทีด่ ีกวา่ ทำให้ตดั สินใจได้ดยี ิ่ง ข้ึน เพื่อให้บรรลุผลนี้ กรรมการนำต้องเคล่ือนที่ บ่อยๆ เคลื่อนเข้าหา ห่วงตาข่าย เม่ือมีการเลี้ยงบอลมาจากพื้นท่ีส่ีเหลี่ยมท่ี 4 ไปยัง 5 จนถึง 6 ดูต้ังแต่ “เรม่ิ ตน้ ” จนถงึ “สิ้นสดุ ” การเลีย้ งบอลเขา้ ไป 6. เม่อื เวลาส้ินสุดการแขง่ ขนั ของชว่ งการเลน่ หรอื ช่วงตอ่ เวลาพเิ ศษ ไม่ต้องแสดง สัญญาณการนบั หรอื ไม่นบั คะแนน หน้าที่นี้เป็นความรับผิดชอบของกรรมการตาม 7. หลีกเลี่ยงการลงโทษการปะทะกันที่ไม่มีผลต่อการเล่น โดยเฉพาะอย่างย่ิง เมื่อผู้เล่นเล้ียงบอลเข้าหาห่วงตาข่ายเพ่ือทำคะแนน ในทำนองเดียวกัน ต้องไม่เรียกฟาล์วฝ่ายรุก ด้วยเหตุท่ีผู้เล่นฝ่ายป้องกัน แสร้งทำและล้มลงกับพ้ืน การเรียกฟาล์วควรจะเรียกเมื่อการปะทะมีผลต่อการเล่นโดยตรง (ยกเว้นพวก เขาเลน่ ผิดวิสัยนกั กฬี า) 8. เม่ือคู่ร่วมตัดสินมองหาความช่วยเหลือในเร่ืองลูกบอลออกนอกสนาม ต้องพร้อมให้ความช่วยเหลือทันที วิธีการสื่อสารสำหรับสถานการณ์น้ีให้ กำหนดในระหวา่ งการประชมุ ก่อนลงปฏิบัตหิ นา้ ท่ี : pre-game conference 9. ในกรณีของการป้องกันแบบกดดัน : pressing defence ขณะที่ผู้เล่น ฝ่ายป้องกัน 3 คน หรือมากกว่าอยู่ในแดนหลังของฝ่ายตรงข้าม กรรมการนำ ต้องช่วยเหลือกรรมการตามในการครอบคลุมการเล่น ในสถานการณ์น ี้ ใหช้ ะลอการเคล่ือนไปข้างหน้าเพอ่ื ให้การช่วยเหลือ “ เคลอ่ื นไปในท่ีตอ้ งการไป เพ่อื ใหเ้ ห็นในส่งิ ทตี่ ้องการเหน็ ” (Go where you need to go in order to see what you need to see) คู่มือผู้ตดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 133
ภาพท่ี 56 ภาพที่ 57 ภาพที่ 58 ภาพที่ 59 ตภำาแพหทนี่ ่ง6ข0อ งกรรมกา รท้งั สองค น : ภาพที่ 61 both officials 134 Positioning of ค่มู อื ผู้ตัดสินกฬี าบาสเกตบอล
ภาพที่ 62 ภาพที่ 63 ภาพที่ 65 ภาพท่ี 64 ภาพท่ี 66 ภาพที่ 67 ตำแหนง่ ของกรรมการทงั้ สองคน : Positioning of both officials คู่มอื ผูต้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 135
ภาพที่ 68 ภาพท ี่ 69 4.7 ขอ้ แนะนำเพ่มิ เตมิ ในการปฏิบตั หิ น้าทขี่ องกรรมการตาม และกรรมการนำ : Trail and Lead official - Further practical advice 1. คอยดูมือและแขนท้ังสองข้างของผู้เล่น ระหว่างการยิงประตู ให้คำนึงถึง หลักการของทรงกระบอกและสิทธ์ิของผู้เล่นท้ังสองคน การถูกต้องตัวกัน โดยไม่ได้ต้ังใจที่ไม่มีผลต่อการเล่น ไม่ควรลงโทษเป็นการฟาล์ว เพ่อื ความมั่นใจให้ดกู ารเคลื่อนไหวทง้ั หมด 2. ระหว่างการเล่นตำแหน่งโพสท์หรือการหมุนตัว ให้ระลึกเสมอว่าผู้เล่น ฝ่ายป้องกันมีสิทธิ์อยู่ในตำแหน่งที่ถูกกติกาเหมือนกับผู้เล่นฝ่ายรุก การฟาล์วควรเรียกเม่ือการปะทะมีผลโดยตรงต่อการเล่น การใช้ศอก การพิงหลัง การผลัก การดึงด้วยมือหรือข้อศอก เป็นการฟาล์ว การเล่นตำแหน่งโพสท์ หรือการหมุนท่ีหยาบและรุนแรงเกินไป สามารถทำใหก้ รรมการสูญเสยี การควบคมุ การแขง่ ขันได้ 136 คมู่ อื ผตู้ ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230