Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือส่งเสริมไอคิวและอีคิวเด็กสำหรับครู/พี่เลี้ยง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

คู่มือส่งเสริมไอคิวและอีคิวเด็กสำหรับครู/พี่เลี้ยง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

Description: คู่มือส่งเสริมไอคิวและอีคิวเด็กสำหรับครู/พี่เลี้ยง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก.

Search

Read the Text Version

¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 1 13/6/2548, 15:44

¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 2 13/6/2548, 15:44

คูมือ สงเสริมไอคิวและอคี ิวเด็ก สาํ หรับครู/พี่เล้ียง ศูนยพ ัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 3 13/6/2548, 15:44

คมู อื สง เสรมิ ไอควิ และอคี วิ เด็ก สาํ หรบั คร/ู พีเ่ ลีย้ งศูนยพ ัฒนาเดก็ เลก็ เลขมาตรฐานสากลประจําหนังสอื 974-415-178-1 พิมพคร้งั แรก มิถนุ ายน 2548 จาํ นวน 1,000 เลม ผลติ โดย สํานกั พัฒนาสุขภาพจติ กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข โทร. 0-2951-1385 โทรสาร 0-2951-1386 สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ หา มลอกเลียนแบบสว นหนง่ึ สวนใดของหนงั สือเลมนี้ โดยไมไ ดรับอนญุ าตจากเจา ของลิขสิทธิ์ ขอมูลบรรณานกุ รม วนดิ า ชนินทยทุ ธวงศ, บรรณาธิการ คมู ือสงเสรมิ ไอคิวและอีคิวเดก็ สําหรับครู/พเ่ี ลย้ี งศูนยพฒั นาเดก็ เลก็ / วนิดา ชนินทยทุ ธวงศ. พมิ พค รง้ั ที่ 1. นนทบุรี : สาํ นกั พฒั นาสุขภาพจติ . 2548. 100 หนา. 1.เดก็ -การดแู ล 2.พัฒนาการเด็ก 3.ไอควิ และอคี วิ 4.คร/ู พ่เี ลีย้ ง-ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก พมิ พที่ โรงพิมพชมุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จํากัด ศิลปกรรม อติวรรณ ทองมา, อภิวรรณ อนิ ดว ง, ฤทธริ งค อรณุ านนท, จิรโชติ พ่ึงรอด ภาพประกอบ จักรพนั ธุ หงษสวัสดิ์ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 4 13/6/2548, 15:44

คํ า นํ า การมสี ตปิ ญ ญาทดี่ ี (IQ) ชว ยใหค นเรยี นรสู ง่ิ ตา งๆไดดี มศี กั ยภาพ ในการสรางสรรค และดําเนินชีวิตใหอยูร อดในสังคม ซ่ึงจะตองควบคู ไปกับการพัฒนาทางอารมณ (EQ) ทดี่ ดี วย จึงจะทาํ ใหบุคคลเปนคนทมี่ ี คุณภาพได หากขาดส่ิงใดสิ่งหนง่ึ ยอมทําใหก ารพฒั นาเปน ไปอยา งไมเ ตม็ ศักยภาพ เพราะการท่ีจะมี EQ ดี ตองอาศัยการคิดอยางมีเหตุผล การตดั สนิ ใจและความสามารถในการสอ่ื สารทดี่ ดี ว ย การปลกู ฝง พน้ื ฐานทดี่ ี ทงั้ ไอควิ (IQ) และอีควิ (EQ) ในวัยเด็กจะพัฒนาไปสูผูใหญท ่มี ีคณุ ภาพ อยรู วมกับผูอ่ืนไดอยางราบร่ืนและเปนสิ่งสําคัญที่ทําใหคนเราประสบ ความสําเรจ็ ในชวี ติ การเสรมิ สรางสติปญ ญาและความฉลาดทางอารมณ ผดู ูแลเด็ก จะตองเขาใจความสามารถและพฒั นาการของเด็กแตละวยั ดว ย กจิ กรรม ตอ งไมงายหรือยากจนเกนิ ไป เพราะถา งายเดก็ จะรสู ึกเบอื่ แตถ ายากอาจ จะเปนการเรง เดก็ มากเกนิ ไปได ในขณะทรี่ า งกายยงั ไมพ รอ มหรอื อาจทาํ ให รูส กึ ผดิ หวงั ไมส ามารถทาํ ไดส าํ เรจ็ หมดกาํ ลงั ใจ แตถ า จดั ใหพ อเหมาะพอควร เดก็ จะอยากเรยี นรู มงุ มน่ั ทจี่ ะทําใหสาํ เรจ็ สนกุ สนานและมีความสขุ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 5 13/6/2548, 15:44

กรมสขุ ภาพจติ ตระหนกั ถงึ ความสาํ คญั ของการเสรมิ สรา งสตปิ ญ ญา และความฉลาดทางอารมณ จงึ จดั ทาํ คูม อื สง เสรมิ สตปิ ญ ญาและความฉลาด เทราม่ิ งจอาากรกมาณรกเ ดาํ ห็กนวดัยคณุ11ล/2กั –ษ5ณปะสสตาํปิ หญ รญบั คาแรลู/พะคี่เลวย้ีามงศฉนูลายดพ ทฒั างนอาาเรดม็กณเลข ก็องโเดดยก็ ท่ียึดหลักพฒั นาการการเรียนรขู องเด็กที่เกิดข้ึนตลอดเวลา เปนไปตาม ขน้ั ตอนทงั้ พฒั นาการของสมองและรา งกายเปน หลกั เพอื่ สําหรบั คร/ู พเ่ี ลย้ี ง ใชเ ปนแนวทางในการสงเสรมิ พฒั นาการเดก็ กรมสขุ ภาพจิต ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 6 13/6/2548, 15:44

ส า ร บั ญ v ความสาํ คัญของการพัฒนาไอคิวและอีคิว .............................................. 7 v ปจจัยสง เสริมการพัฒนา ไอคิว/อีควิ .................................................... 13 v พัฒนาการและการเรยี นรูของเดก็ วัย 3–5 ป ....................................... 25 • พฒั นาการเด็กวัย 3-5 ป .................................................................. 25 • พัฒนาการทางอารมณเดก็ วยั 3–5 ป ................................................. 29 • การเรียนรขู องเด็กวยั 3–5 ป ............................................................. 31 • การสรา งประสบการณส าํ หรับเด็กวยั 2-5 ป .................................... 36 v การพฒั นาไอควิ และอีคิวเดก็ วัย 3-5 ป ................................................ 41 • กรอบแนวคิดการพัฒนา ไอควิ /อคี วิ เดก็ วยั 3-5 ป ........................... 41 • ปจ จัยสําคัญในการพฒั นา ไอควิ /อีควิ ............................................... 55 กกาารรบสรูงณเสารกิมากรการิจเกลรนรม...ก..า..ร..เ.ร..ีย..น...ร..ูส..าํ .ห...ร..ับ..เ.ด...็ก..อ...า.ย..ุ.....1...1./..2.-.5....ป... ............................ 58 • 65 • • การเลานิทาน ..................................................................................... 66 • การสงเสริมกิจกรรมเพลงและดนตรี ................................................. 73 • กจิ กรรม การทองคําคลองจอง .......................................................... 83 • การสง เสริมกิจกรรมศิลปะ ................................................................ 89 v บรรณานุกรม........................................................................................ 96 v รายนามคณะทาํ งาน.............................................................................. 98 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 7 13/6/2548, 15:44

     8 คมู ือสง เสริมไอคิวและอคี ิวเด็ก สําหรับครู/พ่ีเลี้ยงศูนยพ ัฒนาเดก็ เลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 8 13/6/2548, 15:44

ความสําคัญของการพัฒนา ไอคิว/อคี ิว เดก็ วัยกอ น 5 ป เปนวัยทสี่ มองสามารถพฒั นาได 3 ใน 4 ของการ เจริญเติบโตทั้งหมด สมองของคนเราประกอบดวยซีกซายและซีกขวา สมองท้งั สองซกี จะมีใยประสาทเชื่อมตอ กันเปน จาํ นวนมาก สมองซีกซา ย เปนสวนท่คี วบคุมการคิด และมกี ารทํางานที่ออกมาเปน นามธรรม เชน การนบั จาํ นวนเลข การบอกเวลา การหาเหตผุ ล สว นสมองซกี ขวาจะทาํ หนา ที่ จนิ ตนาการ สรางสรรค ซมึ ซับในดนตรี ศลิ ปะ เม่อื สมองซีกขวาทาํ งาน สมองซีกซายจะทําหนา ทแ่ี สดงผลการทํางานออกมาใหค นอนื่ เห็น ดงั นั้น หากจะพัฒนาท้ัง ไอคิว (IQ) และ อีคิว (EQ) จะตองพัฒนาสมอง ท้ังสองซีกไปพรอมกัน และเทาเทียมกัน จึงจะทําใหเด็กมีทั้งความเกง ไดรับการยอมรับ และเปนท่ีรักใครของพอแม ครู อาจารย รวมท้ังมี คูม ือสงเสริมไอควิ และอีคิวเด็ก สาํ หรับครู/พีเ่ ลย้ี งศูนยพัฒนาเด็กเลก็ 9 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 9 13/6/2548, 15:44

ความสุข สามารถปรับอยูรวมกับผอู ื่นไดดี มีความสุขใจ และประสบ ความสาํ เรจ็ ในชวี ติ ในอดีต เราใหค วามสําคญั แตเฉพาะความสามารถทางสติปญญา ดา นการคดิ การใชเ หตผุ ลและความจาํ ทเี่ รยี กกนั วา ไอควิ (IQ : Intelligence Quotient ) เน่ืองจากไอคิวสามารถวัดออกมาเปน ตวั เลขได เหน็ เปนคาที่ ชดั เจนได จงึ มผี ใู หค วามสาํ คญั กบั ไอควิ มาโดยตลอด สงผลใหเดก็ ทเี่ รยี น หนังสือเกงมีแตคนช่ืนชมพอแมครูอาจารยรักใคร ตา งจากเด็กที่เรียน ปานกลางหรือเดก็ ทเี่ รยี นออ นมกั ไมคอ ยเปนทสี่ นใจหรอื ถกู ดวุ า ทงั้ ๆทเี่ ดก็ เหลา นอี้ าจจะมคี วามสามารถทางดา นอน่ื เชน ดนตรี กฬี า ทกั ษะการใชฝ ม อื การพดู คุย ฯลฯ เปนตน มาในชวงหลังๆความเช่ือมั่นและการใหคุณคาเฉพาะไอคิวเร่ิม สั่นคลอน เมื่อมีการต้ังขอสังเกตเก่ียวกับความสัมพันธของไอคิวกับ ความสาํ เรจ็ ของบคุ คล จนในทสี่ ดุ เมอื่ 10ป ทผี่ า นมาจงึ ยอมรบั กนั วา แทจ รงิ แลว ไอควิ อยา งเดยี วไมเ พยี งพอทจี่ ะทาํ ใหค นๆหนงึ่ ประสบความสาํ เรจ็ ในชวี ติ ไดท ุกดา น เพราะในความเปน จรงิ ชวี ิตตองการทักษะและความสามารถ ดานอ่ืนๆอีกมากมายที่นอกเหนือไปจากการจาํ เกง การคิดเลขเกง หรือ การเรยี นเกง ความสามารถเหลา นอ้ี าจจะชว ยใหคนๆ หนง่ึ ไดเ รยี น ไดท าํ งาน ในสถานทดี่ ๆี แตค งไมส ามารถเปน หลกั ประกนั ถงึ การทํางานไดอ ยา งราบรนื่ สามารถฟน ผา ปญ หาอปุ สรรค และมชี วี ติ ทมี่ คี วามสขุ ได 10 คูมือสงเสริมไอคิวและอคี ิวเดก็ สาํ หรับครู/พี่เลี้ยงศนู ยพ ัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 10 13/6/2548, 15:44

คนฉลาดหรอื คนเกง ในการเรยี นหนงั สอื ถอื วา เปน คนทมี่ เี ชาวนป ญ ญา สูงหรอื ไอควิ สูง(Intelligence Quotient หรอื IQ) แตบุคคลเหลา นี้อาจ จะเปนคนเจาอารมณ ใจรอน แสนงอน ไมเขาใจท้ังตัวเองและผูอื่น โกรธงา ย กา วราว แยกตวั งา ย เจาคิดเจา แคน ไมม ีมนุษยสมั พนั ธ เกบ็ ตวั ทอถอยงา ย ทําใหไ มมีความสุขแมจะเปน คนเกง ก็ตาม ความเกง นั้นถา ไม สามารถทํางานอยรู ว มกบั ผูอน่ื ได กจ็ ะไมป ระสบความสาํ เร็จในการงาน เทาท่ีควร นอกจากน้ีคนท่ีมีสติปญญาดี แตมีอารมณมารบกวน เชน ความโกรธ ความขนุ เคอื ง ราํ คาญใจตา งๆ กจ็ ะทาํ ใหเ ขาไมส ามารถใชส ตปิ ญ ญา ท่ีดีไดดีเทาที่ควร ในแนวคิดใหมเช่ือวา ถาหากมนุษยมีความฉลาด ในการจัดการกับอารมณ ( Emotional Quotient หรือ EQ) ก็จะกลาย เปน คนทมี่ โี อกาสประสบความสาํ เรจ็ มคี วามสขุ ไดมากขนึ้ “ไอควิ ” และ” อคี ิว” เปนความฉลาดทเี่ กื้อหนุนกันและกนั คนท่ี เชาวนป ญ ญาดี จะสามารถเรยี นรทู กั ษะการควบคมุ และการจดั การกบั อารมณ ไดร วดเรว็ ในขณะเดยี วกนั คนทมี่ คี วามฉลาดทางอารมณส งู จะชว ยสนบั สนนุ ใหบคุ คลสามารถใชค วามฉลาดทางเชาวปป ญ ญาไดอ ยางเตม็ ที่ คูม ือสงเสริมไอควิ และอีควิ เด็ก สาํ หรบั ครู/พีเ่ ลีย้ งศนู ยพ ัฒนาเด็กเลก็ 11 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 11 13/6/2548, 15:44

ดงั นนั้ ในการพฒั นาความฉลาดของเด็ก เพอื่ ใหเดก็ ทกุ คนมโี อกาส เปน คนทปี่ ระสบความสําเรจ็ เปน คนดี และมคี วามสขุ นน้ั ควรใหค วามสําคญั ทงั้ การพฒั นาความฉลาดทางสตปิ ญ ญา และความฉลาดทหี่ ลากหลาย และ จาํ เปนตอ งสงเสริมความฉลาดทางอารมณค วบคูไ ปดว ย สงเสรมิ ใหเดก็ มี ทกั ษะในการจดั การกบั อารมณ ความเครยี ดตา งๆ มที กั ษะในการชวยเหลอื ตัวเอง แกป ญหาตา งๆ ไดดวยตนเอง และมที กั ษะในการอยรู วมกับผูอ น่ื กจ็ ะทําใหก ารพฒั นานน้ั สมบรู ณ และประสบความสําเรจ็ ยง่ิ ขนึ้ 12 คมู ือสง เสริมไอควิ และอีควิ เดก็ สําหรบั ครู/พเี่ ล้ียงศูนยพ ัฒนาเดก็ เล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 12 13/6/2548, 15:44

คูมือสงเสริมไอคิวและอีคิวเดก็ สาํ หรับครู/พเี่ ลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 13 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 13 13/6/2548, 15:44

     14 คูม ือสง เสริมไอควิ และอีคิวเดก็ สาํ หรบั ครู/พเี่ ลี้ยงศนู ยพ ัฒนาเด็กเลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 14 13/6/2548, 15:44

ปจจัยสงเสริมการพฒั นา ไอควิ /อีคิว • อาหารกาย อาหารใจ อาหารสมอง • การดูแลใหเ ด็กไดรับสารอาหารท่ีครบถว น อาหารท่ีมีคุณคา จะชว ยสรา งเครอื ขายเสนใยสมองใหพ รอมทจี่ ะเรยี นรสู งิ่ ตางๆ • การทเี่ดก็ ไดม กี ารดแู ลสขุ ภาพรา งกาย ใหน อนหลบั พกั ผอ นเพยี งพอ นอนแตห วั คา่ํ และตนื่ แตเ ชา เดก็ ควรไดร บั การปลกู ฝง วนิ ยั ในชวี ติ ประจาํ วนั ใหร ูจกั กิน นอน ขบั ถายเปนเวลา โดยเฉพาะการนอนเปนเวลา การนอนที่ เพยี งพอจะทําใหเ ดก็ สามารถตนื่ ไดเ องในตอนเชา สงิ่ เหลานจ้ี ะทําใหจ งั หวะ การหลั่งฮอรโมนของรางกายคงทไ่ี มรวนเร ชวยใหไ มเ กดิ อารมณเฉอ่ื ยชา ออ นเพลีย เหนอื่ ยลา ซงึ่ มผี ลตอ สมาธใิ นการฟง และการเรยี นรู และยงั เปน จดุ เรมิ่ ตน ของการปลกู ฝง ความมวี ินยั ในตัวเอง ซ่ึงนาํ ไปสกู ารรจู ักควบคมุ ตัวเอง และเรยี นรกู ฏเกณฑกติกาของสงั คม • การระวงั อบุ ตั เิ หตแุ ละสารพษิ ทจี่ ะกระทบการพัฒนาสมองและ การเรยี นรขู องเดก็ คมู ือสงเสริมไอคิวและอคี วิ เด็ก สําหรบั ครู/พ่เี ลี้ยงศูนยพ ัฒนาเดก็ เล็ก 15 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 15 13/6/2548, 15:44

ใหค วามสําคญั กบั การสรางโอกาสแหงการเรยี นรใู นแตล ะชว งวยั เดก็ แตล ะวยั จะมหี นา ตา งแหง โอกาสการพฒั นา หรอื จงั หวะเวลาใน การพฒั นาสง่ิ ตา งๆ แตกตา งกนั ในแตล ะชว งวยั หากครพู เี่ ลย้ี งเขา ใจหนา ตา ง แหง โอกาสนี้ และใหก ารพฒั นาเดก็ ตามวยั กจ็ ะทําใหก ารพฒั นาทงั้ อคี วิ และ ไอควิ เดก็ ประสบความสําเรจ็ ยงิ่ ขนึ้ เด็กวยั ขวบปแรก เปน ชวงเวลาของการเรยี นรูค วามรกั เรยี นรทู ่ี จะรบั การรกั รบั การปกปอ งเพอ่ื ทจี่ ะใหม องเหน็ วา ตนเองมคี ณุ คา ถา ผานพน ชว งวยั นไ้ี ปแลว โดยเดก็ ไมไ ดร บั การโอบกอดสัมผสั ใกลชดิ แมวา จะชดเชย ในชวงปท่ีสองและสาม แตการชดเชยเม่ือหนาตางแหงโอกาสปดแลว กไ็ มค อยไดผ ลเทา ทคี่ วร เด็กวยั 2 ขวบ เดก็ จะอยากทาํ โนนนี่ดวยตัวเอง และมกั จะเตม็ ไป ดวยคาํ วา “ไม” เพ่อื แสดงความเปนตวั ของตัวเอง ชว งเวลานเ้ี ปน นาทีทอง ของการทเี่ ดก็ เรยี นรวู าตนเองมคี วามสามารถ ดงั นน้ั วยั นจ้ี งึ ควรใหอสิ ระเดก็ ไดทําอะไรดว ยตวั เอง ในบรรยากาศทผี่ ใู หญค อยดแู ลความปลอดภยั ตางๆ หากผใู หญคอยหามวา “ อยานะ” เพราะกลวั วา เดก็ จะทําไมด ี หรือดแู ลเดก็ ดว ยความกังวลเกนิ ไป เดก็ ก็จะไมเปนตัวของตวั เอง 16 คูม ือสงเสริมไอควิ และอีควิ เดก็ สาํ หรับครู/พี่เลยี้ งศนู ยพัฒนาเดก็ เลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 16 13/6/2548, 15:44

เด็กวยั 3-5 ป เปน ชว งเวลาของการพฒั นาความคิดสรางสรรค และการฝกระเบียบวินัย จึงเปนเวลาที่ดีตอการเปด โอกาสใหเด็กได พบประสบการณท หี่ ลากหลาย และเดก็ จะเรยี นรูส ง่ิ ตา งๆ ไดอ ยา งมากมาย และการฝก หดั ระเบยี บวนิ ยั จําเปน ตองวางรากฐานในวยั นี้ การสัมผัสเด็กดวยความรัก สามารถพัฒนาทั้งอีคิวและไอคิว การที่ผใู หญใ หก ารโอบกอด การลบู ตัว และการแสดงออกซึ่งความรักตอ เดก็ ทงั้ คาํ พดู และภาษาทา ทาง จะทาํ ใหฮ อรโ มนความสขุ หลงั่ ออกมาจากสมอง และกระตุนใหเสนใยสมองเช่ือมโยงกัน เด็กจะฉลาดและยังมีผลตอ พฒั นาการอารมณ ทาํ ใหเ ดก็ รูสกึ วา ตนเองมคี ณุ คา เกดิ ความไวว างใจ และ มองโลกในแงด ี การใหเ ด็กเรียนรผู านประสาทสมั ผัสท้ังหา เด็กสามารถพัฒนา ทงั้ สติปญ ญาและอารมณไ ดจ ากการเลน ผา นประสาทสมั ผสั ทงั้ หา การเปด โอกาสใหเด็กไดเรียนรูส่ิงตางๆ ในรูปแบบที่หลากหลาย ผา นกิจกรรม การเลานิทาน ศิลปะ ดนตรี การเคล่ือนไหวรางกาย การเลนเปนกลมุ ใหเดก็ มโี อกาสจบั ตอ งสงิ่ ตา งๆ และเรยี นรูในสิง่ ท่เี ขาสนใจ • การพดู คยุ เลานิทานและเสยี งดนตรี จะชว ยใหสมองเด็กพฒั นา ดา นภาษาอยา งเตม็ ที่ โดยเฉพาะชว ง 7 ปแ รกของชวี ติ ทกี่ ารพฒั นาทางภาษา จะนําไปสกู ารพัฒนาทางสติปญญา และสังคม เด็กจะถายทอดอารมณ ความรสู กึ ออกมาเปน คาํ พดู และภาษาทา ทางไดด ี สามารถรบั รูแ ละเขา ใจคนอนื่ คมู ือสงเสริมไอคิวและอคี ิวเด็ก สาํ หรบั ครู/พ่ีเล้ียงศูนยพ ัฒนาเด็กเล็ก 17 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 17 13/6/2548, 15:44

ผานการสอ่ื สาร ซงึ่ เปนประตสู กู ารรจู กั ตนเอง ผอู นื่ และเรยี นรโู ลกภายนอก นอกจากนน้ี ทิ าน ดนตรี และการรอ งเพลงยงั ชว ยเสรมิ สรา งจนิ ตนาการ และ ความคดิ สรา งสรรค คติทไ่ี ดจ ากนิทานและทวงทาํ นองดนตรที ีก่ ลอ มเกลา จติ ใจใหล ะเอยี ดออ น จะชว ยกระตนุ สมองและสง เสรมิ พฒั นาการดา นอารมณ ของเดก็ อกี ทงั้ เปน การเรยี นรทู ดี่ ก็ จะนาํ ไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั เชน การปลกู ฝง จริยธรรมหรือวิธกี ารแกปญหาจากนทิ าน ไดเ รยี นรูก ารผอนคลายอารมณ ดว ยเสยี งดนตรเี บาๆ และกระตนุ อารมณสนกุ สนานดวยเสียงดนตรที รี่ า เรงิ แจม ใส • การเลน และออกกาํ ลังกาย ชวยทําใหรางกายทุกสวนต่ืนตัว รวมท้ังสมองดวย รางกายมกี ารเตรียมพรอมเพอ่ื เรียนรูสิ่งใหมๆ ทาํ ให อารมณด ี กระปรก้ี ระเปรา การเลนชวยใหเด็กเรียนรูสง่ิ แวดลอ มรอบตวั ถาเลนรว มกบั เด็กอ่ืนๆ จะชว ยพัฒนาศกั ยภาพในการอยรู วมกันในสงั คม เรยี นรกู ารเหน็ อกเหน็ ใจผอู น่ื จากขอ มลู พน้ื ฐานทางวทิ ยาศาสตรเ กย่ี วกบั สมอง นกั วจิ ยั ดา นสมองและประสาทวทิ ยาเชอื่ วา การใหเ ดก็ มโี อกาสพฒั นาทกั ษะ การอยรู วมกัน จะทาํ ใหสมองสรางเสน ใยสวนทเ่ี ปน ทกั ษะทางสงั คมแบบ รวมมือกันและเห็นอกเหน็ ใจกนั ในทางตรงกนั ขา ม หากเด็กขาดโอกาสที่ จะเลนหรอื ออกกําลงั กาย หรือขาดโอกาสทจี่ ะพัฒนาศกั ยภาพทางสังคม ก็จะทาํ ใหเ ดก็ แยกตวั เกบ็ กด กา วราว เนอ่ื งจากมกี ารสรางเสน ใยสมองใน สว นทเี่ สรมิ อารมณก าวรา วรนุ แรง และทําใหสารเคมใี นสมองไมส มดลุ ยก นั 18 คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เด็ก สาํ หรับครู/พ่เี ลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 18 13/6/2548, 15:44

มกี ารศกึ ษาพบวา เดก็ ทมี่ ที กั ษะในการเลน ทดี่ มี แี นวโนม จะประสบความสาํ เรจ็ ในการเรยี น เพราะการเลน จะชว ยพฒั นาทกั ษะการคดิ การจดจาํ ประสบการณ การแกป ญหา ทกั ษะการเขา สังคม การทาํ งานรว มกนั และการแลกเปลีย่ น ความคดิ เหน็ ซงึ่ กันและกนั รปู แบบการเลยี้ งดูเด็กทเี่ หมาะสม การเลย้ี งดูทใี่ ชเหตุผล หดั ให เด็กชวยเหลือตัวเองตามวัย ใหเด็กพบเจอความยากลําบากบาง รจู ัก การอดทนและรอคอย ใหเด็กมีประสบการณการเรียนรจู ากส่ิงตางๆ ทหี่ ลากหลาย วธิ กี ารเลย้ี งดทู เี่ หมาะสมนจี้ ะชว ยใหเ ดก็ สามารถรบั ผดิ ชอบ ตอ ตวั เองได มคี วามภาคภมู ใิ จในตวั เอง ไมย อ ทอ ตอ ปญ หาอปุ สรรคอะไรงา ยๆ และเปนคนท่ีไมเ อาแตใจตัวเอง มีความเชื่อมั่นในตัวเอง ความรูสึกดีๆ ท่ีเด็กมีตอ ตัวเองนี้ ชวยเพ่ิมประสิทธิภาพแกเด็กมากขึ้นในการเรียนรู และพฒั นาตนเอง ไมว า จะเปน ดา นสตปิ ญ ญา หรอื การพฒั นาการดา นอารมณ การจดั สภาพแวดลอ ม • การจดั สภาพแวดลอ มทเี่ หมาะสม จะสง เสรมิ โอกาสในการเรยี นรู และการพฒั นาเด็ก สง่ิ แวดลอมทดี่ ีกอใหเ กดิ ความรสู กึ ที่ดี ทั้งตอ ตัวเดก็ คร/ูพเี่ ลยี้ งและครอบครวั การจดั สภาพแวดลอ มตอ งพจิ ารณาอยา งเหมาะสม ต้ังแตล กั ษณะของผนังหอ ง เพดาน และแสงสวา งทีเ่ หมาะสม เพราะเปน ส่ิงท่ีเสริมการเรียนรใู หกับเด็กในวัยเด็กเล็ก ท่ีชอบนอนมองเพดาน สาํ รวจมอื เทา ไดเ ปนอยางดี คูม ือสงเสริมไอคิวและอคี ิวเดก็ สาํ หรบั ครู/พ่เี ลีย้ งศนู ยพ ัฒนาเด็กเล็ก 19 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 19 13/6/2548, 15:44

• การจดั สภาพแวดลอ มทดี่ คี วรคาํ นงึ ถงึ การอํานวยความสะดวก ในดานตา งๆ และมปี ระโยชนใ นการกระตุน การเคลอ่ื นไหวใหกบั เดก็ เชน การใหเด็กฝกเดินในท่ีแคบ จะสงผลตอการควบคุมการเคลื่อนไหว การทรงตัว การรบั รมู ิติสัมพันธต างๆ และความฉลาดของเดก็ มุมศลิ ปะ บอ ทรายกเ็ ปน แหลง สรา งจนิ ตนาการทดี่ ใี หกบั เดก็ • การจัดสภาพแวดลอ มทีด่ คี วรคํานงึ ถึง - ความปลอดภัย (Safe ) - ความสะอาดถกู สุขอนามัย ( Hygiene and healthy) - การสรางความพอใจ สขุ ใจ ( Pleasant) - ความสะดวก สบาย ( Comfortable ) - และสามารถปรับไดต ามความเหมาะสม (Flexible) 20 คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เด็ก สาํ หรับครู/พ่ีเล้ยี งศูนยพัฒนาเด็กเลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 20 13/6/2548, 15:44

• การจดั แบง พืน้ ท่ี ควรกาํ หนด ดงั นี้ - พน้ื ทเี่ ฉพาะ โดยแบงสดั สว นพนื้ ทที่ ี่เหมาะสม สาํ หรบั ทนี่ อน หอ งน้ํา อางลา งมือ หองอาหาร หอ งเตรยี มอาหาร ที่เก็บของ และตูเ ก็บ อปุ กรณเครอื่ งครวั ทมี่ ดิ ชิด และสะอาดปลอดเชอ้ื - พนื้ ทใี่ นรม แบง เปน พนื้ ทที่ ํากจิ กรรม หองเรียน หองเลน มมุ เรยี นรู - พนื้ ทกี่ ลางแจง ตองคาํ นงึ ถงึ ความปลอดภัยเปน อันดบั แรก ปลอดภยั จากการจราจร มีรวั้ รอบขอบชดิ สูงประมาณ 1.5 เมตร มี บรเิ วณกวา งพอเหมาะกบั การเคลอื่ นไหวและกจิ กรรม • เฟอรน เิ จอร อปุ กรณ พน้ื และผนงั หอ ง พน้ื และผนงั หอ งควรพจิ ารณาประโยชนข องการใชส อยเปน หลกั รวมทงั้ คาํ นงึ ถงึ ดา นความปลอดภยั ดว ย อาจใชก ารบกุ นั กระแทก พน้ื ไมแ ขง็ และลนื่ งา ย ลา งทาํ ความสะอาดไดส ะดวก เพดานอาจติดกระจก หรอื ภาพ เพอ่ื ฝก การสงั เกตและเรยี นรู คมู ือสง เสริมไอคิวและอีควิ เดก็ สาํ หรับครู/พี่เลย้ี งศนู ยพ ัฒนาเดก็ เลก็ 21 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 21 13/6/2548, 15:44

• เฟอรน เิ จอรม พี อเหมาะพอควรกบั การใชส อย จดั วางรมิ ผนงั ไมย นื่ เหลยี่ มมมุ หรอื ตดิ วสั ดกุ นั กระแทก โตะ เกาอม้ี ขี นาดพอเหมาะกบั เดก็ สะดวกในการรบั ประทานอาหารหรอื ทาํ กจิ กรรม อุปกรณ มีสีสันสวยงาม ดึงดูดใจ ลางทําความสะอาดไดงาย ไมแ ตกหัก และไรสารพษิ ของเลน ควรมหี ลากหลาย เพอ่ื ใชในกิจกรรม เสริมการคิด การประดิษฐ ความแข็งแรงของกลามเน้ือมัดใหญและ กลา มเน้ือมัดเล็ก การเลนอยา งสรางสรรค และการเลน เพ่ือเสรมิ ทกั ษะ ทางสังคม อาจจัดแบงเปนชุดศิลปะ ชุดหนังสือ ชุดพัฒนากลามเน้ือ ชดุ ของเลนชน้ิ เลก็ – ใหญ และชดุ เครอื่ งเลนดนตรี ทส่ี ะดวกในการนํามา เลอื กจดั กจิ กรรม 22 คูมือสงเสริมไอควิ และอคี ิวเด็ก สาํ หรบั ครู/พีเ่ ลี้ยงศนู ยพ ัฒนาเด็กเลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 22 13/6/2548, 15:44

สอื่ การสอน การจดั หาสอื่ เครอ่ื งมอื อปุ กรณก ารสอนตา งๆ ทเี่ หมาะสม กช็ ว ย ใหเ ด็กมคี วามตื่นตาต่ืนใจและต่ืนตัวท่ีจะรบั รู เรียนรสู ิ่งตางๆ ไดอ ยางมี ประสิทธภิ าพ ส่ือทีม่ รี ปู ภาพสวยงาม ส่อื สารไดช ัดเจน ก็จะสอดคลอ งกบั การเรียนรขู องสมอง เพราะสมองคิดเปนภาพมิติสัมพันธ ซึ่งส่ิงน้ีเปน คุณสมบัติทําใหมนุษยสรางสรรคจินตนาการไดอีกมากมาย แตท้ังน้ีส่ือ ประกอบการเรยี นจะมชี วี ติ ชวี าไดอ ยทู คี่ รผู ูส อนและพอแมทตี่ อ งเลอื กใชใ ห สอดคลอ งกบั ความสนใจใครรูข องเดก็ ในชวี ติ จรงิ ไมจ าํ กดั เดก็ ดว ยเนอ้ื หาที่ ถกู กาํ หนดตายตัว สอ่ื หนงั สอื บุคคลทใี่ ชส อ่ื จะเปน เพยี งตัวกระตุนใหเดก็ เกิดการเรียนรู สื่อท่ีสวยงาม นาสนใจ นอกจากจะชวยผอ นแรงผสู อน ไดเ ปน อยา งดี ยงั ชว ยดงึ ดดู ใจ และประทบั ความรสู กึ ใหเ ดก็ ได แบบฝก หดั กิจกรรมทฝี่ กใหเ ด็กใชกระบวนการคิด จะทา ทายเดก็ ใหเ กดิ ความมุง มั่น มานะพยายาม อันจะสรางความรูสกึ พอใจ ภาคภมู ิใจ เปน สุขใจ ซึ่งเปน สงิ่ ทไี่ มอ าจสอนใหเ กดิ ขนึ้ ตามคําบอกได คูมือสงเสริมไอคิวและอคี วิ เดก็ สําหรับครู/พเ่ี ลีย้ งศนู ยพ ัฒนาเด็กเลก็ 23 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 23 13/6/2548, 15:44

การวางแผนการดแู ล การวางแผนการดแู ล คร/ู พเี่ ลยี้ งควรมคี วามรเู รอื่ งพฒั นาการของ เดก็ แตล ะวยั ทงั้ ลกั ษณะธรรมชาตขิ องเด็ก จดุ เดน ความสนใจ และความ ตอ งการ ของเดก็ และครอบครวั แตละคน คร/ู พเี่ ลย้ี งจะตอ งสงั เกต ประเมนิ พฒั นาการของเดก็ แตล ะคนใหบ รรลเุ ปา หมายของกจิ กรรม เพอื่ พจิ ารณาปรบั เปลย่ี นแผนการดแู ลใหเหมาะสมกบั เดก็ นอกจากนคี้ วรกําหนดตารางเวลา ประจาํ วนั ทปี่ ฏบิ ตั จิ นเปน กจิ วตั ร แตส ามารถปรบั เปลย่ี นไดต ามความเหมาะสม กบั สถานการณ คร/ู พเ่ี ลยี้ งควรทาํ ตามโปรแกรมการดแู ลอยา งสมาํ่ เสมอและ มีปฏิสมั พันธท่ีดกี ับเดก็ ใหการสมั ผัสโอบกอดเพอื่ ใหเ ดก็ ไดร บั การสมั ผสั และความสนใจอยางทั่วถึง และดูแลปฏิบัติกิจวัตรประจาํ วันใหไดรับ ความปลอดภยั 24 คูม ือสงเสริมไอคิวและอคี ิวเด็ก สาํ หรบั ครู/พ่เี ลี้ยงศนู ยพ ัฒนาเดก็ เลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 24 13/6/2548, 15:44

คูมือสงเสริมไอคิวและอีคิวเดก็ สาํ หรับครู/พเี่ ลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 25 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 25 13/6/2548, 15:44

     26 คมู ือสงเสริมไอคิวและอคี ิวเดก็ สาํ หรบั ครู/พีเ่ ลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 26 13/6/2548, 15:44

พัฒนาการและการเรียนรู ของเดก็ วัย 3 – 5 ป • พัฒนาการเด็กวยั 3-5 ป เด็กวัย 3–5 ปเปนวัยที่มีการพัฒนาทักษะในการรับรทู าง ความคิด สตปิ ญญา และความอยากรูอยากเห็นมากข้ึน เด็กจะเริ่มคิด เริ่มทําสิ่งใหมๆ และชอบถามคาํ ถามบอยๆ เชน นั่นอะไร ทําไม ฯลฯ ซ่งึ พอ แมบ างคนไมเขาใจ อาจจะดุเด็กไดจ นเด็กบางคนขยาดหวาดกลัววา จะทําผดิ เพราะถกู ผูใหญวา กลาวมาแตเ ลก็ ความรูสกึ นมี้ าปด กน้ั ความคดิ ของเดก็ และจะตดิ ตัวจนถงึ วัยผใู หญ คมู ือสง เสริมไอคิวและอคี วิ เด็ก สําหรบั ครู/พเ่ี ล้ยี งศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 27 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 27 13/6/2548, 15:44

การพฒั นาของเดก็ วยั 3-4 ป เรมิ่ เปนตัวของตัวเองโดยไมต อ ง ใหผใู หญเ ฝา ในการเลน ความสามารถของพฒั นาการเดก็ วยั นใี้ นแตละดา น ไดแก - พฒั นาการดา นการเคลอ่ื นไหว เดก็ สามารถเดนิ ดว ยปลายเทา เดินบนเสน ตรงกวา ง 5 ซม. ในขณะทวี่ ิ่งแลว หยดุ วิ่ง เลี้ยว หรอื หลบสงิ่ กดี ขวางได เดนิ ขน้ึ ลงบนั ไดสลบั เทา ได ปนตาขา ย เชือกไดสูงขึ้น ขวา งและรับลูกบอลขนาดเล็กได ว่ิงไปเตะ ลกู บอลไดโ ดยไมต อ งหยดุ เลง็ กระโดดสองเทาไดไ กล 30 ซม. หรอื กระโดดลงจากบันไดขน้ั สดุ ทา ยได ถบี จกั รยาน 3 ลอ ได - พัฒนาการดานการใชกลามเน้ือมัดเล็กและสติปญญา ประกอบชิ้นสวนของรูปภาพได วางเรียงกอนไมท ี่มีขนาด ตางกนั เรียงตามลาํ ดบั ได จับคแู ละแยกกรูปภาพ สี วัตถุ ตวั อกั ษรได เลียนแบบการเขียน กากบาท (+ ) ตัววี ( V ) วาดรปู คนท่ีมีสวนของรา งกายอยา งนอ ย 3 สวน รอยลกู ปด ขนาดเลก็ ใชกรรไกรตดั กระดาษไดส ั้น ๆ - พฒั นาการดา นการเขา ใจภาษา ชอี้ วยั วะของรา งกายได เลอื ก รูปภาพชายหญิงได รูจักผิวสัมผัสแข็งและน่ิม รจู ักคําวา ปด เปด เลือกรูปภาพท่ีแสดงสหี นา สขุ เศรา โกรธ รูขนาด 28 คูมือสง เสริมไอคิวและอีควิ เด็ก สําหรบั ครู/พ่เี ล้ยี งศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 28 13/6/2548, 15:44

ใหญและเล็ก ตําแหนง เชน ขา งหนา ขางหลงั ขางๆ หา ง ๆ ตอบคําถามงา ยๆ ได โดยการพดู หรอื ชใ้ี นขณะฟง นทิ าน - พฒั นาการดา นการใชภ าษา พดู กระซบิ หรอื ตะโกน รอ งเพลง งาย ๆ ได พดู โตต อบสนทนา บอกหนา ทอี่ วยั วะของรา งกายได และบอกประโยชนข องสงิ่ ตา ง ๆ ไดเ ชน หอ งนา้ํ เตาไฟ สามารถ เลา เหตกุ ารณท เี่พง่ิ ผา นไปได บอกชอ่ื จรงิ นามสกลุ เตม็ ของตนเอง ได พดู คาํ ทมี่ คี วามหมายตรงขา มได พดู เปน ประโยคได - พฒั นาการดา นการชว ยเหลอื ตนเองและสงั คม เดก็ เลน กบั เดก็ อื่นโดยวิธีการผลัดกันเลน บอกเพศของตนเองได ชว ยงาน งายๆ ได สามารถหลีกเลย่ี งสิ่งท่เี ปนอันตรายได ใชช อนสอ ม รบั ประทานอาหารได เทนาํ้ จากเหยอื กไดโ ดยไมห ก ถอดกระดมุ เม็ดใหญได ถอดเสื้อผาได ไมปสสาวะรดที่นอนในเวลา กลางคนื ลา งมอื ลา งหนา ไดเ อง คูมือสง เสริมไอควิ และอคี ิวเด็ก สําหรบั ครู/พี่เลี้ยงศูนยพ ัฒนาเดก็ เล็ก 29 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 29 13/6/2548, 15:44

30 คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สาํ หรับครู/พี่เลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 30 13/6/2548, 15:44

• พฒั นาการทางอารมณเด็กวยั 3 – 5 ป เด็กอายุ 3–5 ป เปนวัยที่เด็กอยากใหเพื่อนรัก อยากให เพอ่ื นชอบ เดก็ ตอ งการทจี่ ะเอาใจเพอ่ื น อยากเปน เหมอื นเพอื่ น เดก็ จะยอม ทาํ ตามกฎเกณฑตางๆ ท่ีเขาชอบ เด็กมักชอบรองเพลง ชอบเตนระบาํ อยากเปน ตวั ของตวั เอง อยากจะออกไปหาเพอื่ นขา งบา น อยากจะไปเลน กบั เพอื่ นๆ ครู/พ่ีเล้ียงควรสนับสนุนใหเ ด็กเลนกับเพ่ือน การเลนเปนกลุม ในวยั นเ้ี ดก็ อาจจะเรมิ่ ดอ้ื เพราะมคี วามเปน ตวั ของตวั เอง ทสี่ ําคญั ผูด แู ลตอ ง ใจเย็น ไมห งุดหงดิ อารมณเยน็ ควรอธิบายใหเดก็ ฟง ถาผดู ูแลโกรธ ดุ หรอื ใชว ิธลี งโทษทไี่ มเ หมาะสม เดก็ จะยงิ่ มพี ฤตกิ รรมทไี่ มด ี เดก็ ในวยั นก้ี าํ ลงั เรยี นรูสงิ่ ทถี่ กู ทผี่ ดิ แตย งั ไมเ ขาใจรายละเอยี ดเรอื่ ง จรยิ ธรรมของความดี เชน ถา เดก็ ทําของแตก เดก็ จะคดิ วา ไมด ี ผดู แู ลตอ ง อธบิ ายถงึ ความแตกตา งระหวา งอบุ ตั เิ หตทุ เี่ กดิ ขนึ้ และความตงั้ ใจทาํ ใหข องเสยี และจะตองแยกตัวเด็กออกจากพฤติกรรมของเขา เชน จะตองบอกวา “ครรู กั หนู แตค รไู มช อบในสงิ่ ทหี่ นทู าํ หนทู าํ แจกนั แตกเปน สงิ่ ทไี่ มด ี มนั ทําให เกดิ อนั ตราย” แตถ า มนั เปน อบุ ตั เิ หตกุ ต็ องอธบิ ายใหฟ ง วา “ไมเ ปน ไรมนั เปน เพยี งอุบตั ิเหตุ คราวหนาหนคู วรทําอยา งน…ี้ ” และทสี่ าํ คัญคร/ู พีเ่ ลย้ี งควร ตอ งระวงั ปอ งกนั อบุ ตั เิ หตทุ อี่ าจเกดิ ขนึ้ โดยการคาํ นงึ ถงึ สงิ่ แวดลอมของเดก็ ควรใหเด็กคดิ ถงึ ส่งิ ท่ีเขาควรทําได สําหรบั วยั นี้และจะตองชมเชยเม่อื เดก็ คูม ือสง เสริมไอคิวและอีคิวเด็ก สําหรับครู/พ่เี ล้ียงศูนยพัฒนาเด็กเลก็ 31 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 31 13/6/2548, 15:44

32 คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สาํ หรับครู/พี่เลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 32 13/6/2548, 15:44

ทําไดจ ะเปน การเสรมิ สรา งความเหน็ คณุ คา ในตนเอง รวมทงั้ เรอ่ื งความคดิ การตดั สนิ ใจ การสรา งทศั นคตทิ ดี่ ี ทาํ ใหเ ดก็ รูส กึ วา ตนเองมคี ณุ คา และมคี วาม สามารถทจี่ ะทาํ ได • การเรียนรูของเดก็ วยั 3 – 5 ป สาํ หรับการเรยี นรขู องเดก็ วัย 3–5 ปน้นั มีคาํ ถามท่วี า เดก็ จะ เรยี นรไู ดด จี ะตอ งอาศยั อะไรเปน องคป ระกอบบาง และจะเรยี นรอู ะไรบาง แลนเดรธ็ (Landreth. 1972 : 35-153) กลา ววา รปู แบบการเรยี นรู ของเด็ก เปนกระบวนการที่ “กาวหนาจากจุดหน่ึงไปยังอีกจุดหน่ึง” ซง่ึ ประกอบดว ยกระบวนการในการเรยี นรูทมี่ คี วามสมั พนั ธก นั 17 ประการ ดงั น้ี คูมือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สําหรบั ครู/พเ่ี ล้ยี งศนู ยพัฒนาเด็กเลก็ 33 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 33 13/6/2548, 15:44

34 คมู ือสงเสริมไอควิ และอคี วิ เดก็ สาํ หรับครู/พี่เลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 34 13/6/2548, 15:44

1. เดก็ จะเรยี นรกู ารใชป ระสาทสมั ผสั เพอื่ นาํ ไปสูก ารแยกประเภท และการเรียนรูส ญั ลกั ษณ 2. เดก็ จะเรยี นรสู ง่ิ ทเี่ ปน ไปโดยธรรมชาติ เพอื่ นําไปสูก ารควบคมุ การสรา งความสมั พนั ธ การหาแนวทางของตน และการเลยี นแบบ ในการเคลอ่ื นไหวสว นตา งๆ ของรางกาย 3. เดก็ จะพฒั นาการออกเสยี งออ แอ เพอ่ื นาํ ไปสกู ารเรยี นรูภาษา 4. เด็กจะเรยี นรกู ารอานภาพทเ่ี ปนสญั ลักษณ เพ่อื นาํ ไปสูก าร อา นหนงั สอื 5. เดก็ จะเรยี นรูการขดี เขยี น เพอื่ นําไปสกู ารเขยี นหนังสอื 6. เดก็ จะเรยี นรจู ากการไดร บั ประสบการณ เพอื่ นาํ ไปสูก ารศกึ ษาขอ มลู 7. เด็กจะเรียนรูสง่ิ ที่ประหลาดมหัศจรรย เพอื่ จะเขา ใจสงิ่ ทเี่ ปน ปรากฏการณธ รรมชาติ 8. เดก็ จะเรยี นรเู กยี่ วกบั สตั วแ ละพชื เพอื่ นาํ ไปสูก ารเรยี นรรู ะบบ ของรา งกายและระบบนเิ วศวทิ ยา 9. เด็กจะเรียนรูจากการลากเสน การแตมสี และการละเลงสี เพอื่ นาํ ไปสูการวาดภาพ 10. เด็กจะเรียนรจู ากการทําสิ่งของตางๆ เพ่ือนําไปสกู ารใช เครอ่ื งมอื งา ยๆ และการพฒั นาทกั ษะในการสรา งงานฝม อื คูมือสง เสริมไอคิวและอคี วิ เดก็ สําหรบั ครู/พ่ีเล้ยี งศูนยพัฒนาเดก็ เล็ก 35 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 35 13/6/2548, 15:44

11. เดก็ จะเรยี นรจู ากกการเขยาและโยกตวั ไปสูก ารเตนรํา 12. เดก็ จะเรยี นรจู ากการฮมั เพลงไปสกู ารรองเพลง 13. เดก็ จะเรียนรูการไดย ินเนอ้ื เพลง เพือ่ นําไปสูก ารฟง เพลง 14. เดก็ จะเรยี นรูท จี่ ะตระหนกั ถงึ ความตอ งการของผอู น่ื เพอื่ นาํ ไปสกู ารอยรู ว มกบั ผูอ น่ื 15. เด็กจะเรยี นรจู ากการไดร ับการดแู ลจากผูอน่ื เพ่ือนําไปสู การดแู ลตวั เอง 16. เดก็ จะเรยี นรทู จี่ ะเปน สมาชกิ ของบา นหรอื ศนู ยเ ดก็ เพอื่ นาํ ไป สูก ารเปนสมาชกิ ของชมุ ชน 17. เด็กจะเรียนรูสิ่งท่ีเปน “ของฉัน” เพ่ือนาํ ไปสกู ารรสู ึกวา “ฉนั เปน ใคร” 36 คูมือสง เสริมไอควิ และอคี วิ เด็ก สําหรบั ครู/พ่เี ลย้ี งศนู ยพัฒนาเด็กเลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 36 13/6/2548, 15:44

คูมือสงเสริมไอคิวและอีคิวเดก็ สาํ หรับครู/พเี่ ลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 37 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 37 13/6/2548, 15:44

• การสรางประสบการณส าํ หรับเดก็ วัย 2 -5 ป • ประสบการณสาํ หรับเด็กวัย 2-3 ป เม่ือเด็กยางเขาปที่ 3 เดก็ จะดูเหมือนดอ้ื และปฏิเสธ ซึ่งเปนพฤติกรรมทพ่ี ฒั นาตามวยั ทเ่ี ดก็ จะ แสวงหาความเปนตวั ของตัวเอง ตองการเรยี นรแู ละทดลอง เพราะฉะนั้น พอแม หรือผูดูแลจะตองใจเยน็ อดทน และหาทางเบ่ียงเบนโดยไมให เกิดความขดั แยง เชน แทนทจี่ ะหามเดก็ วา อยา ขดี เขยี นขา งฝา เพราะเดก็ จะไมเ ชอ่ื ฟง คาํ วา “อยา ” แตจะขดั ขนื ทาํ เหมอื นทา ทาย พอ /แม หรอื ผูดแู ล จงึ ควรหาแผน กระดาษแลว ชกั ชวนใหเ ดก็ เขยี นในกระดาษ ในวยั นจ้ี ะเรมิ่ สนใจ เลนกับเพื่อนเด็กดวยกัน แตก ็ควรอยูใ นสายตาของผใู หญ เพราะเด็ก ยงั ไมสามารถควบคุมตวั เองได การแยงของเลน การรงั แกกันจะมีอยูเสมอ พอ /แม หรอื ผูดแู ลจะตอ งคอยๆ ใหยอมรับกฎเกณฑต างๆ ประสบการณ ทคี่ วรจดั ใหกบั เดก็ วยั นไ้ี ดแ ก 1. กจิ กรรมทีช่ ว ยสง เสรมิ ใหเ ดก็ ชว ยตัวเอง เชน ใหท าํ งานงายๆ ทไี่ มเ กนิ กาํ ลงั เดก็ จะเกิดความภาคภมู ิใจในผลงานของเขา 2. กจิ กรรมสง เสริมการใชภ าษาของเดก็ เชน การตงั้ ใจฟงเมอื่ เดก็ พดู ไมลอหรอื ขดั คอ ตอบคาํ ถามทเี่ ดก็ ถาม 3. กิจกรรมสง เสริมพัฒนาการทางรางกายและสติปญญา เชน การเลน กลางแจง การเลน บทบาทสมมติ 38 คมู ือสง เสริมไอควิ และอีคิวเดก็ สําหรับครู/พ่ีเลี้ยงศนู ยพ ัฒนาเด็กเลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 38 13/6/2548, 15:44

• ประสบการณส าํ หรับเด็กวยั 3-4 ป เดก็ เรม่ิ มีความสนใจดาน สังคม ชอบเลน และอยูใกลกับเด็กอื่นๆ ชอบเลนกลางแจง ชอบ คน ควา อยากรูอยากเห็น เรมิ่ มคี วามคดิ คาํ นึง ชอบเลยี นเสยี งตา งๆ เชน เสียงรถยนต รถไฟ ชอบเลน สมมติ เชน เปนแม หมอ เลยี นแบบผูใ หญ เชน ซักรีด ทาํ กับขาว การเลน แบบน้เี ด็กจะไดรับประสบการณจ ากการ เลียนแบบและการกระทําของผูใหญ หรือจากสิ่งท่ีไดพบเห็นทําใหเกิด ความคิดรเิ รม่ิ สรางสรรค เพราะเด็กไดแสดงออกแลกเปลยี่ นความคดิ เห็น ระหวา งเพ่อื นๆ อยางเต็มท่ี เดก็ ในวยั นีช้ อบทดลองกบั สิ่งของ เชน ปน หรือจัดบล็อกเปนรูปตา งๆ และเลาไดเปน เรื่องราว นอกจากนั้นยังชอบ ทดลองกับตัวเอง จะหมุนตัว ไต กล้ิง เล่ือนไถลไปอยางสนุกสนาน เพลิดเพลนิ ชอบเคลอ่ื นไหวและสามารถบงั คบั การเคลือ่ นไหวรางกายใน ขณะเดนิ วงิ่ ไดด ขี น้ึ ชอบหอ ยโหนไตร าวเตยี้ ๆ ไดตามลําพงั ควรจดั กจิ กรรม ใหเดก็ ไดเ คล่ือนไหวกลางแจง ไดอยา งมอี ิสระ ภายหลงั จากเลน ในรมแลว ควรเปดโอกาสใหเ ดก็ ไดร ูจ กั ผลดั เปลยี่ นกันเลนในระหวางเพอื่ น เดก็ จะสนใจ ชอบสงิ่ ท่ีมีชวี ติ เชน แมลง สัตว พชื ดอกไม และ ธรรมชาตริ อบตวั ควรจดั กจิ กรรมใหเ ดก็ ไดเ ลน ตามความตอ งการของรา งกาย ถาเปน เดก็ กลุม ใหญ คร/ู พเี่ ลย้ี งควรแบง เปน กลุม ยอยโดยใหบ างสว นไดเ ลน และบางสว นมาฟง ซงึ่ เปน เรอ่ื งของเดก็ เอง หรอื เกย่ี วขอ งกบั ครอบครวั รถไฟ เรือ สตั ว และส่ิงเคลือ่ นไหวอืน่ ๆ เปน เรื่องงา ยๆ ส้นั ๆ เด็กจะสนใจและ คูมือสงเสริมไอคิวและอคี วิ เดก็ สําหรบั ครู/พเ่ี ลย้ี งศูนยพ ัฒนาเดก็ เลก็ 39 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 39 13/6/2548, 15:44

ชอบมาก คร/ู พเ่ี ลยี้ งตอ งคอยใหคําแนะนําในการเลน หลังจากเลน จะตอ ง ชวยกนั เกบ็ เครอื่ งเลน ใหเ ขา ทเี่ รยี บรอ ยกอนจะออกไปทํากจิ กรรมอน่ื ๆ กอน เขา หอ งอาหารหรอื หลงั จากออกจากหอ งสว มจะตอ งใหเ ดก็ ไดล า งมอื ใหส ะอาด ในเวลานอนก็ใหเด็กเงียบไมส งเสยี งเพ่ือใหพ ักผอนไดเต็มท่ี ครู/พ่ีเลี้ยง จะตอ งเปน ผูชว ยเหลอื ในดา นการแตง ตวั และเปด โอกาสใหเ ดก็ แสดงความ สามารถชว ยตนเองได เดก็ บางคนชอบทจี่ ะชว ยทาํ งาน เชน เสริ ฟ อาหารและ ชว ยเกบ็ ภายหลังรบั ประทานเสร็จแลว กอ นทเี่ ดก็ จะกลบั บา นในระหวางรอ ผูป กครอง คร/ู พเ่ี ลยี้ งอาจจะเลา นทิ านหรอื ใหเ ดก็ ไดร อ งเพลงกนั ทําใหเ ดก็ เกดิ ความประทบั ใจทดี่ ี ทําใหอยากมาพบเพอื่ นๆ และครอู กี ในวนั รุง ขนึ้ • ประสบการณส าํ หรบั เดก็ วยั 4-5 ป ในวยั นเ้ี ดก็ จะชอบเลน กบั เพอื่ น อายเุ ทาๆ กนั ชอบเลนรวมกลุมเลก็ ๆ มากกวากลมุ ใหญ ชอบเลอื กกจิ กรรม และเตรียมเครอ่ื งเลน ของตนเอง ดงั นน้ั คร/ู พี่เลย้ี งควรใหโ อกาสเด็ก โดย ปรกึ ษากันวาจะทําอะไรดี คร/ู พเี่ ล้ียงจะตองเตรียมอปุ กรณไ วพ รอม เชน บล็อก สมุดภาพ ตกุ ตา สี กระดาษ กรรไกร ดินเหนยี ว ดนิ นํา้ มนั ฯลฯ สําหรบั ใหเ ดก็ ไดเ ลอื กเลน หาประสบการณดว ยตนเอง ครจู ะเปน ผแู นะนาํ ให สาํ หรบั เดก็ บางคนเปนรายบคุ คล และสงเสรมิ พฒั นาการดานสงั คมของเดก็ โดยใหเลนเขากลมุ จะตองใชชั่วโมงใหเกิดประโยชนกับเด็กมากท่ีสุด เพอื่ ใหเดก็ ไดเ รยี นรูเ กยี่ วกบั การใชเ วลาใหเ ปน ประโยชน การระวังอุปกรณ 40 คูมือสงเสริมไอควิ และอีควิ เด็ก สาํ หรับครู/พเ่ี ลย้ี งศนู ยพ ัฒนาเด็กเลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 40 13/6/2548, 15:44

ความรบั ผิดชอบ การคนควาทดลองอยางอสิ ระ รูจักแกปญ หา สรา งนสิ ัย ทดี่ แี ละรจู กั ตดั สนิ ใจ เดก็ ในวยั นชี้ อบเลน บา นสมมติ คร/ู พเ่ี ลย้ี งตอ งจดั ฉากสมมติ เสอื้ ผา เครอื่ งแตง กายของผูใหญหลายอาชีพ เชน พอ แม หมอ พยาบาล ฯลฯ มเี ครอื่ งมอื เครอ่ื งใชส าํ หรบั ประกอบการเลน สมมตนิ นั้ ๆ ซงึ่ ทําใหจ นิ ตนาการ ของเด็กใกลเ คียงกบั ความเปนจรงิ ยง่ิ ขึ้น ในชัว่ โมงดนตรีควรเตรียมกลอง กระดงิ่ เครื่องเคาะ เครือ่ งดนตรี ฯลฯ เพอ่ื ใหเดก็ ไดเลน จรงิ ๆ รจู ักเคาะ และทําจงั หวะใหเ ขา กบั ดนตรี ทางดา นภาษา เด็กสามารถพดู คยุ เลาเร่อื งทตี่ นสนใจ ควรจดั เวลา ใหเ ด็กไดเลา เร่ืองน้นั ๆ ในเวลานทิ านบาง บางครงั้ อาจใหเด็กดภู าพ ใหเ ดก็ พดู คําคลอ งจอง สภุ าษิต หรอื บทกลอนทไี่ พเราะพรอ มๆ กนั เดก็ วัยนมี้ อี ารมณข นั หวั เราะงา ย ในขณะเลา เรอื่ งราวตา งๆ ควรให เดก็ รจู ักคําคณุ ศัพท คาํ วเิ ศษณ ตางๆ เชน เดนิ ตอ กๆ ชา งรอ งฮูมฮมู ฯลฯ เดก็ ตอ งการพกั ผอ น ควรจดั ใหม เี วลาสําหรบั นอนตอนกลางวนั คร/ู พ่เี ลยี้ ง จะตอ งคํานึงถึงความตอ งการทางดา นรา งกายของเด็ก เพื่อชวยใหผปู กครองจัดกิจวัตรประจาํ วันใหเด็กมีสุขนิสัยที่ดีในการ รบั ประทานอาหาร การพกั ผอ น นอกจากนนั้ ควรแกไ ขและฝก ใหต ดิ เปน นสิ ยั เพราะเด็กในวยั น้ี วอ งไว ฝก หัดไดง า ย คมู ือสงเสริมไอคิวและอคี ิวเด็ก สาํ หรบั ครู/พี่เลย้ี งศนู ยพ ัฒนาเด็กเล็ก 41 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 41 13/6/2548, 15:44

    42 คูม ือสง เสริมไอคิวและอีควิ เดก็ สาํ หรับครู/พ่เี ลี้ยงศนู ยพัฒนาเด็กเลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 42 13/6/2548, 15:44

การพัฒนาไอคิวและอคี วิ เดก็ วยั 3-5 ป • กรอบแนวคดิ การพฒั นา ไอควิ /อคี วิ เดก็ วยั 3-5 ป เดก็ วยั 3-5 ป มธี รรมชาตขิ องความตอ งการทจี่ ะทาํ อะไรไดด ว ยตนเอง ตองการความรัก ความอบอุน มีความสุขอยกู ับการเลน ตองการ การปลูกฝงนิสัยท่ีดี มีระเบียบวินัย รวู าอะไรถูกอะไรผิด ตองการ การสรางเสริมประสบการณชีวิต ชวงวยั นี้เดก็ จะชา งซกั ชางถาม อยากรู อยากเหน็ อยากรูจ ักโลกภายนอกมากขึ้น ดังนัน้ การพัฒนา ไอคิว และ อีควิ จงึ ควรพัฒนาคณุ ลักษณะ ดงั ตอ ไปน้ี คูม ือสงเสริมไอคิวและอีคิวเด็ก สาํ หรบั ครู/พี่เลีย้ งศนู ยพัฒนาเด็กเลก็ 43 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 43 13/6/2548, 15:44

ความฉลาดทางเชาวป ญ ญา (ไอควิ : IQ : Intelligence Quatient) - ความชางสงั เกต -- สคมวาามธสิ ามารถในการสรา งภาพในใจ - การถา ยทอดจนิ ตนาการ -- กกาารรคเรดิียไงวลําดบั ความคดิ การคดิ อยา งเปน ระบบ - ความคดิ อยา งละเอยี ดลออ คดิ อยา งสรางสรรค -- กกาารรคแกดิ ปเชญอ่ื หมาโยงเหตผุ ล -ค- วากกมาาฉรรลรทบัาาํ ดงราูอทนาาปรงมรอะณาสรแ ามลนณะรกะ หา(อรวคีคา วงวิ มบ:อืคEแมุ Qลอะา:ตรEมาmณo tional Quatient) - การเขา ใจและเหน็ ใจผอู น่ื -- ครกูวฎามเกมณงุ มฑ่นั  วมนิ ายั นะ อดทน -- กกลารา ปแรสบัดตงอวั ตออกปญหา - มคี วามสุข ความพอใจ - อบอนุ ใจ - สนกุ สนานรา เรงิ 44 คูม ือสงเสริมไอคิวและอีคิวเด็ก สําหรับครู/พ่ีเลี้ยงศูนยพ ัฒนาเด็กเลก็ ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 44 13/6/2548, 15:44

คูมือสงเสริมไอคิวและอีคิวเดก็ สาํ หรับครู/พเี่ ลี้ยงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 45 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 45 13/6/2548, 15:44

• (คไวอาคมวิ ฉ:ลIาQดท: Iาnงเtชeาllวiนgeป nญ cญe าQuatient) ความชา งสงั เกต เปน ความสามารถในการรับรคู ณุ ลักษณะของส่งิ ของ การพจิ ารณา เทยี บเคยี งความเหมอื น ความแตกตา งการจาํ แนกสง่ิ ตา งๆ รวมทงั้ การเชอื่ มโยง แยกแยะ การคน พบสว นทไี่ มเ ปน ไปตามประสบการณ การคน หาสวนทผี่ ิด สวนท่ีหายไป การเปรียบเทยี บขนาด ปริมาตร ปริมาณ และความยาว เปนตน การสงั เกตชวยดึงศักยภาพท่มี อี ยโู ดยธรรมชาติในตวั เดก็ ออกมา เพอื่ ใหเ กดิ ความเขา ใจ สามารถอธบิ ายเรอ่ื งนน้ั ๆ ไดอ ยา งชดั เจน และยงั เปน พน้ื ฐานทสี่ าํ คญั ในการแกป ญหาหรอื การหาทางเลอื กทเี่ หมาะสม สมาธิ เปนพืน้ ฐานที่สําคญั ของการพัฒนาความสามารถทางเชาวนปญ ญา ความสามารถนจ้ี ะชว ยใหเ ดก็ มคี ุณลกั ษณะทด่ี ี คอื การควบคมุ ความสนใจ การเลอื กรบั รู จดจอ ตอ กจิ กรรมหรอื สงิ่ ทกี่ ระทาํ อยูอ ยา งตอ เนอ่ื งจนสําเรจ็ เพอื่ ใหเกดิ การรบั รู เขา ใจไดจนถงึ ระดบั ทีเ่ รยี กวา เขาใจอยางลึกซ้งึ 46 คมู ือสง เสริมไอควิ และอคี ิวเด็ก สาํ หรับครู/พ่เี ลยี้ งศนู ยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 46 13/6/2548, 15:44

ความจํา เปน ส่ิงท่ีเกิดจากการรับรผู านทางประสาทสัมผัสตางๆ ทาํ ใหเกิด ความคดิ ความรูส กึ รวมถงึ การรวบรวมประสบการณช วี ติ ตา งๆ ประสบการณ ดังกลาวจะถูกบันทึกไวในสมอง สมองจะเปนตัวจัดลําดับความสําคัญ คณุ คา ความหมายและเชอื่ มโยง ตคี วาม นาํ ออกมาใชไ ดอ ยา งเหมาะสม ความสามารถสรา งภาพในใจ ไดจ ากการเชอ่ื มโยง ประสบการณท เี่ รยี นรู นาํ มาคดิ ทบทวน ระลกึ ถงึ สิ่งท่ีเรียนรู รับรตู า งๆ ความสามารถในการสรา งภาพในใจ คิดคํานึงถึง สิ่งท่ีเคยเกิดขึ้นในอดีตและเปนพ้ืนฐานในการคาดการส่ิงที่อาจเกิดข้ึน ในอนาคต นาํ ไปสกู ารคดิ จนิ ตนาการตอ ไปไดอ ยา งมหี ลกั เกณฑ การถายทอดจนิ ตนาการ เปนการนําส่ิงท่ีคิดเชื่อมโยง จากประสบการณออกมานําเสนอ โดยตอ งอาศยั ทกั ษะทางดานภาษาในการสอ่ื สารทถี่ กู ตอง การเรยี นรูท กั ษะ ทางสังคม การควบคุมอารมณ การถายทอดความรูสึกนึกคิด และ การอยูร ว มกบั ผูอนื่ ได คูมือสงเสริมไอคิวและอีคิวเดก็ สาํ หรับครู/พีเ่ ลย้ี งศนู ยพัฒนาเดก็ เลก็ 47 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 47 13/6/2548, 15:44

การคดิ ไว เปน ความสามารถทจี่ ะคน หาความหมาย และสาระสาํ คญั ของสงิ่ ตา งๆ การเชอ่ื มโยงประสบการณ ทตี่ อ งอาศยั ทกั ษะการฝกฝนใหเ กดิ ความฉบั ไว ในการรบั รเู ขาใจและแกป ญหาตา งๆ ความสามารถในการจบั ใจความเรอื่ ง ตา งๆ รวมทง้ั การแกปญ หาในเชิงคณติ ศาสตร ทตี่ องเรยี นรคู าํ ตอบดว ย วิธีการท่ีหลากหลาย ภายใตเหตุผลเดียวกัน มิใชเรียนรเู ร่ืองตัวเลข เทานั้น แตเปนการใหเด็กเรียนรูเร่ืองเหตุผล อันเปนพื้นฐานสาํ คัญ ในการคดิ อยางเปน ระบบ และเรยี นรูอนื่ ๆ ตอ ไป การคดิ อยา งเปนระบบ เปน การเรยี งลาํ ดบั ความคดิ อยา งเปน ขน้ั ตอน มกี ระบวนการคดิ เพอื่ นําสกู ารแกป ญ หา ซง่ึ ตอ งอาศยั ความสามารถในการเชอื่ มโยงเหตผุ ล ความ ตอเนอื่ งและเปา หมายทนี่ ําสคู วามสาํ เรจ็ อยา งชดั เจน 48 คมู ือสงเสริมไอคิวและอีควิ เดก็ สาํ หรบั ครู/พเ่ี ล้ียงศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 48 13/6/2548, 15:44

การคดิ อยา งละเอยี ดละออและสรา งสรรค เปน ความสามารถในการคดิ ไตรต รอง รวบรวมขอ มลู เปรยี บเทยี บ จากประสบการณการเรียนรู ตอยอดกระบวนการคิดอยางเปนระบบ จากการใหเ หตผุ ล ผสมผสานแนวความคดิ และขอ สรปุ หลายๆ ขอ เขา ดว ยกนั กอ ใหเ กดิ การกระทําสงิ่ ใหมๆ ทสี่ รา งสรรค การคดิ เชอื่ มโยงเหตผุ ล เปนความสามารถในการเขา ใจความสมั พันธของส่ิงตางๆ หรือ สถานการณต างๆ ท่เี กิดข้ึนรอบๆ ตวั ความสามารถในการทาํ นายความ สมั พนั ธเ หลา นนั้ อนั ไดจ ากการเรยี นรผู า นประสบการณ นาํ มาเชอ่ื มโยงอยา ง เปนเหตเุ ปนผล การแกป ญ หา เปนการนาํ ความคิดที่เชื่อมโยงอยางเปนระบบ มาวิเคราะหถ ึง ผลจากการดําเนินไปของสถานการณนั้นๆ ผสมผสานแนวความคิดและ ขอ สรปุ หลายๆ ประการทไี่ ด ซงึ่ ตอ งใชค วามสามารถในการวเิ คราะหร ปู แบบ สญั ลักษณ ความสมั พนั ธ สถานการณ และการรถู ึงแบบแผนท่เี กิดขน้ึ ซา้ํ ๆ นาํ ขอ สรปุ ทไี่ ดม าดาํ เนนิ การจดั การกบั สถานการณท เี่ กดิ ขน้ึ ใหมไ ดอ ยา ง เหมาะสม คูมือสงเสริมไอคิวและอีคิวเด็ก สําหรบั ครู/พี่เลย้ี งศนู ยพ ัฒนาเด็กเลก็ 49 ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 49 13/6/2548, 15:44

• ค(อวีคาิวมฉ: EลาQดท: Eางmอoารtiมoณna l Quatient) การรจู กั อารมณแ ละการควบคมุ อารมณ การสงเสริมใหเด็กควบคุมอารมณไดด ีเร่ิมตนดวยการฝกให เดก็ รูว า เขากาํ ลงั มอี ารมณอ ยางไร ใหร ูจ กั ถา ยทอดอารมณค วามรสู กึ ออกมา เปนคาํ พดู เพอื่ ทเี่ ดก็ จะไดร เู ทา ทนั อารมณ เมอ่ื รูเ ทา ทนั อารมณกจ็ ะสามารถ ควบคมุ อารมณไ ดเมอื่ โตขน้ึ การควบคุมตนเองมี 2 ประการ • การควบคมุ ความอยากเปน เอาชนะความอยากได ไมต ามใจ ตวั เองอยางไรส ติ เชน อดใจไมทานอาหารที่ทําใหเสยี สุขภาพ • การควบคมุ อารมณ เดก็ ควรรูจกั อารมณต นเอง และสามารถ ทําใหอ ารมณส งบไดโ ดยไมเกบ็ กดอารมณค วามรูส กึ ไว 50 คูมือสงเสริมไอคิวและอีคิวเดก็ สาํ หรับครู/พีเ่ ลย้ี งศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ¾Ñ²Ã¹Òà´ç¡.pmd 50 13/6/2548, 15:44